Dr.Smira Chittaladakorn

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การเสนอโครงการวิทยานิพนธ์
Advertisements

ประชากร (Population) จำนวน N สุ่ม (Random) กลุ่มตัวอย่าง (Sample)
สถิติ และ การวิเคราะห์ข้อมูล
การตั้งสมมติฐานและตัวแปร
กระบวนการวิจัย(Research Process)
ขั้นตอนในการทำวิจัย.
การวิจัยเชิงทดลอง สมพงษ์ พันธุรัตน์.
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
สถิติที่ใช้ในการวิจัย
รายงานการวิจัย.
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
Thesis รุ่น 1.
ภาพรวมของแนวคิดโครงงาน
สถิติและวิจัยทางเทคโนโลยีสารสนเทศ
Experimental Research
การวางแผนและการดำเนินงาน
มหาวิทยาลัย ต้องการชุด โครงการแบบไหน. น่าจะเริ่มต้นถามว่า ต้องการผลงานแบบไหน จากชุดโครงการวิจัย.
การวิจัยสถาบัน ดร.จักษ์ พันธ์ชูเพชร
: หัวข้อและความสำคัญของปัญหา
: หัวข้อและประเด็นปัญหา
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทาง การตลาด
การเขียนโครงร่างการวิจัย
รศ. ดร. สุนีย์ เหมะประสิทธิ์
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการวิจัย
ประชากร และกลุ่มตัวอย่าง
โครงร่างการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนรายงานการใช้เอกสารประกอบการสอน
การออกแบบการวิจัย(Research Design)
การออกแบบการสุ่มตัวอย่าง (sampling design)
กระบวนการวิจัยเชิงประเมิน
การวัดและประเมินผลตามสภาพจริง
บทที่ 7 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยและ การเก็บรวบรวมข้อมูล
การเขียนรายงานการวิจัย
แบบสังเกต (Observation form)
บทที่ 7 การวิเคราะห์ความเชื่อถือได้
ประชากรและการสุ่มกลุ่มตัวอย่าง
การออกแบบการวิจัย (Research Design)
การวิเคราะห์ข้อมูล.
ปัญหาการวิจัย โดย ดร.วรรณะ บรรจง.
การเขียนรายงานการวิจัย
แนวคิดในการทำวิจัย.
หลักสูตรพัฒนาความสามารถในการสร้างเครื่องมือ วัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
หน่วยที่ 5 การสร้างเครื่องมือวัดคุณลักษณะอันพึงประสงค์
กระบวนการวิจัย Process of Research
ใส่ชื่อเรื่องงานวิจัย กะทัดรัด มีตัวแปรต้น ตัวแปรตาม อย่างชัดเจน
มาตรฐานการให้รางวัลผลงานด้านการวิจัยและพัฒนาระบบพฤติกรรมไทย
การสร้างและการหาคุณภาพเครื่องมือวิจัย
การประเมินนวัตกรรม Dr.Kulthida Nugultham.
รศ. ดร. นิตยา เจรียงประเสริฐ คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
คำอธิบายรายวิชา.
การตรวจสอบคุณภาพ ของเครื่องมือการวิจัย
อาจารย์แผนกช่างก่อสร้าง วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู
ลักษณะโครงการวิจัยที่ดี
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
15. การวิจัยเชิงสำรวจ Survey Research.
3. หลักการวิจัย หลักการวิจัย : สำราญ สาราบรรณ์.
บทที่ 1 บทบาทของการวิจัยตลาด
การอ่านผลงานวิจัย / เอกสารวิชาการ เพื่อการทำวรรณกรรม ปริทัศน์
การวางแผนและการเขียนโครงการวิจัย
แนวทางพัฒนางานประจำ สู่งานวิจัย
ข้อมูล ข้อเท็จจริงหรือรายละเอียดเกี่ยวกับเรื่องที่สนใจศึกษา ซึ่งอาจอยู่ในรูปตัวเลข เช่น น้ำหนัก ความสูง ระยะทาง อายุ หรืออาจเป็นข้อเท็จจริงที่อยู่ในรูปคุณลักษณะหรือคุณสมบัติ
CLASSROOM ACTION RESEARCH
1. การวิจัยคืออะไร 2. การวิจัยแบ่งเป็นกี่ประเภท อะไรบ้าง
บทที่ 9 การกำหนดขนาดของตัวอย่าง
รายวิชาชีวสถิติ (Biostatistics)
วิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Research)
บทที่ 7 การสุ่มตัวอย่าง.
ประเภทของสุ่มตัวอย่าง
ประชากร การคำนวณขนาดตัวอย่าง และการเลือกวิธีการสุ่มตัวอย่าง
งานวิจัย.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Dr.Smira Chittaladakorn PS 602 Dr.Smira Chittaladakorn

