การชี้แจงภาพรวม แนวทางการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๗ โดย ผศ.ดร.ประวิตร นิลสุวรรณากุล กรรมการ ค.ต.ป. วันพุธที่ ๓๐ เมษายน ๒๕๕๗ ณ ห้องมิราเคิลแกรนด์ C โรงแรมมิราเคิล แกรนด์ คอนเวนชั่น
หัวข้อบรรยาย ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วย การตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ มติ ครม. เมื่อ ๑ ตุลาคม ๒๕๕๖ อำนาจหน้าที่ ค.ต.ป. แผนรองรับการดำเนินงานตามมติ ครม. (แผน ๕ ปี) นโยบายการตรวจสอบและประเมินผล ภาคราชการ แนวทางการตรวจสอบและประเมินผล ภาคราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๗ กลไกการตรวจสอบและประเมินผล ภาคราชการ การส่งรายงานระหว่างปี พ.ศ. ๒๕๕๗ พร้อมกับรายงานประจำปี พ.ศ. ๒๕๕๗ ผลการสอบทานที่ผ่านมา รูปแบบรายงานผลการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ
๑. ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ (ค ๑. ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ (ค.ต.ป.) ระเบียบ ค.ต.ป. พ.ศ. ๒๕๔๘ ระเบียบ ค.ต.ป. ฉบับที่ ๒ พ.ศ. ๒๕๕๐ ระเบียบ ค.ต.ป. ฉบับที่ ๓ พ.ศ. ๒๕๕๒
ที่มา คณะกรรมการการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ (ค.ต.ป.) ระบบการควบคุมการบริหารราชการแผ่นดิน “หมวด ๓ การบริหารราชการเพื่อให้เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจของรัฐ” มติคณะรัฐมนตรีวันที่ ๒ มีนาคม ๒๕๔๗ ให้สำนักงาน ก.พ.ร. พิจารณา จัดวางระบบการตรวจสอบ ภาคราชการใหม่ให้สอดคล้อง กับการพัฒนาระบบราชการ และระบบการบริหารการคลัง ภาครัฐด้วยระบบ อิเล็กทรอนิกส์ (GFMIS) ตลอดจนหลักการบริหาร จัดการบ้านเมืองที่ดีตามพระ ราชกฤษฎีกาว่าด้วย หลักเกณฑ์และวิธีการบริหาร กิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. ๒๕๔๖ กลไกควบคุมภายใน (หน่วยงานกลาง) ผู้ตรวจการแผ่นดิน กลไกควบคุมภายนอก 3 ผู้ตรวจราชการ สนร. คณะ กรรมาธิการ คณะกรรมการ ตรวจสอบ และประเมินผล ภาคราชการ (ค.ต.ป.) ผู้ตรวจราชการ ผู้ตรวจสอบภายใน ระดับกระทรวง กรม ส.ก.พ.ร. ศาล ปกครอง สงป. ส.ก.พ. สศช. ปปท. กรมบัญชีกลาง กลไกควบคุมภายใน (ภายในองค์การ) คตส. ปปช. ปปง. คณะรัฐมนตรี กลไกการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการของ ค.ต.ป. คณะอนุกรรมการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ เกี่ยวกับการกำหนดแนวทาง วิธีการ การตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ รายงาน ผลการตรวจสอบ และประเมินผล ภาคราชการ คณะอนุกรรมการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ กลุ่มจังหวัด คณะอนุกรรมการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ กลุ่มกระทรวง คณะกรรมการตรวจสอบและประเมินผลประจำกระทรวง คณะอนุกรรมการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการเฉพาะกิจเกี่ยวกับการ กำหนดแนวทาง วิธีการการบูรณาการระบบการตรวจสอบและประเมินผลของ หน่วยงานกลางที่อยู่ในกำกับของราชการฝ่ายบริหาร ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ พ.ศ. ๔๘,๕๐,๕๒ ส่วนราชการมีการกำกับดูแลตนเองที่ดี สร้างความน่าเชื่อถือและความมั่นใจ แก่สาธารณชนต่อผลการดำเนินงานของ ส่วนราชการว่ามีการกำกับดูแลอย่างรอบคอบและมีประสิทธิภาพ ยกระดับขีดสมรรถนะ การเรียนรู้ และศักยภาพการพัฒนาอย่างยั่งยืนของส่วนราชการ
องค์ประกอบของคณะกรรมการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ (ค.ต.ป.) (ตามระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการตรวจสอบฯ พ.ศ. ๒๕๔๘ และแก้ไขเพิ่มเติม ฉบับที่ ๓ พ.ศ. ๒๕๕๒) ๑. ๒. ๓. ๔. ๕. ๖. ๗. ๘. ๙. ๑๐. ๑๑. รัฐมนตรีซึ่งคณะรัฐมนตรีแต่งตั้ง ปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี ปลัดกระทรวงการคลัง ปลัดกระทรวงมหาดไทย ผู้อำนวยการสำนักงบประมาณ เลขาธิการคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ เลขาธิการคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน อธิบดีกรมบัญชีกลาง กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิซึ่งคณะรัฐมนตรีแต่งตั้งจากบุคคลซึ่งได้รับการสรรหาจำนวนไม่น้อยกว่าเจ็ดคนแต่ไม่เกินสิบคน เลขาธิการคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ รองเลขาธิการคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการที่เลขาธิการคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการมอบหมาย ประธานกรรมการ กรรมการ กรรมการและเลขานุการ กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ
๒. อำนาจหน้าที่ของ ค.ต.ป. อำนาจหน้าที่ของ ค.ต.ป. ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ วางนโยบาย แนวทางการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ และประเด็นหัวข้อการตรวจสอบ และประเมินผล ๑ ๒ ให้ความเห็นชอบแนวทางการตรวจสอบและประเมินผลของคณะอนุกรรมการและหน่วยงาน กลางที่มีภารกิจด้านการตรวจสอบฯ ส่งเสริม ผลักดัน สอบทาน และเสนอแนะมาตรการให้ส่วนราชการดำเนินการเป็นไป ตามวัตถุประสงค์ของการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการและหลักการบริหาร กิจการบ้านเมืองที่ดี ๓ อำนาจหน้าที่ของ ค.ต.ป. ๔ จัดทำรายงานผลการปฏิบัติงานพร้อมให้ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการตรวจสอบและ ประเมินผล ต่อ นายกรัฐมนตรี และ ครม. อย่างน้อยปีละ ๒ ครั้ง ตามระเบียบ สำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการตรวจสอบฯ พ.ศ. ๒๕๔๘ ติดตามและประเมินผลการปฏิบัติตามข้อเสนอแนะของ ค.ต.ป. และ มติครม. ที่ เกี่ยวข้อง และรายงานต่อ นายกรัฐมนตรี และ ครม. ทราบเป็นระยะ ๕ ๖ แต่งตั้งคณะอนุกรรมการเพื่อปฏิบัติหน้าที่ ตามที่ ค.ต.ป. มอบหมาย ปฏิบัติการอื่นตามที่ ครม. มอบหมาย ๗
๓. นโยบายการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ ๑ เสริมสร้างความเข้มแข็งให้ส่วนราชการ โดยเฉพาะให้มีระบบการกำกับดูแลตนเองที่ดี ๒ ผลักดันการบริหารราชการให้บรรลุเป้าหมายของการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี ส่งเสริมการบูรณาการงานด้านการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ เช่น ระบบข้อมูล การติดตามและประเมินผล เป็นต้น ๓ ๔ สร้างความน่าเชื่อถือ และความมั่นใจแก่สาธารณชน ต่อการดำเนินงานของส่วนราชการ
๔. กลไกการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ ครม. ค.ต.ป. ประจำกระทรวง (๒๐ คณะ) รมต. อ.ค.ต.ป. กลุ่มจังหวัด (๔ คณะ) กลุ่มกระทรวง เกี่ยวกับการกำหนดแนวทาง วิธีการ การตรวจสอบฯ ด้านเศรษฐกิจ ด้านสังคม ด้านความมั่นคงและ การต่างประเทศ ด้านบริหาร และส่วนราชการไม่สังกัดฯ คณะที่ ๑ คณะที่ ๒ คณะที่ ๓ คณะที่ ๔ กระทรวงพลังงาน กระทรวงพาณิชย์ กระทรวงมหาดไทย กระทรวงยุติธรรม กระทรวงแรงงาน กระทรวงวัฒนธรรม กระทรวงวิทยาศาสตร์ฯ กระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงสาธารณสุข กระทรวงอุตสาหกรรม สำนักนายกรัฐมนตรี กระทรวงกลาโหม กระทรวงการคลัง กระทรวงการต่างประเทศ กระทรวงการท่องเที่ยวฯ กระทรวงการพัฒนาสังคมฯ กระทรวงเกษตรฯ กระทรวงคมนาคม กระทรวงทรัพยากรฯ กระทรวงเทคโนโลยี สารสนเทศฯ เฉพาะกิจ เกี่ยวกับการกำหนดแนวทางวิธีการ การบูรณาการฯ จำนวนรวม ๓๐ คณะ 8
การรายงานผลการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการตรวจสอบฯ พ.ศ. ๒๕๔๘ ข้อ ๑๓ (๔) ค.ต.ป. จัดทำรายงานผลการตรวจสอบ และประเมินผลภาคราชการ ปีละ ๒ ครั้ง รายงานผลการตรวจสอบ และประเมินผลภาคราชการ รอบประจำปี (๑๒ เดือน) รายงานผลการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ รอบระหว่างปี (๖ เดือน) คณะรัฐมนตรี
