การประชุมพัฒนาศักยภาพนักวิจัยคณะเภสัชศาสตร์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การเตรียมความพร้อมในการเสนอโครงการภายใต้แผนปฏิบัติการฯในระดับจังหวัด
Advertisements

ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
การเสนอโครงการวิทยานิพนธ์
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
รายงานการวิจัย.
Research Problem ปัญหาการวิจัย
สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
แผนปฏิบัติการ ปีงบประมาณ พ.ศ นำไปสู่การปฏิบัติ
กุลภัทรา สิโรดม 20 กรกฎาคม 2554
เรื่องสืบเนื่อง การวางแผนและบริหารโครงการสำหรับส่วน ราชการ
แผนที่ยุทธศาสตร์ สถาบันวิจัยและพัฒนา พ.ศ
คณะผู้วิจัย ภาควิชา คณะวิศวกรรมศาสตร์ ม.เทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ภาพรวมแผนผังเชิงกลยุทธ์ (Strategy Map)
นโยบายด้านการบริการวิชาการ
การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร ส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร ส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
คำอธิบายแนวทางการให้คะแนน เอกสาร/หลักฐานการดำเนินงาน
การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
แผนการขับเคลื่อนกรอบคุณวุฒิแห่งชาติสู่การปฏิบัติ
สถานีอนามัยสมอพลือ อำเภอบ้านลาด จังหวัดเพชรบุรี.
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การโดยสรุป 1 หน้า
ยุทธศาสตร์การวิจัยฉบับที่ 8 ( ) vs ยุทธศาสตร์และแผนวิจัยระบบสาธารณสุข
แผนปฏิบัติราชการการศึกษา ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
ผลการดำเนินงานองค์กร (Performance Measurement)
การตรวจวัดสภาพ ผลการดำเนินงานองค์กร
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดต่อทั่วไป ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่
การประชุมคณะทำงานหมวด 4 ครั้งที่ 1/2554 (ครั้งที่ 1)
สรุปประเด็นการประชุมสัมมนากลุ่มย่อย
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด1 12คำถาม.
การจัดประชุมเฉพาะกลุ่มที่ เกี่ยวข้องโดยตรง Focus Group 1st ปัญหา อุปสรรค และกลยุทธ์ ส่งเสริมงานวิจัยด้าน ICT ไทย “ โครงการส่งเสริมงานวิจัยและ พัฒนาเพื่อเสริมสร้างความ.
เชื่อมโยงยุทธศาสตร์ กับนโยบายรัฐบาล และ วท.
แผนปฏิบัติราชการ พ.ศ ของกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ทำไมต้องปรับระบบการบริหารจัดการภาครัฐ ?
สรุปการประชุม เขต 10.
การบริหารเชิงยุทธศาสตร์
นักวิจัย กับ แนวทางการมีส่วนร่วมในการทำวิจัย
ปัจจัยของการสร้างนวัตกรรม
“การพัฒนาสำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัด สู่การเป็นองค์กรสมรรถนะสูง”
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
นโยบายการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนในโรงเรียนขนาดเล็ก
"เป็นหน่วยงานหลักในการประสาน และผลักดันยุทธศาสตร์กระทรวง
Evaluation as a Strategy ; สำนักประเมินผล สำนักงบประมาณ
กระบวนการวิจัย Process of Research
ภายใต้โครงการลงทุนด้านการศึกษาและการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ และคณิตศาสตร์ ตามแผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง 2555 แผนฟื้นฟูเศรษฐกิจ ระยะที่ 2 : โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา.
หมวด5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
ยุทธศาสตร์กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
กรอบยุทธศาสตร์กระทรวงในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการ พ. ศ ของ วท
การเขียนข้อเสนอโครงการ
- อาจารย์ - บุคลากร - นักศึกษา ทุนอุดหนุนการวิจัยประเภท งานวิจัยตามพันธกิจ และอัตลักษณ์ของ มหาวิทยาลัย.
การจัดทำแผนปฏิบัติงานประจำปี
สรุปการประชุมระดมความคิด
พรทิพย์ ศิริภานุมาศ กองแผนงาน กรมควบคุมโรค
การแปลงนโยบายและแผน นำสู่การปฏิบัติ
เทคนิคการรวบรวมข้อมูล
หลักการ และแผนงานการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์อยู่ดีมีสุขระดับจังหวัด ปีงบประมาณ 2551 สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ 20 กรกฎาคม 2550.
การพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่อง
หลักการเขียนโครงการ.
ลักษณะโครงการวิจัยที่ดี
รางวัลบริการภาครัฐแห่งชาติ (Thailand Public Service Awards)
การเขียนโครงการ.
นโยบายการพัฒนาทรัพยากรสารสนเทศ
ปฏิบัติงานบริการคอมพิวเตอร์
กลุ่ม สำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร.
แนวทางพัฒนางานประจำ สู่งานวิจัย
วิทยาศาสตร์หมายถึงอะไร
เรียนรู้ร่วมกันเป็นทีม
โครงการจัดตั้ง กองแผนงาน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การประชุมพัฒนาศักยภาพนักวิจัยคณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม วันที่ 15 กันยายน 2554 เขียนโครงร่างงานวิจัยอย่างไร ให้ได้ทุนระดับชาติ ศาสตราจารย์ ดร. ภญ. มาลิน จุลศิริ กรรมการสภาวิจัยแห่งชาติ สาขาวิทยาศาสตร์เคมีและเภสัช