เป้าหมาย แหล่งความรู้ เป้าหมาย แหล่งความรู้ คำตอบของการวิจัยคือ: ความรู้ : ความจริงในธรรมชาติของสิ่งนั้น แหล่งความรู้ - ความรู้ในตน: ความรู้แจ่มแจ้ง การหยั่งรู้ การใช้เหตุผล -ความรู้ที่มาจากภายนอก: การถามผู้รู้ การวิจัย ประจักษ์นิยม

หลักเกณฑ์ของการวิจัย การสร้างคำถามเป็นเครื่องมือค้นหาคำตอบ ความซื่อตรงของผู้วิจัย ไม่ใส่อคติ ความสำคัญของการจดบันทึก การยอมรับข้อจำกัด

กระบวนการวิจัย การวางแผนการวิจัย การระบุสภาพปัญหา วัตถุประสงค์ การระบุสภาพปัญหา วัตถุประสงค์ สมมติฐาน รูปแบบการวิจัย การวัด เครื่องมือวัด ความน่าเชื่อถือ ความเที่ยงตรง การวางแผนในการคัดเลือกตัวอย่าง การเก็บรวบรวมข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูล การแปลและการตีความหมายของข้อมูล

สมมติฐาน มโนทัศน์ สมมติฐานคือการคาดเดาคำตอบของคำถามการวิจัยที่ตั้งไว้ สมมติฐาน มโนทัศน์ สมมติฐานคือการคาดเดาคำตอบของคำถามการวิจัยที่ตั้งไว้ ลักษณะคือประกอบด้วย ตัวแปร ที่สามารถวัดได้จริง แสดงถึงทิศทางของความสัมพันธ์ของตัวแปร มโนทัศน์ จะประกอบด้วย แนวคิด(concept) ที่เป็นองค์ประกอบของกรอบความคิดในการวิจัยเรื่องนั้น มโนทัศน์ ยังมีความเป็น นามธรรม สูงกว่า สมมติฐาน

รูปแบบการวิจัย Experimental research design pre-experiment quasi-experiment true-experiment Non- experimental research design survey or field research Cross-sectional studies Longitudinal studies

เครื่องมือวัด แบบทดสอบ แบบสัมภาษณ์ แบบสังเกตุ แบบสอบถาม แบบสำรวจ

มาตรวัด ระดับของการวัด แบ่งได้ 4 ระดับคือ Nominal Scale Ordinal Scale Interval Scale Ratio Scale ประเภทของการวัดมีหลายแบบ Ranking การจัดลำดับความสำคัญ Rating การให้คะแนน Semantic differential การให้ความหมาย

ความน่าเชื่อถือ ความเที่ยงตรง ความน่าเชื่อถือ ความเที่ยงตรง ความน่าเชื่อถือ วัดซ้ำๆ มากกว่า 1 ครั้ง (ทิ้งระยะเวลา หรือ วัด 2 กลุ่มเวลาเดียวกัน) วัดแบบคู่ขนาน ใช้เครื่องมือวัด 2 ชุดที่มีเป้าหมายวัดอย่างเดียวกัน การวิเคราะห์ภายใน split-half method ความเที่ยงตรง การตรวจสอบด้านเนื้อหาสาระ การตรวจสอบกับแนวคิดทฤษฎี การตรวจสอบจากผู้เชี่ยวชาญ

Sampling Plan Probability- simple random - systematic - stratified - multistage Non-probability –accidental - volunteer -purposive -quota แบ่งเป็นกลุ่มย่อยก่อน -snowball or chain