Homeward& Rehabilitation system

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
รายงานข้อสั่งการ ข้อสั่งการ ๑. การพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิ
Advertisements

ยุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพ จังหวัดตรัง ปี 2555 งานควบคุมโรคติดต่อ
โครงการริเริ่มสร้างสรรค์เพื่อขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชุมชน ปี ๒๕๕๗
ปทิตตา มีชิตสม นักวิชาการพัฒนาชุมชนชำนาญการ
เส้นทางการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
การพัฒนาระบบการส่งต่อโรคเรื้อรังใกล้บ้านใกล้ใจ โรงพยาบาลท่ายาง อำเภอท่ายาง จังหวัดเพชรบุรี กฤษณา เปรมศรี 10 มกราคม
นโยบายและงานเร่งด่วนของกระทรวงสาธารณสุข ปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๕
ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
บทบาท อสม. ในการดำเนินการ“รวมพลัง อสม
จะต้องผ่านเกณฑ์ด้านการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุระยะยาวที่กำหนดไว้ทั้ง 4 ข้อ
บทเรียน Best Practice ของระบบการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว
ภาพรวมการจัดสรรงบประมาณในแต่ละโครงการของศูนย์ สช. ภาคกลาง ปี 2555
“ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพผู้สูงอายุ”
ตัวชี้วัด P4P ตัวชี้วัดที่2 : ร้อยละของผู้ที่อยู่ในภาวะพึ่งพิง(ติดเตียง)ได้รับการดูแล สุขภาพที่บ้าน(HHC) โดยบุคลากรสาธารณสุข เป้าหมาย ร้อยละ 80.
ถอดบทเรียนความก้าวหน้า ในการนำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ สู่การปฏิบัติ
อำเภอ ป้องกันควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน นพ.พงศ์ธร ชาติพิทักษ์
การพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ (District Health System)
ความคาดหวังหลังการประชุมฯ ครั้งนี้
นพ.ก้องภพ สีละพัฒน์ ผู้นิเทศงานปฐมภูมิ
แนวทางการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิและโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล เขต 5
สรุปการวิเคราะห์ความสำเร็จและโอกาสพัฒนาในโครงการพัฒนาคุณภาพการดูแลผู้ติดเชื้อ/ผู้ป่วยเอดส์ ในภาพรวมของเขต 10 สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 10 เชียงใหม่
ระบบHomeward& Rehabilation center
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ
คณะที่ ๒ การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ ชื่อตัวชี้วัด : ร้อยละของจังหวัดที่มี ศสม. ในเขตเมืองตามเกณฑ์ที่กำหนด ( ไม่น้อย กว่า ๗๐ )
นพ.วินัย ศรีสอาด สถาบันเวชศาสตร์ผู้สูงอายุ กรมการแพทย์
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
เขต 15 เขต 15: เชียงใหม่ ลำพูน ลำปาง แม่ฮ่องสอน.
สรุปการประชุม เขต 10.
น.พ. ศิริวัฒน์ ทิยพ์ธราดล
สำนักประสานการพัฒนาโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
พัฒนาคุณภาพเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอและหน่วยบริการ ปฐมภูมิ
ประเด็นในการนำเสนอระบบข้อมูลสารสนเทศของ รพ.สต.
แนวทางการดำเนินงาน ปี ๒๕๕๕
ร่วมด้วย ช่วยกัน ประชาชนคือ เป้าหมาย ร่วมด้วย ช่วยกัน ประชาชนคือ เป้าหมาย นพ. นิทัศน์ ราย ยวา ผู้ตรวจราชการ กระทรวงสาธารณสุข.
คณะที่ ๔ การพัฒนาสุขภาพ ภาคประชาชน ปี 2552 คณะที่ ๔ การพัฒนาสุขภาพ ภาคประชาชน ปี 2552 นพ. นิทัศน์ รายยวา ผู้ตรวจราชการ กระทรวงสาธารณสุข.
เส้นทางการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
คลินิกผู้สูงอายุต้นแบบ (Geriatric Clinic Model) โรงพยาบาลอุดรธานี
สรุปบทเรียนโครงการเอดส์ ด้าน CARE
การดำเนินงาน อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็ง แบบยั่งยืน จังหวัดน่าน
การพัฒนาระบบสุขภาพอำเภอ District Health System (DHS)
มุมมองการพัฒนาและขับเคลื่อน งานกองทุนฯอย่างยั่งยืน
แนวทางในการประเมินความพร้อม เพื่อสนับสนุนการดำเนินงานตามนโยบาย
แนวทางดำเนินงานควบคุม ป้องกัน และรักษาโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ในระบบหลักประกัน สุขภาพถ้วนหน้า 2554 พญ.ขจีรัตน์ ปรักเอโก สปสช.เขต 7 ขอนแก่น 1 มิถุนายน.
การดำเนินงานวัด ความพึงพอใจ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ศูนย์อนามัยที่ 6 ปี 2551.
การประเมินคลินิกNCD คุณภาพ
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
แนวทางการดำเนินงานผู้สูงอายุจังหวัดเชียงใหม่ ปี 2556
กรอบการพัฒนาตัวชี้วัด
มีการอบรมป้องกันพฤติกรรมเสี่ยงในวัยรุ่น
การชี้แจงตัวชี้วัด ตัวชี้วัดที่ 12 ยุทธศาสตร์ที่ 2 ด้านคุณภาพบริการ ร้อยละของอาเภอที่มีทีม miniMERT, MCATT, SRRT คุณภาพ ธีราภา ธานี พยาบาลวิชาชีพชำนาญ.
เทศบาลตำบลบัลลังก์ จดหมายข่าว ระเบียบกองทุนหลักประกันสุขภาพ
บทบาท อสม.เชิงรุก ๑. เป็นผู้นำทางความคิดและผู้นำทางด้านสุขภาพในระดับชุมชน ในการลดโรค ๕ โรคสำคัญที่เป็นสาเหตุการตายลำดับต้นๆของประชาชน คือ เบาหวาน ความดันโลหิตสูง.
ตัวชี้วัด ร้อยละของเทศบาลและองค์การบริหารส่วนตำบล ที่นำแผนชุมชนสู่การพัฒนาท้องถิ่นได้ตามเกณฑ์ที่กำหนด.
สรุปผลงานโดยย่อ ทีมสหวิชาชีพ เป็นองค์รวม มีส่วนร่วม
คปสอ.ยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ์ ผลงานรอบที่ 1/2555.
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
สกลนครโมเดล.
การพัฒนาระบบบริการทุติยภูมิและปฐมภูมิ
เป้าหมาย ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
และแนวทางการตรวจราชการ คณะที่ 1 : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
การพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ เพื่อลดปัจจัยเสี่ยงด้านสุขภาพ จังหวัดอุบลราชธานี นางปริญญา ผกานนท์ นักวิชาการสาธารณสุข 8 ว.
เกณฑ์การส่งต่อผู้ป่วย COPD ดูแลต่อเนื่องที่บ้าน
กลุ่มที่ 5 และกลุ่มที่ 12. สรุปกระบวนการและ ข้อเสนอแนะ การนิเทศ รพ. สต. รอบที่ 1 เป็นแนวคิดที่เน้นการนิเทศงานแบบ กระบวนการทำงานของแต่ละพื้นที่ ซึ่งไม่มีรูปแบบตายตัว.
Company LOGO รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข ศ. นพ. รัชตะ รัชตะนาวิน 20 ตุลาคม 2557.
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่
การดูแลผู้ป่วยระยะยาว
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
สำนักงานป้องกันควบคุม โรคที่ 2 จังหวัดสระบุรี. แรงบันดาลใจ  การกระจายอำนาจให้แก่องค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่นเข้ามามี บทบาทในการให้บริการ สาธารณะ  ประชาชนสามารถดูแลสุขภาพ.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Homeward& Rehabilitation system Chiangmai Homeward& Rehabilitation system