เป้าหมายหลักของการวิจัย

การสร้างผลงานที่สามารถหรือมีโอกาสนำไปใช้ต่อยอดหรือสร้างมูลค่าเพิ่มทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม(ของประเทศและของโลก)ให้ดีขึ้น เช่น เสริมคุณภาพชีวิตคนหรือผลิตภัณฑ์ เพิ่มประสิทธิภาพของคน หรือผลิตภัณฑ์ สร้างความปลอดภัยแก่ชีวิตคนและทรัพย์สิน ฯลฯ *คัดลอกส่วนหนึ่งจากสำนักงานคณะกรรมการสภาวิจัยแห่งชาติ

ยุทธศาสตร์การวิจัยของชาติ

“……เชื่อมโยงระบบการวิจัยตามแผนยุทธศาสตร์ของรัฐบาลและเชื่อมต่อระหว่างยุทธศาสตร์ของชาติ เพื่อให้ระบบการวิจัยของประเทศปรับตัวให้สามารถตอบสนองกับความต้องการของสังคมและก้าวทันความเปลี่ยนแปลงของโลก……” “……เน้นการวิจัยแบบบูรณาการที่ให้แผนการวิจัยทั้งหมดเกิดความเชื่อมโยงทั้งระบบ เน้นการวิจัยเป็นกลุ่มกิจกรรมที่ก่อให้เกิดผลเป็นรูปธรรม เกิดผลลัพธ์ที่เกิดประโยชน์ต่อประเทศอย่างชัดเจน ……” ธ *คัดลอกส่วนหนึ่งจากสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ

สาขาการวิจัย (ตามสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ) ธ

2. สาขาวิทยาศาสตร์การแพทย์ 3. สาขาวิทยาศาสตร์เคมีและเภสัช 1. สาขาวิทยาศาสตร์กายภาพและคณิตศาสตร์ 2. สาขาวิทยาศาสตร์การแพทย์ 3. สาขาวิทยาศาสตร์เคมีและเภสัช 4. สาขาเกษตรศาสตร์และชีววิทยา 5. สาขาวิศวกรรมศาสตร์และอุตสาหกรรมวิจัย สาขาปรัชญา สาขานิติศาสตร์ สาขารัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ สาขาเศรษฐศาสตร์ 10. สาขาสังคมวิทยา 11. สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศน์และนิเทศศาสตร์ 12. สาขาการศึกษา ธ

