แผนพัฒนางานด้านกฎอนามัยระหว่างประเทศ กลุ่มที่ 2 พัฒนาระบบและสมรรถนะห้องปฏิบัติการ
สมาชิกกลุ่ม 1. คุณกรองแก้ว ศุภวัฒน์ กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ 2. คุณศิริมา ปัทมดิลก กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ 3. นายแพทย์รุ่งเรือง กิจผาติ กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ 4. คุณศิริวรรณ ภู่สุวรรณ กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ 5. นางสาววลัยพร เจียระไนรุ่งโรจน์ กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ 6. คุณวุฒิไกร วามสิงห์ กรมควบคุมมลพิษ 7. คุณพรรนิภา ธีระจินดาชล กรมควบคุมมลพิษ 8. รศ.นพ.กำจร ตติยกวี สำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา 9. คุณอนันต์ จงแก้ววัฒนา ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ 10. คุณรติกร อลงกรณ์โชติกุล สำนักมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติ 11. คุณปภานิจ สวงโท สำนักระบาดวิทยา 12. คุณสุดา ตัณฑวณิช กรมประมง
การดำเนินการ 1. ศึกษาและทำความเข้าใจร่วมกัน 2. ระดมสมอง และร่วมแสดงความคิดเห็น 3. จัดทำแผนปฏิบัติการ
การศึกษาและทำความเข้าใจร่วมกัน กฎอนามัยระหว่างประเทศ พ.ศ.2548 ( IHR 2005 ) ยุทธศาสตร์ที่ 2 พัฒนาระบบและสมรรถนะห้องปฏิบัติการ - เพื่อพัฒนาระบบและสมรรถนะของห้องปฏิบัติการระดับอำเภอ จังหวัด เขต และส่วนกลาง ทั้งในและนอกกระทรวงสาธารณสุข ให้สามารถตรวจวินิจฉัยเชื้อโรค สารเคมี กัมมันตภาพรังสี ที่เป็น ต้นเหตุของภาวะฉุกเฉินด้านสาธารณสุขที่เกิดขึ้นหรืออาจเกิดขึ้น ได้อย่างถูกต้องทันต่อเหตุการณ์และได้มาตรฐานสากล
การระดมสมอง และร่วมแสดงความคิดเห็น โรคที่เป็นสาเหตุของภาวะฉุกเฉินทางด้านสาธารณสุขระหว่างประเทศ ( Public Health Emergency of International Concern : PHEIC ) ทั้งโรคในคนและสัตว์ ครอบคลุมทั้ง 48 โรค การพัฒนาด้านบุคลากร และอุปกรณ์ การประสานและการเชื่อมโยงในแต่ละยุทธศาสตร์ Focal point ของแต่ละห้องปฏิบัติการ
การจัดทำแผนปฏิบัติการ ประเมินความเสี่ยง ประเมินสมรรถนะห้องปฏิบัติการ จัดกลุ่มห้องปฏิบัติการ จัดทำแผนระยะสั้น และระยะยาว
(ร่าง) แผนปฏิบัติการ 4 ปี ลำดับที่ ผลที่คาดว่าจะได้รับ โครงการ/กิจกรรม เป้าหมายโครงการ ระยะเวลาดำเนินการ หน่วยงานที่รับผิดชอบ งบ ประ มาณ 2552 2553 2554 2555 Q1 Q2 Q3 Q4 1 ลำดับความสำคัญของโรคที่ต้องเตรียมความพร้อมรองรับทางด้านห้องปฏิบัติการ ประเมินภัยคุกคามต่อสุขภาพด้านเชื้อโรค สารเคมี กัมมันตภาพรังสี ที่เป็นสาเหตุของภาวะฉุกเฉินด้านสาธารณสุขระหว่างประเทศ จำนวนและชนิดของโรค/ภัยสุขภาพ สำนักระบาดวิทยา/สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์สาธารณสุข 2 ฐานข้อมูลห้องปฏิบัติการที่มีศักยภาพรองรับโรคตามข้อ 1 ประเมินศักยภาพห้องปฏิบัติการ จำนวนห้องปฏิบัติการที่มีศักยภาพ กรมวิทยา ศาสตร์การแพทย์ 3 เครือข่ายและศูนย์ประสานงานของห้องปฏิบัติการ 1. จัดตั้งเครือข่ายห้องปฏิบัติการ 2. จัดทำกลไกการประสานงาน 1. จำนวนเครือข่าย 2. มีศูนย์ประสานงาน 4 ห้องปฏิบัติการที่มีศักยภาพและสมรรถนะ 1. จัดทำแผนพัฒนาห้องปฏิบัติการ 2. อบรมบุคลากรในประเทศและต่างประเทศ จำนวนห้องปฏิบัติการที่ได้รับการพัฒนา ห้องปฏิบัติ การที่เกี่ยวข้องทั้งหมด
ขอบคุณค่ะ