ประชาชนเป็นโรคเรื้อรัง สุขภาพอ่อนแอ สาเหตุการตายสูง ผู้ป่วยเรื้อรัง Readmission สูง LOS นาน ต้องการให้ admit ต่อ อัตราครองเตียงสูง ค่าใช้จ่ายการให้บริการสูง ประชาชนเป็นโรคเรื้อรัง สุขภาพอ่อนแอ สาเหตุการตายสูง หมดหวัง เครียด ไม่มีผู้ดูแล ครอบครัว ชุมชนขาดความรู้ในการดูแล เจ้าหน้าที่ทำงานแยกส่วน ชุมชนมีภูมิปัญญาพื้นบ้าน

เป้าหมาย ลดอัตราครองเตียงในโรงพยาบาล โดยเน้นลดการกลับมานอนซ้ำ ลดภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยติดบ้าน ติดเตียง ลดอัตราเสียชีวิต เพิ่มคุณภาพชีวิตแก่ผู้ป่วยที่ติดบ้านติดเตียง

จงเรียนรู้กับชาวบ้าน จงเรียนรู้จากชาวบ้าน จงทำงานร่วมกับชาวบ้าน จงเข้าไปหาชาวบ้าน จงเรียนรู้กับชาวบ้าน จงเรียนรู้จากชาวบ้าน จงทำงานร่วมกับชาวบ้าน จงเริ่มต้นจากสิ่งที่ชาวบ้านรู้ จงสร้างในสิ่งที่ชาวบ้านมี ทำให้เห็นเป็นแบบอย่าง ทำงานอย่างเป็นระบบ

ประเด็นหลักที่พิจารณา ผู้รับผิดชอบหลัก ผู้ดูแล ทีม - มาตรฐานการดูแล และความต่อเนื่อง อุปกรณ์ที่จำเป็นในการดูแล ระบบการขึ้นทะเบียน ระบบการส่งต่อ การเรียนรู้เพื่อพัฒนาที่ต่อเนื่อง