แขนงวิทยาศาสตร์เคมีและเภสัช

เคมีแขนงต่าง ๆ เช่น - อินทรีย์เคมี - อนินทรีย์เคมี - ชีวเคมี - เคมีชีวภาพ - เคมีวิเคราะห์ - ฟิสิกค์เคมี - ปิโตรเคมี - โพลิเมอร์ - พฤกษเคมี - ฯลฯ เภสัชแขนงต่าง ๆ เช่น - เภส้ชเคมี - เภสัชพฤกษศาสตร์ - เภสัชศาสตร์ชีวภาพ - เภสัชวิเคราะห์ - ฟิสิกส์เภสัชกรรม - เทคโนโลยีเภสัชกรรม - เภสัชอุตสาหกรรม - เภสัชกรรมคลินิก - เภสัชกรรมชุมชน - ฯลฯ

การวิจัยและพัฒนาสาขาวิทยาศาสตร์เคมีและเภสัช

- สารออกฤทธิ์ เช่น สารแก้ปวด สารให้ความชุ่มชื้น ฯลฯ - ผลิตภัณฑ์ - วัตถุดิบ - สารออกฤทธิ์ เช่น สารแก้ปวด สารให้ความชุ่มชื้น ฯลฯ - สารปรุงแต่ง เช่น สี สารกันเสีย ฯลฯ - สินค้าสำเร็จรูป - อุปโภค เช่น สิ่งซักล้าง ฯลฯ - บริโภค เช่น ยา เครื่องสำอาง ฯลฯ - กสิกรรม เช่น ปุ๋ย ฯลฯ - สี เช่น สีทาบ้าน หมึกพิมพ์ ฯลฯ - อื่น ๆ เช่น บรรจุภัณฑ์ ฯลฯ

- กรรมวิธีวิเคราะห์ในห้องปฏิบัติการ เช่น หาชนิดและปริมาณยา ฯลฯ - พลังงาน เช่น ไบโอดีเซล พลังงานนิวเคลียร์ ฯลฯ - สิ่งแวดล้อม เช่น การบำบัดน้ำเสีย สารฆ่าเชื้อนาโนเคลือบในหลอดไฟ ฯลฯ - ชุมชนและสังคม เช่น บริการการจ่ายยาที่ประทับใจในโรงพยาบาล การใช้ยาที่ถูกต้องของผู้บริโภค ฯลฯ - อื่น ๆ เช่น พลาสติคชีวภาพ ฯลฯ

ตำแถลงนโยบายของคณะรัฐมนตรี นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตรี ต่อรัฐสภา วันที่ 23 สิงหาคม 2554 ในส่วนที่เกี่ยวข้องกับกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 6. นโยบายวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี การวิจัย และนวัตกรรม 6.1 เร่งพัฒนาให้ประเทศไทย .......... 6.2 เร่งสร้างนักวิทยาศาสตร์ นักวิจัย และ ………. 6.3 สนับสนุนและส่งเสริมให้เกิดการลงทุนและความร่วมมือระหว่าง ภาครัฐและเอกชน รวมทั้งสถาบันการศึกษาชั้นสูง ให้เกิดการวิจัยและ พัฒนา และการถ่ายทอดเทคโนโลยี เพื่อมุ่งสู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ สังคม ซึ่งครอบคลุมตั้งแต่การพัฒนาภูมิปัญญาท้องถิ่น ภาคเกตรกรรม ภาคอุตสาหกรรม และ ………. 6.4 จัดระบบบริหารงานวิจัยให้เกิดประสิทธิภาพสูง โดยการจัด เครือข่ายความร่วมมือ……….เพื่อลดความซ้ำซ้อน และทวีศักยภาพ จัดทำแผนวิจัยแม่บทเพื่อมุ่งเป้าหมายของการวิจัยให้ชัดเจน เน้นให้ เกิดการวิจัยแบบครบวงจร ตั้งแต่การวิจัยพื้นฐานไปถึงการสร้าง ผลิตภัณฑ์……….ส่งเสริมการลงทุนด้านการวิจัย โดยมุ่งสู่ร้อยละ 2 ของผลิตภัณธ์มวลรวมของประเทศ 6.5 ส่งเสริมการใช้ข้อมูลเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ ……….

