Medication reconciliation
Medication reconciliation กระบวนการลดความคลาดเคลื่อนทางยา ยาที่ผู้ป่วยเคยได้รับในอดีต และ เพิ่งได้รับ หรือกำลังจะได้รับ ทั้งชื่อยา ขนาดรับประทาน ความถี่ และวิถีที่ใช้ยานั้นๆ รายการยาดังกล่าวนี้ต้องติดตามผู้ป่วยไปทุกรอยต่อของการให้บริการ เมื่อผู้ป่วยกลับบ้าน กระบวนการดังกล่าวเกิดขึ้นเพื่อให้ผู้ป่วยได้ใช้ยาครบถ้วนถูกต้องตามที่แพทย์ได้ปรับเปลี่ยนไปแล้ว
Medication reconciliation ความคลาดเคลื่อนทางยาที่อาจเกิดขึ้นในขั้นตอนการจำหน่ายผู้ป่วย ผู้ป่วยที่ไม่ได้รับยาที่ใช้อยู่เดิมตอนก่อนเข้าโรงพยาบาล ผู้ป่วยอาจรับประทานยาเดิมที่เหลืออยู่ที่บ้านต่อไปอีก ยาบางอย่างแพทย์สั่งหยุดใช้ชั่วคราวในระหว่างที่ผู้ป่วยอยู่ในโรงพยาบาลแต่ผู้ป่วยไม่ได้รับยา ผู้ป่วยเมื่อกลับบ้านรับประทานยาที่ได้รับมาจากโรงพยาบาลร่วมกับยาทั้งหมดที่ใช้อยู่ก่อนเข้าโรงพยาบาล จึงเกิดการรับประทานยาซ้ำซ้อน
Medication reconciliation การลดความคลาดเคลื่อนทางยาในขั้นตอนการจำหน่ายผู้ป่วยออกจากโรงพยาบาล กลุ่มเป้าหมาย คือ กลุ่มผู้ป่วยโรคเบาหวานที่เกิดปัญหาจากการใช้ยา
เกณฑ์ในการแจกบัตรประวัติการใช้ยาผู้ป่วยกลับบ้าน เป็นผู้ป่วยโรคเบาหวานที่เข้ามารับการรักษาในโรงพยาบาล ซึ่งเกิดภาวะ hypoglycemia หรือ ภาวะ hyperglycemia ผู้ป่วยดังกล่าวต้องเป็นผู้ป่วยที่เคยได้รับการเข้ากลุ่ม self help group ของโรงพยาบาลสระบุรี และ อยู่บนหอผู้ป่วยอายุรกรรมหญิงบน เป็นผู้ป่วยโรคเบาหวานที่ต้องทำการส่งต่อการรักษา (refer) ไปยังสถานพยาบาลอื่น
ขั้นตอนการพิมพ์ medication reconciliation card การพิมพ์ใบ print request บนหอผู้ป่วย เภสัชกร key ใบสั่งยา และตรวจรายการยาผู้ป่วยกลับบ้านเทียบกับรายการยาเดิมใน doctor order sheet เกิดปัญหาจากการใช้ยา จะทำการ consult แพทย์ เพื่อให้ผู้ป่วยได้รับการรักษาที่เหมาะสม
reconcile ใบ copy order เขียนคำว่า “reconcile” ตรงมุมกระดาษขวามือด้านบนทั้งในใบ request และ ใบ copy order เพื่อให้ห้องยา ER ดำเนินการพิมพ์บัตร medication reconciliation card
เมื่อ medication reconciliation card มาถึงบนหอผู้ป่วย เมื่อให้เภสัชกรผู้รับผิดชอบเป็นผู้ส่งมอบบัตรประวัติการใช้ยาให้แก่ผู้ป่วยพร้อมยา และให้คำแนะนำเรื่องการใช้ยาแก่ผู้ป่วย ในกรณีนอกเวลาราชการหรือในช่วงเวลาที่เภสัชกรไม่สามารถขึ้นปฏิบัติงานบนหอผู้ป่วย พยาบาลบนหอผู้ป่วยช่วยแนบบัตรประวัติการใช้ยาผู้ป่วยร่วมกับบัตรนัดแพทย์
เมื่อ medication reconciliation card มาถึงบนหอผู้ป่วย แจ้งให้ผู้ป่วยหรือญาติทราบว่าหากมาโรงพยาบาลครั้งใดให้นำบัตรพร้อมกับยาที่ผู้ป่วยใช้อยู่ทั้งหมดมาที่โรงพยาบาลทุกแห่งทุกครั้ง สร้างความตระหนักให้แก่ผู้ป่วย หรือญาติ ให้เห็นความสำคัญของความปลอดภัยในการใช้ยา
กรณีที่ผู้ป่วยมียาเดิมเหลืออยู่มากเกินวันนัด เงื่อนไข การดำเนินการ กรณีที่ผู้ป่วยมียาเดิมเหลืออยู่มากเกินวันนัด เบิก 1 คืน 1 เพื่อทำการบันทึกและสั่งพิมพ์ sticker วิธีการใช้ยาครั้งล่าสุด กรณีที่ผู้ป่วยมียาเดิมเหลืออยู่แต่ไม่เพียงพอกับวันนัด ให้ทำการเบิกให้พอกับวันนัดผู้ป่วย กรณีที่ผู้ป่วยมียาเดิมจากรพ.อื่นและ จำเป็นต้องใช้ต่อ เบิก 1 คืน 1 เพื่อทำการบันทึกการใช้ยาผู้ป่วย โดยเภสัชกรบนหอผู้ป่วยทำการเขียนท้ายชื่อยาว่า “ยาเดิม รพ. อื่น” ทั้งใบ request และ ใบ copy order
ขั้นตอนการดำเนินการของบัตรประวัติการใช้ยาผู้ป่วยกลับบ้าน ผู้ป่วยนอก (OPD) : ผู้ป่วยยื่นบัตรประวัติการใช้ยาผู้ป่วยพร้อมกับบัตรนัดแพทย์ที่หน้าห้องตรวจ พยาบาลที่ห้องตรวจ แนบบัตรดังกล่าวพร้อม OPD card เพื่อเข้าพบแพทย์ เมื่อพบแพทย์เสร็จ ให้นำบัตรดังกล่าวแนบมาพร้อมใบสั่งยา ให้เจ้าหน้าที่ห้องยาเก็บบัตรดังกล่าวไว้ให้กับเภสัชกรผู้รับผิดชอบ
ขอบคุณค่ะ