ระบบการคลังและประเด็นสำคัญของสถานการณ์ด้านการคลังของประเทศญี่ปุ่น

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ทิศทางการดำเนินงานกองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา
Advertisements

การคลังและนโยบาย การคลัง
วิกฤตเศรษฐกิจ และ ผลกระทบต่อแรงงาน
กระชุ่มกระชวย ( ) ทศวรรษแห่งการเติบโตสูงสุด :
ยุทธศาสตร์ชาติ เพื่อการพัฒนาที่อยู่อาศัย
สมชัย จิตสุชน สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย 16 กุมภาพันธ์ 2550
“สถานการณ์การเงินที่อยู่อาศัย”
สถานการณ์การเงินที่อยู่อาศัย
เตรียมพร้อมกายใจ เพื่อวัยเกษียณ. เตรียมพร้อมกายใจ เพื่อวัยเกษียณ.
การบูรณาการของนโยบายการคลัง ( )
กระแสโลกาภิวัตน์กับบทบาทด้านการคลัง (9-1-55)
การกำหนดนโยบายการคลังและบูรณาการของ 4 หน่วยงานหลัก ( )
กองทุนพัฒนาไฟฟ้ากับ การพัฒนาชุมชนในพื้นที่รอบโรงไฟฟ้า
นโยบายการคลัง Fiscal Policy
CHAPTER-15 “NATIONAL DEBT”
04/04/60 การประชุมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การจัดทำงบประมาณจากเงินรายได้ของมหาวิทยาลัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ วันที่ 13 กุมภาพันธ์ 2556 เวลา
โครงสร้างภาษีประเทศไทย
การเปิดเผยข้อมูลและ นโยบายการบัญชี
Free Trade Area Bilateral Agreement
เตรียมพร้อมกายใจ เพื่อวัยเกษียณ.
กฎหมายการเงิน การคลังทั่วไป
กฎหมายเกี่ยวกับ การเงินการคลัง
“การบริหารรายได้รายจ่ายของรัฐบาล”
ภาพรวมแผนผังเชิงกลยุทธ์ (Strategy Map)
กันยายน 2555 ผศ. ดร. ยุทธนา เศรษฐปราโมทย์
ด้วยปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
การทำความเข้าใจกับงบทดลอง
งานกลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการบริหารการจัดการฯ
ขอบเขตความรับผิดชอบของรัฐบาลท้องถิ่น
นายกสมาคมธุรกิจบ้านจัดสรร
โครงการเงินอุดหนุนทั่วไป ภายใต้แผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง 2555
เกณฑ์ Benchmark ใหม่ ของกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ
ความสำคัญของการออม เพื่อเกษียณอายุ
กฎหมายเกี่ยวกับ การเงินการคลัง
มาตรการภาครัฐในการสนับสนุน การวิจัยและพัฒนา (R&D)
การประชุมชี้แจง การกันเงินไว้เบิกเหลื่อมปี และ การขยายเวลาเบิกจ่ายเงิน
ผลสรุปการแบ่งกลุ่มย่อยประชุมวิชาการเชิงปฏิบัติการ
ขอบเขตความรับผิดชอบของรัฐบาลท้องถิ่น
ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ กองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ ของขวัญปีใหม่ในปี 2547
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ กองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง พ.ศ สำนักงานสถิติแห่งชาติกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สิงหาคม.
การบริหารประสิทธิภาพ ด้านการเงินการคลัง ปีงบประมาณ 2551 รพ. บ้านลาด ณ 25 มิถุนายน 2551.
การบริหารประสิทธิภาพ ด้านการเงินการคลัง ปีงบประมาณ 2551 รพ. บ้านลาด ณ 31 สิงหาคม 2551.
การ บริหารประสิทธิภาพ ด้านการเงินการคลัง ปีงบประมาณ 2552 รพ. บ้านลาด ณ 30 เมษายน 2552.
การเงินธุรกิจ BUSINESS FINANCE
บทที่ 8 การภาษีอากร และการรักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ.
กระชุ่มกระชวย (ค.ศ ) (พ.ศ )
รัฐวิสาหกิจไทย: อดีต ปัจจุบัน และอนาคต
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ( ASEAN Economic Community: AEC )
1 รายงานสถานะกองทุน และผลการดำเนินงาน กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ ซึ่งจดทะเบียนแล้ว.
ด้านสัญญาณ เตือน คำอธิบาย ด้านการผลิต ภาคการเกษตร สาขา การเกษตร ขยายตัว พิจารณาจากมูลค่า ผลผลิตรวมด้านการเกษตรเพิ่มขึ้น จากปีก่อนร้อยละ สาขาปศุ
การบริหารงานจังหวัดลพบุรีแบบ บูรณาการ กพร.- TRIS 18/05/2549.
การค้าการเงินโลกยุคใหม่ AEC และเศรษฐกิจประเทศไทย
สมาคมผู้เพาะเลี้ยงปลาไทย
“การพัฒนาสำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัด สู่การเป็นองค์กรสมรรถนะสูง”
ทิศทางเศรษฐกิจไทยภายใต้ความไม่แน่นอนปี 2554
นโยบายการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนในโรงเรียนขนาดเล็ก
ปรับค่าแรง300 บาทมีผลกระทบ เศรษฐกิจประเทศไทยจริง?
กลุ่มที่ 3 หัวหน้าฝ่าย / เจ้าหน้าที่
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทนปัจจัยการผลิต (ค่าเช่า, ดอกเบี้ย, ค้าจ้าง ,กำไร) ปัจจัยการผลิต (ที่ดิน, ทุน, แรงงาน, ผู้ประกอบการ)
แนวคิดเศรษฐกิจในยุคโลกาภิวัตน์ที่สำคัญ
ดุลการชำระเงิน Balance of payment
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชน
การสร้างวินัยทางการเงินการคลัง 24 กุมภาพันธ์ 2557
แหล่งที่มาและการใช้ไปของเงินทุนในสหกรณ์ เครดิตยูเนี่ยน
อนาคตเศรษฐกิจไทย ก้าวไกลสู่ตลาดทุน
บทที่ 2 รายได้ประชาชาติ
มติ คปก. 3/2549 วันที่ 29 กันยายน 2549
บทที่ 5 ภาวะการเงิน.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ระบบการคลังและประเด็นสำคัญของสถานการณ์ด้านการคลังของประเทศญี่ปุ่น 2017年4月2日(日) ระบบการคลังและประเด็นสำคัญของสถานการณ์ด้านการคลังของประเทศญี่ปุ่น สำนักนโยบายการคลัง สำนักงานเศรษฐกิจการคลัง นายมยูร บุญยะรัตน์ 22 ตุลาคม 2552 ห้องประชุม 501 กระทรวงการคลัง ธนาคารกลาง