การวิจัยให้ประสบความสำเร็จ

เทคนิคการเขียนข้อเสนอการวิจัยเพื่อขอรับทุน

- สิ่งที่ต้องคำนึง - สิ่งที่ต้องทำ - สิ่งที่ควรทำเพิ่มเติม - วิธีเขียน

สิ่งที่ต้องคำนึง (1) - ควรอ่านและทำความเข้าใจ กับทุนที่กำลังจะเขียนขอว่าเป็นทุนเกี่ยวกับอะไร ทุนทั่วไปหรือทุนจำเพาะ เงินทุนที่ให้จำกัดจำนวนเท่าไร ฯลฯ - ควรรู้ตัวว่ามีศักยภาพ โดยเฉพาะความรู้และความสามารถที่ต้องเกี่ยวข้องกับโครงงานวิจัยที่จะ เขียนขอหรือไม่

สิ่งที่ต้องคำนึง (2) - ควรประเมินปัจจัยที่ต้องเกี่ยวข้องกับงานวิจัยที่จะเขียนว่าพร้อมหรือไม่ เช่น คน เงินทุนที่คาดว่าจะได้ เครื่องมืออุปกรณ์ เวลา ฯลฯ - ควรมีเป้าหมายของงานวิจัยที่จะเขียน ขอ โดยเน้นที่ประโยชน์ต่อส่วนรวม (เศรษฐกิจ สังคม หรืออื่น ๆ ) ว่ามีหรือไม่และมากน้อยเพียงใด *ถ้ายังมีปัญหาในปัจจัยที่เกี่ยวข้อง ต้องคิดว่าจะแก้ไขหรือบริหารอย่างไร

สิ่งที่ต้องทำ (1) - สืบค้นและทำความเข้าใจกับข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับโครงงานวิจัยที่จะเขียนให้พร้อม เพื่อป้องกันจุดอ่อนหรือข้อสงสัยใด ๆ - หาผู้ร่วมงานที่มีเวลา และมึความมุ่งมั่นที่อยากทำงานวิจัย - หาผู้ร่วมงานที่จะสามารถนำผล งานไปประยุกต์ใช้(ถ้าทำได้) เพื่อก่อเกิดการขยายผลงาน และช่วยสร้างคุณค่าให้แก่งาน

สิ่งที่ต้องทำ (2) - คิดโครงการต่อเนื่องหรือต่อยอดผลงานจนครบวงจร เพื่อท้ายที่สุดสามารถนำผลงานไปประยุกต์ใช้เป็นรูปธรรม - การเขียนโครงการต่อเนื่อง ควรมีรายงานความก้าวหน้าของงานในปีที่ผ่านแนบมา รวมทั้งควรใช้หลัก PDCA วิเคราะห์ผลงานที่ผ่านมา เพื่อปรับปรุงการเขียนขอครั้งใหม่

สิ่งที่ควรทำเพิ่มเติม (1) - ติดตามข้อมูลงานวิจัยหรือข่าวสารของประเทศและของโลกอย่างใกล้ชิด เพื่อจะเห็นทิศทางและแนวโน้มของงานวิจัย หรือความต้องการของส่วนรวมที่เกี่ยว ข้อง ซึ่งจะช่วยให้มีโอกาสสร้างสรรค์งานที่ทันสมัย หรือมีโอกาสนำไปประ-ยุกต์ใช้ประโยชน์ได้อย่างเป็นรูปธรรม รู้วิธีบริหารคน เวลา และอื่น ๆ โดยเฉพาะเมื่อได้เงินทุนมาแล้วเพื่อจะสามารถสร้าง สรรค์งานได้ตามเป้าหมายและในเวลาที่กำหนด

สิ่งที่ควรทำเพิ่มเติม (2) - คิดล่วงหน้าว่าจะแปรงงานวิจัยที่ทำภายหลังการได้รับทุนแล้วออกมาเป็นรูปธรรมต่าง ๆ ได้อย่างไร และแบบใด คิดตลอดเวลาว่าเงินทุนที่รับมาทำวิจัยจากแหล่งทุนของรัฐบาลหรือองค์กรมหาชน ส่วนหนึ่งมาจากภาษี จึงต้องใช้อย่างคุ้มค่าที่สุด