๕. ผลการสอบทานที่ผ่านมา ครม. ในการประชุมเมื่อวันที่ ๑ ตุลาคม ๒๕๕๖ ได้มีมติ รับทราบผลการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๕ และเห็นชอบกับข้อเสนอแนะ ดังนี้
๕. ผลการสอบทานที่ผ่านมา กรณีปกติ การตรวจราชการ ข้อค้นพบ แนวทางแก้ไข ผู้รับผิดชอบ รายงานสรุปผลในภาพรวมของการตรวจราชการแบบบูรณาการ ยังไม่สามารถบ่งชี้ถึงความสำเร็จของประเด็นนโยบายได้ ควรมีการปรับปรุงการรายงานผลการตรวจราชการแบบ บูรณาการให้สามารถสะท้อนถึงการบรรลุผลผลิต และผลลัพธ์ ที่ชัดเจน โดยเฉพาะการกำหนดตัวชี้วัดความสำเร็จของประเด็นนโยบาย (Policy Indicator) เพื่อให้เกิดผลสำเร็จต่อการขับเคลื่อนนโยบาย สำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี ผู้ตรวจราชการสำนักนายกรัฐมนตรี/กระทรวง/กรม ปลัดกระทรวง/อธิบดี แผนการตรวจราชการแบบบูรณาการยังไม่สามารถดำเนินการได้อย่างครบถ้วนและครอบคลุมทุกประเด็นนโยบายสำคัญที่ได้กำหนดไว้เท่าที่ควร ประสานกระทรวงต่าง ๆ ให้ส่งโครงการในแต่ละประเด็นนโยบายสำคัญให้มากขึ้นกว่าเดิม และให้ครอบคลุมประเด็นตามนโยบายสำคัญ สร้างแรงจูงใจเชิงบวก เช่น การกำหนดให้มีผลตอบแทนที่เป็นแรงจูงใจ เพื่อให้กระทรวงต่าง ๆ ส่งโครงการเข้าร่วมได้ครอบคลุมประเด็นนโยบายสำคัญที่ได้กำหนดไว้ หน่วยงานกลาง ที่เกี่ยวข้อง การจัดเก็บข้อมูลของหน่วยงานส่วนกลางยังไม่เป็นระบบ และฐานข้อมูลของการตรวจราชการยังไม่สามารถพัฒนาเชื่อมโยงระหว่างกันได้ทุกกระทรวง ควรพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเกี่ยวกับการตรวจราชการไว้ในเว็บไซต์สำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี และพัฒนาเพื่อเป็นเครื่องมือในการตรวจราชการโดยเชื่อมโยงการตรวจราชการของกระทรวงต่างๆ กับหน่วยรับตรวจในการรายงานผลการตรวจราชการ เพื่อให้มีการจัดเก็บข้อมูลอย่างเป็นระบบ
๕. ผลการสอบทานที่ผ่านมา กรณีปกติ ตรวจสอบภายใน ข้อค้นพบ แนวทางแก้ไข ผู้รับผิดชอบ ยังคงพบข้อจำกัดในการดำเนินงานด้านต่างๆ ที่เกี่ยวกับระบบบริหารจัดการภายในหน่วยงาน เช่นข้อบกพร่องด้านเอกสาร ควรมีการจัดฝึกอบรมให้ความรู้ด้านการตรวจสอบภายในให้กับเจ้าหน้าที่อย่างต่อเนื่อง ปลัดกระทรวง อธิบดี ผู้ว่าราชการจังหวัด ทักษะความชำนาญประสบการณ์ใน การตรวจสอบขาดความรู้ความเข้าใจในระเบียบและแนวปฏิบัติที่เกี่ยวข้อง การตรวจสอบยังคงเน้นการตรวจสอบการเงิน บัญชีและการปฏิบัติตามข้อกำหนดมากกว่าการตรวจสอบ การดำเนินงาน ซึ่งไม่สอดคล้องกับ การบริหารจัดการภาครัฐที่มุ่งเน้นผลสัมฤทธิ์ของงาน ส่วนราชการควรให้การสนับสนุนการพัฒนาทักษะความรู้เกี่ยวกับการตรวจสอบภายใน การประเมินผลเชิงวิเคราะห์ และเทคนิคการนำเสนอรายงานผล การตรวจสอบแก่เจ้าหน้าที่ที่ปฏิบัติงานตรวจสอบภายใน
๕. ผลการสอบทานที่ผ่านมา กรณีปกติ การควบคุมภายในและการบริหารความเสี่ยง ข้อค้นพบ แนวทางแก้ไข ผู้รับผิดชอบ การปฏิบัติงานด้านการควบคุมภายในยังไม่ได้รับการตอบสนองให้เป็นไปตามเป้าหมายเท่าที่ควร (พบในรอบ ๖ เดือน) ส่วนราชการควรมีการประชุมระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเรื่องการจัดวางระบบควบคุมภายใน กำหนดวัตถุประสงค์ ทิศทางของการดำเนินการให้ชัดเจน และกำหนดแนวทางในการติดตามผลรอบ ๖ เดือน ทั้งในระดับส่วนงานย่อยและระดับองค์กรเป็นระยะๆนอกเหนือจากการติดตามผล เมื่อสิ้นปีงบประมาณ ปลัดกระทรวง อธิบดี ผู้ว่าราชการจังหวัด พัฒนาระบบฐานข้อมูลของส่วนราชการและจังหวัดให้มีประสิทธิภาพเพื่อเป็นข้อมูลในการแก้ไขปัญหาที่เป็นรูปธรรม กระทรวงมหาดไทย รายงานผลการดำเนินงานตามแผนการปรับปรุงการควบคุมภายในของส่วนราชการและจังหวัดยังไม่เป็นไปในรูปแบบเดียวกัน ทำให้บางส่วนราชการ/จังหวัดขาดการระบุสาระสำคัญ ในการติดตามความก้าวหน้า (พบในรอบ ๖ เดือน) เห็นควรให้ ค.ต.ป. กำหนดแนวทางการรายงานผลการดำเนินงานตามแผนการปรับปรุงการควบคุมภายใน งวดก่อนรอบ ๖ เดือน ให้เป็นรูปแบบเดียวกัน พร้อมทั้งปรับปรุงคู่มือการสอบทาน ค.ต.ป.