ลำดับการบรรยาย 1. ลักษณะเฉพาะของระบบการคลังของประเทศญี่ปุ่น 2. สาเหตุที่ภาระหนี้สูงเหมือนภูเขาฟูจิเกิดจากอะไร 3. ทำไมญี่ปุ่นยังสามารถบริหารจัดการหนี้จำนวนมหาศาลได้ 4. อะไรถือเป็นข้อกังวลของรัฐบาลญี่ปุ่น 5. การปรับโครงสร้างด้านการคลัง 6. เครื่องมืออื่นนอกจากระบบงบประมาณ สภาพเมืองโตเกียวหลังแพ้สงครามโลก โตเกียวในปัจจุบัน (ย่านชิบูย่า)

1. ระบบการคลังประเทศญี่ปุ่น 1.1 ลักษณะเฉพาะ นโยบายเศรษฐกิจ อาจกล่าวได้เป็นระบบที่ไม่เสรีและมีการควบคุมจากรัฐบาลสูง โดย 3 หน่วยงานหลักคือ Economic Planning Agency สังกัดคณะรัฐมนตรี Ministry of Finance (Financial Sector) Ministry of Economy Trade and Industry (METI) (Real Sector) กระทรวงการคลัง เป็นศูนย์รวมอำนาจด้านการเงิน มีอำนาจทั้งการจัดทำงบประมาณ การเก็บภาษี การจัดการด้านทรัพย์สินของรัฐบาล รวมทั้ง เป็นผู้ถือทุนสำรองระหว่างประเทศ ควบคุมอัตราแลกเปลี่ยน จัดทำดุลบัญชีเดินสะพัด ควบคุมธนาคารกลาง รวมทั้งมีอำนาจมากกว่าฝ่ายการเมือง มีการใช้ระบบนอกงบประมาณที่มีขนาดใหญ่กว่างบประมาณปกติ 2-3 เท่า ปีงบประมาณ เริ่มต้น 1 เมษายน

1. ระบบการคลังประเทศญี่ปุ่น 1.1 ลักษณะเฉพาะ ปี 2001 ได้รวมเอาสำนักงบประมาณทำให้ข้าราชการมีบทบาทเหนือฝ่ายการเมือง Bank of Japan ทำหน้าที่เพียงควบคุมนโยบายการเงิน ฝ่ายกำกับมีหน่วยงาน Financial Service Agency ซึ่งไม่เพียงกำกับเพียงแค่ ธนาคาร แต่รวมไปถึงตลาดทุน ประกัน อีกด้วย ย่านโอไดบะ