วิธีเขียน (1) เขียนตามแบบฟอร์มขอทุน ซึ่งมักมีหัวข้อต่อไปนี้ทั้งหมดหรือส่วนหนึ่ง 1. ชื่อโครงการ 2. ผู้รับผิดชอบ 3. ประเภทการวิจัย 4. สาขาวิชาการและกลุ่มวิจัยที่ทำการวิจัย 5. คำสำคัญ 6. ความสำคัญและที่มาของปัญหาที่ทำการวิจัย 7. วัตถุประสงค์ของโครงการวิจัย 8. ขอบเขตของการวิจัย 9. ทฤษฎี สมมติฐาน(ถ้ามี) และกรอบแนวความคิดของโครงการวิจัย 10. การทบทวนวรรณกรรม/สารสนเทศที่เกี่ยวข้อง 11. เอกสารอ้างอิงของโครงการวิจัย 12. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ (เช่น การเผยแพร่ในวารสาร........) 13. แผนการถ่ายทอดเทคโนโลยีหรือผลการวิจัยสู่กลุ่มเป้าหมาย 14. วิธีการดำเนินการวิจัย และสถานที่ทำการทดลอง/เก็บข้อมูล 15. ระยะเวลาทำการวิจัย และแผนการดำเนินงานตลอดโครงการ 16. ปัจจัยที่เอี้อต่อการวิจัย (เช่น อุปกรณ์การวิจัย....) ระบุเฉพาะปัจจัยที่ต้อง การเพิ่มเติม 17. งบประมาณของโครงการวิจัย 18. ผลสำเร็จและความคุ้มค่าของการวิจัยที่คาดว่าจะได้รับ

วิธีเขียน (2) ส่วนที่อยากเน้นคือ - ชื่อโครงการวิจัย - ความสำคัญและที่มาของปัญหาที่ทำการวิจัย - ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ - งบประมาณของโครงการวิจัย

วิธีเขียน (3) ชื่อโครงการวิจัย - ชัดเจนจากสาระสำคัญของงานที่ทำเพื่อให้เข้าใจตั้งแต่ต้นว่า โครงการเกี่ยวกับอะไร ความสำคัญและที่มาของปัญหาที่ทำการวิจัย - ข้อมูลชัดเจนจนปราศจากข้อสงสัยว่าผู้เสนอขอทุนเข้าใจในงานที่ทำ ทั้งอาจช่วยดึงดูดผู้พิจารณาคล้อยตาม - ข้อมูลสอดคล้องและเป็นไปในแนวเดียวกับทฤษฎี หรือสมมติฐาน (ถ้ามี) และกรอบแนวความคิดของโครงการวิจัย - ข้อมูลต่อยอดหรืออุดช่องโหว่ข้อมูลที่ได้จากการทบทวนวรรณกรรม/สารสนเทศ

วิธีเขียน (4) ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ - มีภาพหรือให้ข้อมูลชัดเจนว่า ผลประโยชน์ที่ได้จากการวิจัยมีเป้าหมายกับอะไร - ควรมีดรรชนีชี้วัดเป็นตัวเลขเพื่อแสดงความชัดเจนว่าโครงการที่เสนอขอทุนจะให้ประโยชน์ต่อเป้าหมายอย่างเป็นรูปธรรมได้เมื่อมีผลออกมา - ประโยชน์หนึ่งที่ไม่ควรมองข้ามและมีประโยชน์มากคือ ความเป็นไปได้ในการถ่ายทอดเทคโนโลยีหรือผลการวิจัยสู่กลุ่มเป้าหมาย

วิธีเขียน (5) งบประมาณของโครงการวิจัย - รู้หรือมีข้อมูลกฎระเบียบว่าด้วยการใช้จ่ายเงินในหมวดต่าง ๆ ของทางราชการหรือหน่วยงานให้ทุน เพื่อให้ง่ายต่อเขียนงบประมาณบางส่วน - คิดคำนวณงบประมาณให้สอดคล้องกับค่าใช้จ่ายที่จะเกิดขึ้นจริงโดยสอดคล้องกับวิธีการดำเนินการวิจัยและระยะเวลาการวิจัย - คิดคำนวณถึงความเป็นไปได้และใช้อย่างคุ้มค่าที่สุด