๕. ผลการสอบทานที่ผ่านมา กรณีปกติ การควบคุมภายในและการบริหารความเสี่ยง ข้อค้นพบ แนวทางแก้ไข ผู้รับผิดชอบ เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบขาดความรู้ความเข้าใจด้านการควบคุมภายใน และมีการโยกย้ายบ่อย ทำให้การดำเนินงานขาดความต่อเนื่อง ส่งผลให้การจัดทำรายงานล่าช้าและขาดความสมบูรณ์ ครบถ้วน ควรเร่งรัดดำเนินการพิจารณากรอบอัตรากำลังของบุคลากรที่ปฏิบัติงานให้มีความเหมาะสม เพื่อให้การดำเนินงานของส่วนราชการเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ บรรลุวัตถุประสงค์และยุทธศาสตร์ของส่วนราชการ ควรจัดทำคู่มือแนวทางการปฏิบัติงานเกี่ยวกับการควบคุมภายในและ การบริหารความเสี่ยงไว้เป็นลายลักษณ์อักษร เพื่อให้เจ้าหน้าที่ที่จะ มารับงานต่อสามารถปฏิบัติงานได้อย่างต่อเนื่อง และสร้างวัฒนธรรม องค์กรแห่งการเรียนรู้ต่อไป ปลัดกระทรวง อธิบดี ผู้ว่าราชการจังหวัด การจัดทำแผนการปรับปรุงการควบคุมภายใน (ปอ.๓) ยังไม่เหมาะสมในบางประเด็น ได้แก่ กำหนดเวลาแล้วเสร็จไม่เหมาะสมกับกิจกรรม จัดทำแผนควบคุมในงานภารกิจสนับสนุนมากกว่าภารกิจหลัก ข้อสังเกตเรื่องความน่าเชื่อถือของรายงานภาพรวม ปอ.๓ จังหวัด กรมบัญชีกลาง ร่วมกับส่วนราชการและจังหวัดควรจัดให้มีการเพิ่มพูนความรู้ด้านการวางระบบการควบคุมภายใน การส่งเสริมความรู้ความเข้าใจกับเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องอย่างต่อเนื่องและสม่ำเสมอโดยเฉพาะในเรื่องการวิเคราะห์ความเสี่ยง การจัดทำแผนการปรับปรุงการควบคุมภายใน รวมถึงแนวทางการจัดภาพรวม ปอ.๓ ของกระทรวงและจังหวัดที่เหมาะสมต่อไป ทั้งนี้ อาจขอความร่วมมือกับสำนักงานการตรวจเงินแผ่นดินด้วย ผู้บริหารของส่วนราชการและจังหวัดควรให้ความสำคัญและเป็นผู้นำ ในการจัดวางระบบการควบคุมภายในและการวิเคราะห์จุดอ่อนความ เสี่ยงของภารกิจหลักและยุทธศาสตร์สำคัญ เพื่อเป็นการกระตุ้นและ ผลักดันการดำเนินงานด้านการควบคุมภายในให้ประสบผลสำเร็จและ เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารราชการ กรมบัญชีกลาง
๕. ผลการสอบทานที่ผ่านมา กรณีปกติ การปฏิบัติราชการตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ข้อค้นพบ แนวทางแก้ไข ผู้รับผิดชอบ การรายงานบางตัวชี้วัดมีเอกสาร หลักฐานอ้างอิงประกอบการรายงาน ไม่ครบถ้วน รวมทั้งไม่ระบุปัญหาอุปสรรคปัจจัยสนับสนุนการดำเนินงานและข้อเสนอแนะเพื่อการดำเนินการสำหรับ ปีต่อไป ส่วนราชการควรให้ความสำคัญในการจัดทำรายงานผลการปฏิบัติราชการตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ โดยเน้นย้ำให้ผู้รับผิดชอบตัวชี้วัดจัดทำรายงานผลการปฏิบัติราชการฯให้มีความครบถ้วนครอบคลุมตามแบบรายงานที่กำหนด ปลัดกระทรวง อธิบดี ผู้ว่าราชการจังหวัด ตัวชี้วัดยังไม่สะท้อนการทำงานแบบบูรณาการร่วมกันระหว่างส่วนราชการในกระทรวง ควรมีการกำหนดยุทธศาสตร์เป้าหมายและตัวชี้วัด ในภาพรวมของกระทรวงเพื่อบูรณาการการทำงานร่วมกัน
๕. ผลการสอบทานที่ผ่านมา กรณีปกติ รายงานการเงิน ข้อค้นพบ แนวทางแก้ไข ผู้รับผิดชอบ การเบิกจ่ายงบประมาณรายจ่าย ต่ำกว่าเป้าหมายที่คณะรัฐมนตรีกำหนด ควรพิจารณาวางระบบการเบิกจ่ายภาครัฐ ซึ่งประกอบด้วยระบบการจัดสรรงบประมาณประจำปี ระบบการจัดซื้อจัดจ้าง และระบบอื่นที่เกี่ยวข้องใหม่ให้เหมาะสม กระทรวงการคลัง สำนักงบประมาณ กรมบัญชีกลาง ควรทบทวนและวิเคราะห์เพื่อหาสาเหตุของปัญหา การเตรียมความพร้อมการจัดซื้อจัดจ้าง และวางระบบการติดตามความก้าวหน้าในการดำเนินงานโครงการ ตลอดจนเร่งรัดการเบิกจ่ายงบประมาณให้ได้ตามเป้าหมาย ปลัดกระทรวง อธิบดี กระทรวงมหาดไทย ผู้ว่าราชการจังหวัด รายงานการเงินมีข้อคลาดเคลื่อนในสาระสำคัญ ติดตามเร่งรัดการดำเนินงานที่มีข้อคลาดเคลื่อนในสาระสำคัญโดยเร็ว เพื่อมิให้เกิดผลกระทบต่อแผนงาน โครงการของหน่วยงาน
