โครงงาน เรื่อง การมีเพศสัมพันธ์ก่อนอันสมควร

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
หอผู้ป่วยจิตเวช 2 ยินดีนำเสนอ.
Advertisements

การดำเนินงานด้านอนามัยการเจริญพันธุ์
การทำงานเชิงรุกและการส่งต่อ
สร้างสุขในเยาวชนและครอบครัว ป้องกันปัญหาตั้งครรภ์ในเยาวชน
อายุเฉลี่ยในการมีเพศสัมพันธ์ครั้งแรกของนักเรียนอาชีวศึกษาชั้น ปวช
ด.ญ.กุลจิรา ยอดมณี เลขที่ 19 ม.3/1
รายงานเรื่อง เด็กปลอด
รายงาน เรื่อง เด็กปลอด
พัฒนาการทางสังคมของวัยรุ่น
สถานการณ์/สภาพปัญหาวัยรุ่น
( สมุทรสงคราม สมุทรสาคร เพชรบุรี ประจวบคีรีขันธ์ )
สมรรถนะที่จำเป็นสำหรับผู้รับผิดชอบ การจัดการรายบุคคลในโรงพยาบาล (Case Manager และ Case Management Unit)
การวิเคราะห์ปัญหาวัยรุ่นและการช่วยเหลือ
โครงการสายใยรักแห่งครอบครัว
วัยทีน วัยใส ใส่ใจ อนามัยเจริญพันธุ์จังหวัดตราด
อนามัยการเจริญพันธุ์ในวัยรุ่น จังหวัดจันทบุรี
การมีส่วนร่วมของครอบครัวและชุมชน
นโยบายการพัฒนาเด็กปฐมวัย
การดำเนินงานเพื่อลดปัจจัยเสี่ยง ในเด็กวัยเรียนและเยาวชน
ผลและแผนการดำเนินงานอนามัยการเจริญพันธุ์
อัตราการเสียชีวิตวัยรุ่น ทั้งเพศหญิงและชาย อายุ10 – 14 ปี
การพัฒนางาน อนามัยแม่และเด็ก ทิศทางก้าวไกล สู่ คุณภาพ มาตรฐาน และ ความปลอดภัย นพ.สมชาย เชื้อเพชระโสภณ ผู้ตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุขเขต.
บทบาท “ Six Key Function” ในจังหวัดภาคกลางตะวันตก
การส่งเสริมสุขภาพเด็กไทยวันนี้
การส่งเสริมและป้องกัน ปัญหานักเรียน
โครงการพัฒนารูปแบบการลดทัศนคติการตีตรา/รังเกียจเด็กที่ได้รับผลกระทบจากพ่อแม่ที่ติดเชื้อและเจ็บป่วยด้วยโรคเอดส์ในโรงเรียนระดับประถมศึกษา-มัธยมศึกษาปี
แม่วัยรุ่น (Teenage Mothers) ศูนย์อนามัยที่ 4 ราชบุรี
นโยบาย/แนวทางการดำเนินงาน และกลุ่มหญิงตั้งครรภ์
โครงการพัฒนาการบริการเด็กที่มีปัญหาพัฒนาการและออทิสติก
โครงการพัตนาสุขภาพจิตครอบครัว
โครงการพัฒนาสติปัญญาเด็กไทย ปี 2551
การดำเนินกิจกรรมเพื่อป้องกันการตั้งครรภ์ในกลุ่มวัยรุ่น
วัยรุ่นกับปัจจัยทางสังคมที่ส่งผลต่อพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
13/12/2007แผนยุทธศาสตร์ประจำปี 2551 โรงพยาบาลหนองม่วง 2 จำนวนการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นที่อายุต่ำกว่า 20 ปีเพิ่มขึ้น ปี 2549 มีจำนวน 41 คน ปี 2550 มีจำนวน.
หกมิติความไม่เท่าเทียมระหว่างหญิงชาย หนทางเพื่อพัฒนาสู่ความเสมอภาค
แนวทางการดำเนินงาน ส่งเสริม ป้องกันและควบคุมโรคธาลัสซีเมีย
สรุปบทเรียนโครงการแก้ไขปัญหาทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อยกว่า 2,500 กรัม
ยุทธศาสตร์ที่ 2: ลดปัจจัยเสี่ยงในเด็กวัยเรียนและวัยรุ่น นำ KM ไปใช้ 1. ระดับศูนย์เขต 1.1 เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้เสริมสร้างศักยภาพ ชมรมเด็กไทยทำได้ วันที่
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
ส่งเสริมสัญจร.
โครงการสำคัญตามนโยบาย
แนวทางการดำเนินงาน กรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2554
อย.น้อย : เริ่มต้น และความคาดหวัง รวบรวมโดย...กฤษณา แป้นงาม
การจัดการเรียนรู้โดยยึดผู้เรียนเป็นสำคัญ
สิ่งที่ต้องทำต่อ 1.นำเสนอผลสำเร็จของนโยบาย ปี นำเสนอนโยบายปี 55 และตัวชี้วัด สำคัญ ตามใบงานที่ 7 8และ 9 ประธาน : นพ.สสจ. วันที่ 13 ก.ย.54 เวลา 13.00น.
มีการอบรมป้องกันพฤติกรรมเสี่ยงในวัยรุ่น
ผลการสำรวจความต้องการ ความ คาดหวัง และความพึงพอใจ ของภาคีเครือข่ายด้านการส่งเสริม สุขภาพและพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อม ในพื้นที่รับผิดชอบ ต่อศูนย์อนามัยที่
นิยาม ศูนย์ให้คำปรึกษาคุณภาพ (Psychosocial Clinic) หน่วยบริการระดับโรงพยาบาลชุมชนที่มีการจัดบริการดูแล ช่วยเหลือทางสังคมจิตใจทุกกลุ่มวัย โดยมีองค์ประกอบ.
นางนวธัญย์พร ศรีจันทร์ พยาบาลวิชาชีพ ชำนาญการ
โครงการในปีงบประมาณ 2558.
องค์ประกอบที่4การจัดการสิ่งแวดล้อมในโรงเรียนที่เอื้อต่อสุขภาพ
- ชื่อ นาง ประกาย ภูตี กา อายุ ๕๐ ปี - วันเกิด ๒๘ เมษายน ๒๕๐๗ - การศึกษา มัธยมศึกษาปีที่ ๖ - ระยะเวลาการเป็น อส ม. ๑๐ ปี
การพัฒนางานสุขภาพจิต วัยทำงาน - สูงอายุ
แนวทางดำเนินงานสุขภาพภาคประชาชน ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
สำนักควบคุมการบริโภคยาสูบ
ชื่อเรื่อง การศึกษาความสนใจด้านการดูแลสุขภาพตนเองของนักเรียนระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพ และนักศึกษา ระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ผู้วิจัย นางศิริพร.
Teenage pregnancy.
(Evaluation) มุมมองประชาชน มุมมองภาคี (Stakeholder) มุมมองกระบวนการ
แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพตามกลุ่มวัย เด็กวัยเรียน 5-14 ปี
นำเสนอโดย นพ.ณรงค์ สายวงศ์ รองอธิบดีกรมอนามัย
พัฒนาการเด็กปฐมวัย & โครงการพัฒนาIQ EQ เด็กแรกเกิด-5 ปี
ผลกระทบของปัญหาการมีเพศสัมพันธ์ ก่อนวัยอันควร
และแนวทางการตรวจราชการ คณะที่ 1 : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
การป้องกัน การเสริมสร้างบทบาทองค์ ความรู้แก่ผู้นำทาง ความคิดของเด็กและ เยาวชน การพัฒนาความร่วมมือ ของ ภาคีเครือข่าย การขจัดสิ่งยั่วยุและ อิทธิพลจากสื่อ.
ผลงานวิจัย โดย อ.เอกพงษ์ วรผล.
ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
การปฏิบัติตนของวัยรุ่น
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โครงงาน เรื่อง การมีเพศสัมพันธ์ก่อนอันสมควร สมาชิก 1. น.ส. น้ำฝน ซุยกระเดื่อง เลขที่ 21 นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/2