1.2 โครงสร้างงบประมาณ (ปี 2008) รายรับร้อยละ 30 มาจากการออกพันธบัตร ขนาดงบประมาณ 27 ล้านล้านบาท รายจ่ายร้อยละ 24 ใช้สำหรับชำระหนี้ Source : Japan, MoF

1.3 การเปลี่ยนแปลงสัดส่วนการจัดสรรงบประมาณในระยะ 50 ปี ภาระการชำระมีสูงขึ้น การจัดสรรภาษีให้ท้องถิ่น มีขนาดเท่าเดิม สัดส่วนของรายจ่าย ทั่วไปลดลง การจัดสรรให้แก่ ประกันสังคมเพิ่มขึ้น

1.4 แนวโน้มของรายจ่ายและรายได้จากภาษี ระดับหนี้ที่สูงสุดในโลกสำหรับประเทศอุตสาหกรรม 148% ของ GDP และเท่ากับรายได้จากภาษีรวมกัน10ปี ภาระหนี้ใหญ่กว่าหนี้สาธารณะของไทยประมาณ 60 เท่า

2. สาเหตุหลักของการเพิ่มพันธบัตรคงค้างจำนวน 390 ล้านล้านเยนระหว่างปี 1990-2008 - งบประมาณ Public work และ ประกันสังคม จำนวน 150 ล้านล้านเยน - รายได้จากภาษีลดลง จำนวน 140 ล้านล้านเยน + การขาดดุลงบประมาณ 50 ล้านล้านเยนในปี 1990 + การรับโอนหนี้จาก การรถไฟแห่งชาติ และการแก้ปัญหาเรื่องหนี้ไม่ก่อให้เกิดรายได้ จำนวน 50 ล้านล้านเยน รวม 390 ล้านล้านเยน Source : Japan, MoF

2.3 Gross government debt to GDP เปรียบเทียบกับประเทศในกลุ่ม OECD

3. สาเหตุที่ญี่ปุ่นไม่เกิดวิกฤตด้านการคลัง 2. การจัดพอร์ตเน้นพันธบัตร 1. BoP ที่เกินดุลมาตลอด 20 ปี 3. อายุของพันธบัตรที่ยาว Source : Japan, MoF

3.1 Net debt outstanding เมื่อหักภาระหนี้ด้วยสินทรัพย์ที่มีอยู่ ภาระหนี้ของญี่ปุ่นก็ไม่ได้สูงเกินไปนัก Source : Japan, MoF

3.2 แม้ว่าจะขาดดุลอย่างหนักแต่ทรัพย์สินทางการเงินในภาคครัวเรือนยังเพียงพอต่อการขาดดุลในภาครัฐบาล แต่ GAP มีแนวโน้มลงเรื่อย ๆ และอัตราดอกเบี้ยที่ต่ำใกล้ระดับศูนย์ Source : Japan, MoF

3.3 เมื่อดอกเบี้ยลดต้นทุนทางการคลังก็ลดเช่นกัน รวมทั้งหนี้รัฐบาลทั้งหมดถือด้วยคนในประเทศ Source : Japan, MoF

ปัญหาอะไรที่การคลังญี่ปุ่น อย่างไรก็ตาม ญี่ปุ่นคงหลีกเลี่ยงไม่ได้ ในการปรับปรุงโครงสร้างทางการคลัง และลดภาระหนี้ ลูกชายโคอิซุมิ นายฮาโตยาม่า นายกรัฐมนตรี นายฟูจิอิ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง นายโอซาว่า ผู้มีอิทธิพล ในพรรค DJP ปัญหาอะไรที่การคลังญี่ปุ่น มีความกังวลมากกว่า นางโนดะ อดีตรัฐมนตรีด้านกิจการผู้บริโภค Source : http://jamesinjapan.worldpress.com http://chicago2016supporters.wordpress.com นางโคอิเกะ อดีตรัฐมนตรีกลาโหม

4. Aging Society ปัจจุบันร้อยละ 30 เป็นคนอายุเกิน 65 Source : Japan, MoF ภาระจะตกสู่คนวัยทำงานอนาคตมากขึ้นเรื่อย ๆ

4.1 ปี 2050 ร้อยละ 40 ของคนญี่ปุ่นจะเป็นคนอายุเกิน 65 อาซะโชริว นักซูโม่ชาวมองโกเลีย ฟูกุชิม่า มิซึโฮ รัฐมนตรีด้านกิจการผู้บริโภค อาหารปลอดภัยและปัญหา ด้านการลดลงของจำนวน ประชากร Source : Japan, MoF

