Dr.Smira Chittaladakorn PS 602 Dr.Smira Chittaladakorn
เป้าหมาย แหล่งความรู้ เป้าหมาย แหล่งความรู้ คำตอบของการวิจัยคือ: ความรู้ : ความจริงในธรรมชาติของสิ่งนั้น แหล่งความรู้ - ความรู้ในตน: ความรู้แจ่มแจ้ง การหยั่งรู้ การใช้เหตุผล -ความรู้ที่มาจากภายนอก: การถามผู้รู้ การวิจัย ประจักษ์นิยม
หลักเกณฑ์ของการวิจัย การสร้างคำถามเป็นเครื่องมือค้นหาคำตอบ ความซื่อตรงของผู้วิจัย ไม่ใส่อคติ ความสำคัญของการจดบันทึก การยอมรับข้อจำกัด
กระบวนการวิจัย การวางแผนการวิจัย การระบุสภาพปัญหา วัตถุประสงค์ การระบุสภาพปัญหา วัตถุประสงค์ สมมติฐาน รูปแบบการวิจัย การวัด เครื่องมือวัด ความน่าเชื่อถือ ความเที่ยงตรง การวางแผนในการคัดเลือกตัวอย่าง การเก็บรวบรวมข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูล การแปลและการตีความหมายของข้อมูล
สมมติฐาน มโนทัศน์ สมมติฐานคือการคาดเดาคำตอบของคำถามการวิจัยที่ตั้งไว้ สมมติฐาน มโนทัศน์ สมมติฐานคือการคาดเดาคำตอบของคำถามการวิจัยที่ตั้งไว้ ลักษณะคือประกอบด้วย ตัวแปร ที่สามารถวัดได้จริง แสดงถึงทิศทางของความสัมพันธ์ของตัวแปร มโนทัศน์ จะประกอบด้วย แนวคิด(concept) ที่เป็นองค์ประกอบของกรอบความคิดในการวิจัยเรื่องนั้น มโนทัศน์ ยังมีความเป็น นามธรรม สูงกว่า สมมติฐาน
รูปแบบการวิจัย Experimental research design pre-experiment quasi-experiment true-experiment Non- experimental research design survey or field research Cross-sectional studies Longitudinal studies
เครื่องมือวัด แบบทดสอบ แบบสัมภาษณ์ แบบสังเกตุ แบบสอบถาม แบบสำรวจ
มาตรวัด ระดับของการวัด แบ่งได้ 4 ระดับคือ Nominal Scale Ordinal Scale Interval Scale Ratio Scale ประเภทของการวัดมีหลายแบบ Ranking การจัดลำดับความสำคัญ Rating การให้คะแนน Semantic differential การให้ความหมาย
ความน่าเชื่อถือ ความเที่ยงตรง ความน่าเชื่อถือ ความเที่ยงตรง ความน่าเชื่อถือ วัดซ้ำๆ มากกว่า 1 ครั้ง (ทิ้งระยะเวลา หรือ วัด 2 กลุ่มเวลาเดียวกัน) วัดแบบคู่ขนาน ใช้เครื่องมือวัด 2 ชุดที่มีเป้าหมายวัดอย่างเดียวกัน การวิเคราะห์ภายใน split-half method ความเที่ยงตรง การตรวจสอบด้านเนื้อหาสาระ การตรวจสอบกับแนวคิดทฤษฎี การตรวจสอบจากผู้เชี่ยวชาญ
Sampling Plan Probability- simple random - systematic - stratified - multistage Non-probability –accidental - volunteer -purposive -quota แบ่งเป็นกลุ่มย่อยก่อน -snowball or chain