๕. ผลการสอบทานที่ผ่านมา กรณีปกติ รายงานการเงิน ข้อค้นพบ แนวทางแก้ไข ผู้รับผิดชอบ การบันทึกรายการทางการเงินในระบบ GFMIS ยังมีความคลาดเคลื่อน ควรกำหนดนโยบายการบัญชีหรือวิธีการปรับปรุงบัญชีในระบบ GFMIS เพื่อให้ได้บทสรุปเกี่ยวกับรายการคลาดเคลื่อนของสินทรัพย์ ซึ่งเป็นผลสะสม ยกมาจากงวดก่อน ๆ ของงบการเงิน กรมบัญชีกลาง เจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานด้านการเงินการบัญชียังมีปัญหาความรู้ความเข้าใจในหลักการและวิธีปฏิบัติทางการบัญชี และระบบ GFMIS โดยในบางหน่วยงานได้มอบหมายเจ้าหน้าที่ที่มีความรู้ความสามารถไม่ตรงกับงานที่ปฏิบัติ ควรมีแผนปฏิบัติการ (Action Plan) เพื่อพัฒนาเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานการเงินการบัญชีทั้งแผนระยะสั้นและระยะยาว สำนักงาน ก.พ. สำนักงบประมาณ สำนักงาน ก.พ.ร. กระทรวงการคลัง กระทรวงมหาดไทย กรมบัญชีกลางควรจัดอบรมเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานและผู้ตรวจสอบภายในให้ทั่วถึงอย่างต่อเนื่อง
๕. ผลการสอบทานที่ผ่านมา การสอบทานกรณีพิเศษ ข้อค้นพบ แนวทางแก้ไข ผู้รับผิดชอบ การรายงานผลยังไม่เป็นไปตามรูปแบบและแนวทางการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการที่กำหนด และขาดข้อมูลในเรื่องการวัดผลเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพที่ชัดเจน เพียงพอต่อการสอบทานและการวัดผลในด้านประสิทธิภาพและประสิทธิผล ส่วนราชการควรให้ความสำคัญกับการจัดทำข้อมูล การดำเนินการของโครงการในเชิงประจักษ์ เช่น ข้อมูลเชิงปริมาณ ผลการปฏิบัติงานและผลการใช้จ่ายงบประมาณ ข้อมูลการดำเนินการตามตัวชี้วัด เป็นต้น เพื่อให้สามารถวัดผลในมิติประสิทธิภาพและประสิทธิผลของโครงการได้อย่างชัดเจน ส่วนราชการเจ้าของโครงการ การสอบทานของ ค.ต.ป. ประจำกระทรวง มุ่งเน้นในเรื่องการสอบทานผลการดำเนินงานของหน่วยงานและการใช้จ่ายงบประมาณให้เป็นไปตามแผนแต่ไม่ได้ให้ความสำคัญกับการสอบทานผลประโยชน์ที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานของโครงการนั้นๆ ต่อประชาชนหรือสังคมว่าเป็นไปตามเป้าหมายมากน้อยเพียงใด การสอบทานโครงการของ ค.ต.ป.ประจำกระทรวง จะต้องวางระบบการติดตามประเมินผลโครงการที่สามารถชี้ให้เห็นถึงประโยชน์และความคุ้มค่าของโครงการที่ประชาชนจะได้รับให้ชัดเจน ค.ต.ป.ประจำกระทรวง
๕. ผลการสอบทานที่ผ่านมา การสอบทานกรณีพิเศษ ข้อค้นพบ แนวทางแก้ไข ผู้รับผิดชอบ การดำเนินงานโครงการล่าช้าเนื่องจากความไม่พร้อมของพื้นที่ การจัดสรรงบประมาณไม่สอดคล้องกับความต้องการของประชาชน จังหวัดควรจัดลำดับความสำคัญของโครงการให้สอดคล้องกับยุทธศาสตร์จังหวัด มีการทำประชาคม และไม่เปลี่ยนแปลงโครงการโดยไม่จำเป็น ผู้ว่าราชการจังหวัด กระทรวงมหาดไทย กนจ. ควรเตรียมความพร้อมในการดำเนินกิจกรรมโครงการไว้ล่วงหน้าเพื่อเริ่มงานได้ทันทีเมื่อได้รับงบประมาณ หน่วยงานส่วนกลางควรเป็นพี่เลี้ยงในการจัดทำแผนยุทธศาสตร์ของจังหวัดให้มีความชัดเจน สำนักงบประมาณ สศช. ขาดการบูรณาการการดำเนินงานระหว่างหน่วยงานและการเชื่อมโยงฐานข้อมูลระหว่างกัน ทั้งในส่วนกลาง และระดับพื้นที่ รวมถึงภาคเอกชนที่เกี่ยวข้อง สร้างกลไกความร่วมมือระหว่างหน่วยงานต่างๆ และควรพิจารณาให้มีช่องทางให้ประชาชนและภาคเอกชนมีส่วนร่วมในการกำหนด แนวทางการพัฒนาจังหวัด ให้ความสำคัญกับการจัดทำฐานข้อมูลที่เกี่ยวกับการดำเนินโครงการด้านต่างๆ ให้ทำระบบให้เป็นฐานเดียวกันทั้งในส่วนกลางและระดับพื้นที่ แผนงานโครงการไม่แสดงข้อมูลที่ชัดเจน ทำให้ไม่สามารถประเมินผลสำเร็จตามเป้าหมายที่กำหนดไว้ และความยั่งยืนของโครงการ ควรให้ความสำคัญในการระบุเป้าหมายและประโยชน์ของโครงการที่ชัดเจน รวมทั้งแผนบริหารจัดการหลังโครงการแล้วเสร็จ และควรติดตามผลลัพธ์ของโครงการ