4.2 ระดับภาษีในปัจจุบันผลกระทบจะตกอยู่ในรุ่นลูกหลานมาก Source : Japan, MoF

4.3 การลดงบประมาณในประเทศอุตสาหกรรม FLOW STOCK สหรัฐอเมริกา จัดทำงบประมาณสมดุล (Federal Government) ภายในปี 2012 - กลุ่มประเทศอียู ฐานะทางการคลังตาม SNA เป็นบวกภายในปี 2010 (เยอรมัน ฝรั่งเศส อิตาลี) หนี้ไม่ควรเกินร้อยละ 60 ของ GDP อังกฤษ การกู้จะกระทำได้ต่อเมื่อเป็นการกู้เพื่อการลงทุนเท่านั้น หนี้ภาคสาธารณะสุทธิ ไม่ควรเกินร้อยละ 40 Source : Japan, MoF

5. การปรับปรุงโครงสร้างด้านการคลังในประเทศญี่ปุ่น ระยะที่ 1 (FY2001-FY2006) นโยบายของ Koizumi ระยะที่ 2 (FY2007-early 2010s) ดุลการคลังเบื้องต้นเป็นบวกภายในปี 2010 ระยะที่ 3 (early 2010s-2015) ลดระดับการเพิ่มของ Debt to GDP Source : Japan, MoF ชินคันเซ็นรุ่นแรก เปิดใช้สำหรับโอลิมปิกปี 1964 ชินคันเซ็น รุ่น 700

5. การปรับปรุงโครงสร้างด้านการคลังในประเทศญี่ปุ่น (2) เป้าหมายคือการทำดุลการคลังเบื้องต้นเป็นบวกทั้งงบประมาณรัฐบาลกลางและท้องถิ่นภายในปี 2011 ซึ่งมี GAP 16.5 ล้านล้านเยน Source : Japan, MoF

5.2 สาระสำคัญของงบประมาณปี 2009 เน้นการแก้ไขปัญหาชีวิตประชาชน(333 Billions) ลดค่าธรรมเนียมประกันการจ้างงาน ร้อยละ 0.2 ขยายขอบเขตสิทธิประโยชน์ของประกันการว่างงาน สนับสนุนที่อยู่อาศัยสำหรับผู้ถูกเลิกจ้างงาน สนับสนุนการเพิ่มแพทย์และโรงพยาบาล รวมทั้ง เฮลิคอปเตอร์ สนับสนุนการมีบุตร เช่น ฟรีค่าตรวจ สำรองจ่าย เพิ่มอำนาจให้กับท้องถิ่น ขยายการจัดสรรงบประมาณให้ท้องถิ่นเพิ่มอีก 1 ล้านล้านเยน เพิ่มความสามารถในการขยายตัวทางเศรษฐกิจ เพิ่มการวิจัยพัฒนาเพื่อการนำไปสู่การรับรางโนเบล เพิ่มความร่วมมือระหว่าง เกษตร การค้าและอุตสาหกรรม สร้างตาข่ายทางสังคม (Social Safety Net) เพื่อรองรับปัญหาทางเศรษฐกิจ ให้การสนับสนุน เงินทุนหมุนเวียนแก่บริษัท เล็ก กลาง ใหญ่ เพิ่มวงเงินที่รัฐบาลสามารถถือหุ้นภาคเอกชนเป็น 10 ล้านล้านเยน Source : Japan, MoF

5.2 สาระสำคัญของงบประมาณปี 2009 (2) นโยบายใจถึงแต่ยืดหยุ่นในการตัดลดภาษี (Bold and Flexible tax cut) ขยายเวลามาตรการทางภาษีเพื่อที่อยู่อาศัย ลดภาษีสำหรับรถยนต์ประหยัดพลังงาน ลดภาษีนิติบุคคลสำหรับ SMEs จากร้อยละ 22 เป็นร้อยละ 18 มาตรการทางภาษีส่งเสริมการผลิตและการบริโภคสินค้าประหยัดพลังงาน แจกเงิน นโยบายเงินช่วยเหลือ 12000 เยน รถประหยัดพลังงานลดภาษี มีเครื่องใช้ไฟฟ้าเก่าแล้วซื้อใหม่ได้ส่วนลด

5.3 มาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจในระยะสั้น มาตรการเร่งด่วน (สิงหาคม 2008) มาตรการทางการคลัง 12 ล้านล้านเยน (ร้อยละ 2 ของ GDP) สหรัฐอเมริกา 1.1 of GDP 13.4 ล้านล้านเยน (กุมภาพันธ์) อังกฤษ 1.4 % of GDP 2.7 ล้านล้านเยน (พฤศจิกายน) ฝรั่งเศส 1.3 % of GDP 3.3 ล้านล้านเยน (พฤศจิกายน) เยอรมัน 2.0 % of GDP 6.4 ล้านล้านเยน (พฤศจิกายน) EU 1.5% of GDP (พฤศจิกายน) มาตรการทางการเงิน 63 ล้านล้านเยน มาตรการเงินโดยกระทรวงการคลัง!