เสนอ อาจารย์ ชมัยพร โคตรโยธา

แนวคิด คือ ได้รู้สถิติการมีเพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควรใน ปี พ.ศ.2009

ระยะเวลาในการทำงาน ระยะเวลาในการทำงานประมาณ 10-20 วัน

วัตถุประสงค์ 1.  มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับสุขภาพทางเพศ 2.  มีความรู้ความเข้าใจปัจจัยเสี่ยงของสังคมที่มีต่อการมีเพศสัมพันธ์ 3.  วิเคราะห์ถึงผลที่เกิดขึ้นจากปัจจัยเสี่ยงทางสังคม 4.  มีส่วนร่วมในกิจกรรมเพื่อป้องกันปัจจัยเสี่ยงต่อพฤติกรรมทางเพศของวัยรุ่น  5.  มีความรู้  ความเข้าใจเกี่ยวกับปัจจัยทางสังคมที่ส่งผลต่อการมีเพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควร

6.  ตระหนักถึงผลเสียของการมีเพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควรทั้งต่อตนเองและครอบครัว 7.  มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการมีเพศสัมพันธ์อย่างปลอดภัยได้ 8.  สามารถนำแนวทางการป้องกันการมีเพศสัมพันธ์ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้ 9.  มีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมเพื่อป้องกันปัจจัยเสี่ยงต่อพฤติกรรมทางเพศในโรงเรียน และชุมชน