- โครงการวิจัยลักษะเดียวกันที่ขอทุนมากกว่าหนึ่งแหล่ง ตัวอย่างโครงการวิจัยที่มีโอกาสไม่ผ่านการพิจารณา - โครงการวิจัยที่ซ้ำซ้อน หรือเป็นโครงการที่มีการนำ เสนอค่อนข้างมาก (ถ้าไม่มีอะไรที่แสดงความแตกต่าง อย่างเด่นชัด) เช่น โครงการมังคุด ฯลฯ - โครงการวิจัยลักษะเดียวกันที่ขอทุนมากกว่าหนึ่งแหล่ง - โครงงานวิจัยคัดกรองฤทธิ์ โดยไม่แสดงความต่อเนื่อง ของโครงการหรือแสดงการวิจัยอย่างครบวงจร เช่น การคัดกรองฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระ ฤทธิ์ต้านจุลชีพ ฯลฯ - โครงการวิจัยที่ไม่แสดงความชัดเจนหรือความเป็นไป ได้หรือความสำเร็จของผลงาน รวมทั้งประโยชน์ของ ผลงานที่จะได้ เช่น ทีมงานวิจัยที่ไม่แสดงความเชี่ยว ชาญหรือมีแนวทางที่จะทำให้กรรมการผู้พิจารณามั่นใจ ว่าจะทำโครงการวิจัยที่เสนอขอสำเร็จได้ ศ

ตัวอย่างโครงการวิจัยที่มีโอกาสไม่ผ่านการพิจารณา - โครงการวิจัยที่ผลงานคาดว่าจะก่อเกิดผลกระทบต่อความปลอดภัยและความมั่นคงของส่วนรวม เช่น ไม่ได้มีการพิสูจน์ความปลอดภัยก่อนนำสารที่วิจัยมาทำเป็นผลิตภัณฑ์ ฯลฯ - โครงการวิจัยที่หัวหน้าโครงการเคยได้รับทุนจากแหล่งเดียวกัน แต่ยังไม่เสร็จสิ้น โครงการวิจัยต่อเนื่องที่ไม่ส่งรายงานความก้าวหน้า อาจส่งผลไม่ได้รับการพิจารณาของทุนในปีถัดมา โครงการวิจัยที่ต้องการผู้ร่วมมือจากภาคเอกชน แต่ไม่มีหลักฐานแสดงความร่วมมือดังกล่าว - ฯลฯ ศ

- อาจกำหนดเป้าหมายและทิศทางงานวิจัยบางรายการ การสนับสนุนจากอง์กร - อาจกำหนดเป้าหมายและทิศทางงานวิจัยบางรายการ ควรมีหน่วยงานซึ่งสามารถช่วยหาข้อมูล หาช่องทาง หรือประสานงานให้นักวิจัย เพื่อให้นักวิจัยสามารถใช้ประโยชน์เป็นข้อมูลส่วนหนึ่งในการเขียนโครงการขอทุน หรือมีความมั่นในในการเขียนโครงการขอทุน เช่น ประสานงานกับผู้ที่จะใช้ผลงาน สามารถมองงานวิจัยแปรงให้ใช้ประโยชน์ได้อย่างจริงจัง ฯลฯ ร่วมช่วยเสริมบรรยากาศที่เอื้อต่อการวิจัย รวมถึงการให้กำลังใจ และส่งเสริมพัฒนานักวิจัย เช่น การจัดหาเครื่องมือวิจัย การจัดประชุมพัฒนาศักยภาพนักวิจัย ฯลฯ ศ

ตัวอย่างการวิจัย ผลิตภัณฑ์ใช้ภาย นอกให้ครบวงจร

ใช้ความรู้ความสามารถและความมุ่งมั่น ความสำเร็จใด ๆ จะไม่ไกลเกินฝัน