6.Special Account (Quasi Fiscal) 6.1 Fiscal Investment and Loan Program (FILP) มาตรการอุดหนุนเงินกู้ดอกเบี้ยต่ำหรือบางกรณีไม่มีดอกเบี้ยตามนโยบายของรัฐบาลในกิจการด้านสาธารณูปโภค (บางครั้งเพื่ออุตสาหกรรม) เริ่มต้น ตั้งแต่ปี 1875 จากระบบการ Pool เงินฝากเพื่อพัฒนาประเทศ มีการพัฒนาอย่างต่อเนื่องรวมทั้งการ Financing ในสงคราม เป็นหนึ่งในนโยบายการคลังเพื่อกำหนดทิศทางการลงทุนแก่ภาคเอกชนและสร้างผลกระทบภายนอก (Externality) FLIP ต้องได้รับการอนุมัติจากสภา Diet เนื่องจากเป็นการใช้ทรัพยากรทางการคลัง ขนาดใหญ่เป็น 2-3 เท่าของงบประมาณ กิจการที่ได้รับการสนับสนุนต้องเป็นหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับรัฐ เช่น The Government Housing Loan Corporation People’s Finance Corporation The EXIM Bank of Japan Japan Highway Public Corporation Central Japan International Airport สนามบิน Nagoya Source : Japan, MoF,FILP

6.2 กลไกการทำงานของ FILP แหล่งเงินของ FILP อัตราดอกเบี้ย Fiscal Loan Fiscal Loan Fund หรือ เงินจาก Special Account เป็นเงินงบประมาณ Postal Saving, Pension Reserve, Postal Life Insurance Industrial Investment กำไรจากรัฐวิสาหกิจ เช่น NTT, Japan Tobacco, JBIC Government Guarantee รัฐบาลค้ำประกันการออกพันธบัตรของ FILP อัตราดอกเบี้ย อัตราดอกเบี้ยใกล้เคียงกับอัตราพันธบัตรรัฐบาลญี่ปุ่น เพื่อเป็นการหลีกเลี่ยงการแข่งขันกับภาคเอกชน มักเป็นการออกพันธบัตรในระยะยาวที่เอกชนไม่สามารถออกได้ ศูนย์มะเร็งจังหวัดเอฮิเมะ Source : Japan, MoF,FLIP

6.3 ระบบโครงสร้างของ FILP บังคับเงินฝากจากไปรษณีย์และกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ หลังปฎิรูป ใช้ระบบตลาดและเน้นการออก พันธบัตรมากขึ้น Source : Japan, MoF,FILP

6.3.2 ระบบการทำงานของ FILP Source : Japan, MoF,FILP

6.3.3 ข้อแตกต่างระหว่างการใช้เงิน FILP และ เงินจากงบประมาณ ข้อสำคัญของโครงการจะต้องให้ผลตอบแทนมีความเป็นไปได้ทางการเงิน Source : Japan, MoF,FILP

6.4 กลุ่มเป้าหมายของ FILP โครงการบ้านและที่อยู่อาศัย ร้อยละ 30 ของบ้านในญี่ปุ่นได้รับการสนับสนุนจาก Government Housing Loan Corporation ธุรกิจ SMEs โครงการถนนและทางด่วน สนามบิน การศึกษา การเกษตร ป่าไม้และ การประมง การพัฒนาด้านอุตสาหกรรมและเทคโนโลยี การพัฒนาท้องถิ่น การให้เงินกู้ ผ่าน JBIC และ World Bank รวมทั้ง ชินคันเซ็น JBIC ให้กู้สร้างรถไฟในอินเดีย สนามบินคันไซ Source : Japan, MoF,FLIP

6.5 ขนาดของ FILP หลังจากการปฏิรูป และการใช้เงินเน้นในโครงการเพื่อสังคมมากขึ้นเรื่อย ๆ Source : Japan, MoF,FILP

6.6 ผลการดำเนินงานของ FILP ยังคงมีกำไร การพัฒนาโครงสร้างเมืองในจังหวัดนาโกย่า คลังสำรองน้ำมันในจังหวัดนางาซากิ Source : Japan, MoF,FILP