๖. คณะรัฐมนตรีในการประชุม เมื่อวันที่ ๑ ตุลาคม ๒๕๕๖ รับทราบ รายงานผลการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๕ รายงานประเมินตนเองของคณะกรรมการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ คณะต่าง ๆ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๕ เห็นชอบตามที่คณะกรรมการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการเสนอ มติ ความเห็นเพิ่มเติม ๑ คณะกรรมการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการควรมีการปรับวิธีการตรวจสอบและประเมินผล ภาคราชการเพิ่มขึ้นใน ๒ มิติ คือ มิติด้านการเงิน โดยมุ่งเน้นการตรวจสอบและประเมินผลด้านประสิทธิภาพในการใช้จ่ายงบประมาณ ความสามารถในการลดต้นทุนและลดความซ้ำซ้อนใน การดำเนินการ และความสามารถในการกระตุ้นเศรษฐกิจ และ มิติด้านการบริหารจัดการ โดยคำนึงถึงความโปร่งใส ประสิทธิภาพและประสิทธิผลของการบริหารจัดการ ซึ่งควรกำหนดตัวชี้วัดให้ชัดเจน และใช้เป็นกลไกในการบริหารจัดการ การตรวจสอบและประเมินผลควรพิจารณาขยายไปถึงราชการส่วนท้องถิ่นและควรมีการวางมาตรการในการตรวจสอบที่กระชับมากขึ้น ฝ่ายเลขานุการของคณะกรรมการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ ควรมีพื้นฐานความรู้ที่หลากหลายและสามารถตรวจสอบในเชิงลึกได้ ๒ ๓
๗. แผนการดำเนินงาน ตามมติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ ๑ ตุลาคม ๒๕๕๖ ๗. แผนการดำเนินงาน ตามมติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ ๑ ตุลาคม ๒๕๕๖ การดำเนินการ ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๗ ๒๕๕๘ ๒๕๕๙ ๒๕๖๐ ๒๕๖๑ ปรับปรุงแนวทางการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ ประเด็น การสอบทานกรณีปกติเป็นสองมิติ คือ มิติด้านบริหารจัดการและมิติด้านการเงิน มิติด้านการบริหารจัดการ ความโปร่งใส P ประสิทธิภาพและประสิทธิผลของการบริหารจัดการ มิติด้านการเงิน การตรวจสอบและประเมินผลด้านประสิทธิภาพในการใช้จ่ายงบประมาณ ความสามารถในการลดต้นทุนและลดความซ้ำซ้อนในการดำเนินการ ความสามารถในการกระตุ้นเศรษฐกิจ ขยายการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการให้ครอบคลุมองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ศึกษาและแก้ไขกฎหมายที่เกี่ยวข้อง วางแนวทางการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการสำหรับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น รับฟังข้อคิดเห็นร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ดำเนินการตรวจสอบและประเมินผลองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น สัมมนาให้ความรู้เกี่ยวกับการตรวจสอบและประเมินผล ภาคราชการแก่ผู้ที่เกี่ยวข้อง
๘. แนวทางการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๗
ที่มา ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ข้อ ๔ ได้กำหนดให้การตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการจะต้องเป็นไปเพื่อก่อให้เกิดความมั่นใจแก่สาธารณะได้ถึงประสิทธิผล ความคุ้มค่า ประสิทธิภาพ และคุณภาพของการบริหารงาน ตลอดจนการปรับปรุงขีดสมรรถนะและศักยภาพ การเสริมสร้างการเรียนรู้และการพัฒนาอย่างยั่งยืน โดยการจัดวางระบบการควบคุมภายในของส่วนราชการที่เพียงพอ เหมาะสม และมีกลไกกำกับดูแลที่น่าเชื่อถือ ข้อ ๑๓ ได้กำหนดให้คณะกรรมการมีอำนาจหน้าที่ในการวางนโยบาย แนวทางการตรวจสอบและประเมินผลในภาคราชการ รวมถึงกำหนดประเด็นหัวข้อการตรวจสอบและประเมินผล ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ พ.