หลักการและทฤษฎี แผนภูมิของการตั้งครรภ์และคลอดบุตรของหญิงอายุต่ำกว่า 15 ปีบริบูรณ์ ตั้งแต่ปี 2540 – 2551 (http://www.m-society.go.th ) ละของการตั้งครรภ์และคลอดบุตรของหญิงอายุต่ำกว่า 20 ปีบริบูรณ์ ตั้งแต่ปี 2540 - 2551 (http://www.m-society.go.th ) อัตราแม่ที่มีอายุน้อยกว่า 20 ปีที่คลอดบุตรประจำปีงบประมาณ 2552 (http://www.saiyairakhospital.com )

วิธีการดำเนินงาน กิจกรรมที่ 1 จัดเวทีเสวนาระหว่างผู้ที่มีส่วนรับผิดชอบ ได้แก่ พ่อ แม่ ผู้ปกครอง ครู ผู้นำชุมชนและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อสร้างความตระหนักและหาแนวทางป้องกันและ แก้ไขปัญหาการมีเพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควรและการตั้งครรภ์ที่ไม่พร้อมในวัยรุ่น และ สร้างเครือข่ายเฝ้าระวังในโรงเรียนและในชุมชน กิจกรรมที่ 2 จัดอบรมความรู้ให้แก่เด็กและเยาวชน โดยจัดฐานการเรียนรู้ 7 ฐาน ได้แก่ (1) ฐานการเรียนรู้เกี่ยวกับสถานการณ์ ปัญหา และผลกระทบจากการมีเพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควรและการตั้งครรภ์ที่ไม่พร้อมในวันรุ่น (2) เพศศึกษา (3) ทักษะชีวิต (4) การวางแผนครอบครัว (5) การป้องกันโรคเอดส์และโรคทางเพศสัมพันธ์ (6) การป้องกันตัวเองในภาวะคับขันและวิธีการปฏิเสธการมีเพศสัมพันธ์ (7) ความรู้ E-learning

กิจกรรมที่ 3 จัดกิจกรรมสร้างความสัมพันธ์ภายในครอบครัวระหว่างพ่อ แม่ ลูก กิจกรรมที่ 4 การจัดกิจกรรมยอวาทีระหว่างนักเรียนหญิงและนักเรียนชายในโรงเรียน เรื่อง“เพศสัมพันธ์วัยรุ่นวุ่นอย่างไร” และ “การตั้งครรภ์แม่วัยรุ่นวุ่นเพราะใคร” กิจกรรมที่ 5 การจัดกิจกรรมเพื่อสร้างเครือข่ายผู้นำรุ่นใหม่ในโรงเรียน และสร้างเครือข่ายระหว่างกลุ่มเพื่อนเพื่อเป็นเครือข่ายในการให้คำปรึกษาและป้องกันปัญหาเพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควรและการตั้งครรภ์ที่ไม่พร้อมในวัยรุ่น

กิจกรรมที่ 6 สนับสนุนงบประมาณให้เด็กที่ผ่านการอบรมไปดำเนินการขยายผลในโรงเรียน กิจกรรมที่ 7 จัดมหกรรมนำผลการดำเนินงานตั้งแต่กิจกรรมที่ 1 – 5 มาอภิปรายและ เปิดโอกาสให้เด็กและเยาวชนได้มีส่วนร่วมในกิจกรรมอย่างเต็มที่ กิจกรรมที่ 8 การติดตาม ประเมินผล และพัฒนาการดำเนินกิจกรรมให้เกิดความต่อเนื่อง

สรุป การที่เด็กมีเพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควรก่อให้เกิดผลเสียต่าง ๆ มากมายดังกล่าวมาแล้ว ดังนั้นผู้ปกครองจึงต้องมีส่วนร่วมอย่างสำคัญในการอบรมสั่งสอนให้บุตรหลานได้ประพฤติปฏิบัติตนในทางที่ถูกที่ควร การคบเพื่อนต่างเพศเป็นสิ่งที่ทำได้ แต่ต้องเป็นไปในทางที่ถูกต้องและเหมาะสม ผู้หญิงต้องรักนวลสงวนตัวเพื่อจักได้ไม่เกิดปัญหามีเพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควร พฤติกรรมเหล่านี้ทุก ๆ ฝ่ายต้องทำให้เกิดขึ้นในวัยรุ่นให้ได้ เพื่อช่วยลดปัญหาการตั้งครรภ์ของวัยรุ่นไทยนั่นเอง

ร้อยละของการตั้งครรภ์และคลอดบุตรของหญิงอายุต่ำกว่า 15 ปีบริบูรณ์ ตั้งแต่ปี 2540 - 2551

ร้อยละของการตั้งครรภ์และคลอดบุตรของหญิงอายุต่ำกว่า 20 ปีบริบูรณ์ ตั้งแต่ปี 2540 - 2551

อัตราแม่ที่มีอายุน้อยกว่า 20 ปีที่คลอดบุตรประจำปีงบประมาณ 2552

เอกสารอ้างอิง (http://www.m-society.go.th) (http://www.saiyairakhospital.com)