แนวคิด สร้างทีม ทั้งทีมสนับสนุน ทีมดูแล ร่วมกันรับผิดชอบเพื่อสร้างเครือข่ายการดูแลที่บ้านร่วมกันอย่างมีประสิทธิภาพ พัฒนาศูนย์ฟื้นฟูผู้ป่วย ระดับโซน อำเภอ และในชุมชน พัฒนาcare process ให้มีประสิทธิภาพ ทั้งการกำหนดมาตรฐานการดูแล อุปกรณ์การดูแล ทีมงาน ระบบการประสานงานและส่งต่อ พัฒนารูปแบบการผสมผสานการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านและอาสาสมัครในการดูแลในการดูทุกระดับ พัฒนาบุคลากร ให้มี Homecare manager ในทุกระดับ พัฒนาระบบรายงานการดูแลที่บ้านด้วยเทคโนโลยีที่สะดวก ระบบสนับสนุนได้แก่ กองทุนอุปกรณ์ระดับอำเภอ/ตำบล การtrainingบุคลากร การสนับสนุนครุภัณฑ์สำหรับศูนย์หลัก มาตรฐานcare process ระบบสวัสดิการสำหรับจิตอาสาดูแลที่บ้านโดยท้องถิ่น ระบบการพัฒนาคุณภาพhomecare quality

กิจกรรม ระบบเดิม ระบบใหม่ การขึ้นทะเบียน มีไม่ชัดเจน มีทุกระดับ การจำแนกความรุนแรง มี ไม่ชัดเจน มี 3 ระดับ การจัดการ ผสมผสาน มีผู้จัดการ และทีม คุณภาพ มีการกำหนดCPGและการพัฒนาการดูแล ความครอบคลุม บอกไม่ได้ มีความครอบคลุมทั้งการค้นหาเชิงรุกและเชิงรับ ความพร้อมของอุปกรณ์ที่บ้าน พึ่งตนเอง มีกองทุนสนับสนุน ศูนย์ฟื้นฟูในชุมชน มีบ้าง มีศูนย์อย่างน้อยอำเภอละ 1แห่ง – 3 model ( อปท / รพสต / วัด) การผสมผสานการแพทย์ มีทุกแห่ง

มีและสนับสนุนโดยมหาวิทยาลัย กิจกรรม เดิม ใหม่ ศูนย์ฟื้นฟูในโซน ไม่มี มี การเรียนรู้ มีบ้าง มีและสนับสนุนโดยมหาวิทยาลัย ความยั่งยืน ? คาดหวัง

1.

2

ความก้าวหน้า ขั้นตอน/ ศูนย์ฟื้นฟู ระบบHomeward การเตรียมการ -การพัฒนาคน ทีม -การทบทวนและกำหนดร่างรูปแบบรายละเอียดต่างๆ 1ประชุมทีม 2 ครั้ง / ดูงาน 1 ครั้ง 2 กำหนดคุณลักษณะศูนย์ ในโซน และใน ตำบล 3 ทำคำสั่งคณะกรรมการ 1 ประชุมทีม 1 ครั้ง / ดูงาน 1 ครั้งร่วมกับทีมrehab 4 อยู่ระหว่างทำเป็นเอกสารประกอบทั้งหมด( โมเดลระดับโซน รพช ศูนย์ฟื้นฟูในชุมชน การร่วมือด้านบุคลากร การtraining) 2 23 เมษายนจะนำเข้าสรุปในชมรมกลุ่มการพยาบาลประชุมเพื่อสรุปรูปแบบการจัดการ หลักสูตรการเรียนรู้ กองทุนอุปกรณ์ที่จำเป็น การพัฒนาCPGและ ระบบสารสนเทศการรายงาน

แนวทางที่จะพัฒนา กิจกรรม เป้าหมาย คณะทำงาน ระดับจังหวัด มีคำสั่ง หน กลุ่มการทุกแห่งร่วมเป็นคณะกรรมการพัฒนา ระบบการขึ้นทะเบียน ระบบรายงาน ระบบการส่งต่อ กำหนดHCM รพศ / รพท/รพช/รพสต ละ1 คน

แนวทางที่จะพัฒนา กิจกรรม เป้าหมาย มติ หลักสูตร ผ่านการอบรมหลักสูตรอย่างน้อย>>>> วัน รพช ละ1 รพสต ละ 1 กองทุนอุปกรณ์ระดับอำเภอและตำบล ทุกแห่ง/ถังออกซิ เจน/เครื่องดูดเสมหะ การใช้ CPG อย่างน้อย stroke CAPD /COPD/ Fracture /โรคจิต

ขั้นตอนการวางระบบ สรุปโมเดล รายละเอียดทุกอย่างง เสนอ provider board เดือนพฤษภาคมเพื่อเห็นชอบ 1 งบประมาณสนับสนุนที่ขอรับ 1 ประชุมกรรมการทุกเดือน 2 การอบรม Home care manager ทุกระดับ 3 การสนับสนุนเรื่องระบบการแลกเปลี่ยนเรียนรู้เป็นระยะ 2 ในพื้นที่ พัฒนาอุปกรณ์ประจำศูนยฟื้นฟูชุมชน 30,000/ศูนย์( พึ่งตนเอง) การสนับสนุน 4 รพที่เป็นศูนย์ฟื้นฟูในโซน - มอบโซนพัฒนาร่วมกัน