ศ. ๒๕๔๘ ค.ต.ป. จัดทำ เพื่อให้คณะกรรมการตรวจสอบและประเมินผลคณะต่าง ๆ ใช้เป็นแนวทาง ในการสอบทานผลการปฏิบัติราชการของส่วนราชการและจังหวัด ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๗ ต่อไป แนวทางการตรวจสอบและ ประเมินผลภาคราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๗ เพื่อให้ส่วนราชการและจังหวัดได้ใช้เป็น แนวปฏิบัติ ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๗
ระยะเวลาการรายงานผลการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ แนวทางการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๗ อ.ค.ต.ป. กลุ่มกระทรวง อ.ค.ต.ป. กลุ่มจังหวัด ค.ต.ป. ค.ต.ป. ประจำกระทรวง ผลการประเมินตนเอง (รายคณะ) ๑ ชุด จัดส่งพร้อมรายงานผลการตรวจสอบฯ รอบ ๖ เดือน และรอบ ๑๒ เดือน ผลการประเมินตนเอง (รายคณะ) ๑ ชุด ผลการประเมินตนเอง (รายบุคคล) ๑ ชุด จัดส่งพร้อมรายงานผลการตรวจสอบฯ รอบ ๖ เดือน และรอบ ๑๒ เดือน ฝ่ายเลขานุการ ค.ต.ป. รวบรวมสรุปผล จัดทำเป็นร่างรายงานผลการประเมินตนเองของคณะกรรมการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ คณะต่าง ๆ
แนวทางการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๗ การสอบทาน กรณีปกติ การบริหารจัดการ มิติต้าน มิติด้านการเงิน ประเด็นการตรวจสอบ และประเมินผลภาคราชการ การปฏิบัติราชการตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ การตรวจราชการ การควบคุมภายในและการบริหารความเสี่ยง การตรวจสอบภายใน รายงานการเงิน การสอบทาน กรณีพิเศษ การคัดเลือกโครงการ ของ ค.ต.ป. ประจำกระทรวง การคัดเลือกโครงการ ของ อ.ค.ต.ป. กลุ่มจังหวัด โครงการสำคัญตามยุทธศาสตร์กระทรวงในสามอันดับแรก ที่สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์ประเทศที่ ค.ต.ป. กำหนด อย่างน้อย ๑ โครงการ โครงการสำคัญตามยุทธศาสตร์จังหวัด ที่สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์ประเทศที่ ค.ต.ป. กำหนด อย่างน้อย ๑ โครงการ คัดเลือกยุทธศาสตร์และโครงการภายใต้ยุทธศาสตร์กระทรวงที่มีความสำคัญสามอันดับแรก อย่างน้อย ๑ โครงการ โครงการภายใต้แผนปฏิบัติราชการประจำปีของกลุ่มจังหวัดและจังหวัดที่มีความสำคัญอยู่ในสามอันดับแรก อย่างน้อย ๑ โครงการ ร่วมกับ อ.ค.ต.ป. กลุ่มกระทรวง กำหนดประเด็นร่วมที่กลุ่มกระทรวงให้ความสำคัญ เพื่อให้ ค.ต.ป. ประจำกระทรวงคัดเลือกโครงการตามยุทธศาสตร์กระทรวงที่สอดคล้องกับประเด็นร่วมของกลุ่มกระทรวง อย่างน้อย ๑ โครงการ ให้ ค.ต.ป. ประจำกระทรวง และ อ.ค.ต.ป. กลุ่มจังหวัด คัดเลือกโครงการที่จะสอบทานกรณีพิเศษตามหลักเกณฑ์ที่ ค.ต.ป. กำหนด และ เสนอรายชื่อโครงการที่จะสอบทานกรณีพิเศษต่อ ค.ต.ป. ภายในพฤษภาคม ๒๕๕๗
กรอบแนวทางการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๗ (กรณีปกติ ) เป็นการสอบทานการปฏิบัติงานของส่วนราชการ ระดับกระทรวง กรม และจังหวัด ประกอบด้วย ๒ มิติ ครอบคลุมประเด็นการตรวจใน ๕ เรื่อง รายงานผล มิติต้านการบริหารจัดการ คู่มือเพื่อการสอบทาน ค.ต.ป. ประจำกระทรวง อ.ค.ต.ป. กลุ่มกระทรวง การปฏิบัติราชการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ (คู่มือ ปี พ.ศ. ๒๕๕๐) อ.ค.ต.ป. กลุ่มจังหวัด ๒. การตรวจราชการ (คู่มือ ปี พ.ศ. ๒๕๕๒) คู่มือเพื่อการสอบทานและ มุ่งสู่การประเมินผล ค.ต.ป. ๓. การควบคุมภายในฯ (คู่มือ ปี พ.ศ. ๒๕๕๕) ทั้งนี้ คู่มือการบริหารความเสี่ยงอยู่ระหว่างดำเนินการ ค.ต.ป. ประจำกระทรวง ส่วนราชการ อ.ค.ต.ป. กลุ่มกระทรวง ๔. การตรวจสอบภายใน (อยู่ระหว่างดำเนินการ) มิติด้านการเงิน จังหวัด อ.ค.ต.ป. กลุ่มจังหวัด ๕. รายงานการเงิน (อยู่ระหว่างดำเนินการ)
กรอบแนวทางการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๗ (กรณีปกติ ) การสอบทาน กรณีปกติ มิติด้านการบริหารจัดการ มิติด้านการเงิน เน้นการตรวจสอบและประเมินผลในการใช้จ่ายงบประมาณ ความน่าเชื่อถือ และความสอดคล้องตามหลักการ มาตรฐานและนโยบายบัญชีภาครัฐของรายงานการเงิน คำนึงถึงความโปร่งใส ประสิทธิภาพ และประสิทธิผลของการปฏิบัติงานของส่วนราชการและจังหวัด ๓. การควบคุมภายในและการบริหารความเสี่ยง การตรวจราชการ ๒. การตรวจสอบภายใน (รวมถึงการสอบทาน e-Auction) ๔. การปฏิบัติราชการตามคำ รับรองการปฏิบัติราชการ ๒. งบการเงิน งบแสดงฐานะทางการเงิน งบแสดงผลการดำเนินงานทางการเงิน หมายเหตุประกอบงบการเงิน ๑. งบประมาณ ประเด็นในการวิเคราะห์ การวิเคราะห์ในแนวดิ่ง การวิเคราะห์ในแนวนอน การวิเคราะห์อัตราส่วน การวิเคราะห์ความโปร่งใส ประสิทธิภาพ วิเคราะห์ได้จากรายงานผลคำรับรองฯ ในมิติภายใน (การพัฒนาองค์กร) การวิเคราะห์ประสิทธิผล วิเคราะห์ได้จากรายงานผลคำรับรองฯ ในมิติภายนอก
ค.ต.ป.ประจำกระทรวง อ.ค.ต.ป.กลุ่มกระทรวง การสอบทานกรณีปกติ มิติด้านการบริหารจัดการ การตรวจราชการ ประเด็นพิจารณา สอบทานผลสัมฤทธิ์ของแผนงาน/โครงการสำคัญ ๆ ในการนำไปสู่การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ตามแผนการตรวจราชการ กรม กระทรวง สำนักนายกรัฐมนตรี เพื่อให้เกิดความเชื่อมั่นอย่างพอประมาณว่า ข้อมูล เอกสารรายงาน หลักฐาน การปฏิบัติ การรายงานากรตรวจราชการมี ความครบถ้วนครอบคลุม น่าเชื่อถือ ข้อเสนอแนะสามารถนำไปใช้ประโยชน์ ให้ข้อเสนอแนะต่อการปฏิบัติงาน เอกสารหลักฐานในการสอบทาน ค.ต.ป.ประจำกระทรวง อ.ค.ต.ป.กลุ่มกระทรวง อ.ค.ต.ป.กลุ่มจังหวัด รอบ ๖ เดือน แผนการตรวจราชการกระทรวง และกรม(ถ้ามี) แผนปฏิบัติราชการ ๔ ปี และแผนปฏิบัติราชการประจำปี กระทรวง และกรม(ถ้ามี) รายงานผลการตรวจราชการรายรอบ รอบ ๖ เดือน แผนการตรวจราชการแบบบูรณาการ แผนปฏิบัติราชการ ๔ ปี และแผนปฏิบัติราชการประจำปี รายงานผลการตรวจราชการแบบบูรณาการของผู้ตรวจราชการกระทรวง และของสำนักนายกรัฐมนตรี รายงานผลการตรวจราชการแบบบูรณาการในพี้นที่กลุ่มจังหวัดและจังหวัด รอบ ๑๒ เดือน รายงานผลการตรวจราชการประจำปีของกระทรวง และกรม(ถ้ามี) รอบ ๑๒ เดือน รายงานผลการตรวจราชการแบบบูรณาการของผู้ตรวจราชการกระทรวง และของสำนักนายกรัฐมนตรี รายงานผลการตรวจราชการแบบบูรณาการของผู้ตรวจราชการประจำปี รายงานผลการตรวจราชการแบบบูรณาการในพี้นที่กลุ่มจังหวัดและจังหวัด
ค.ต.ป.ประจำกระทรวง อ.ค.ต.ป.กลุ่มกระทรวง การสอบทานกรณีปกติ มิติด้านการบริหารจัดการ การตรวจสอบภายใน ประเด็นพิจารณา เพื่อให้เกิดความเชื่อมั่นอย่างพอประมาณว่า การปฏิบัติงานตรวจสอบภายในมีความถูกต้อง เหมาะสม เป็นจริงตามหลักการ มาตรฐาน ระเบียบข้อบังคับและแนวปฏิบัติที่เกี่ยวข้อง เนื้อหาของข้อมูลในเอกสารและรายงานฯ ได้จัดทำและปฏิบัติโดยไม่ขัดต่อความถูกต้องเป็นจริง มีความครบถ้วนน่าเชื่อถือ ประเด็นปัญหาและสิ่งที่ตรวจพบโดยผู้ตรวจสอบภายในที่มีความสำคัญและต้องปรับปรุง ได้มีการดำเนินการในเวลาและวิธีเหมาะสมหรือไม่ เพียงใด เพื่อให้ข้อเสนอแนะที่เป็นประโยชน์ในการปรับปรุงและพัฒนาการปฏิบัติงานตรวจสอบภายใน เอกสารหลักฐานในการสอบทาน ค.ต.ป.ประจำกระทรวง อ.ค.ต.ป.กลุ่มกระทรวง อ.ค.ต.ป.กลุ่มจังหวัด รอบ ๖ เดือน รายงานระดับกรมและภาพรวมกระทรวง ดังนี้ กฎบัตร (กรณีจัดทำครั้งแรก หรือมีการเปลี่ยนแปลง) แผนการตรวจสอบภายใน รายงานผลการตรวจสอบภายใน ผลการตรวจสอบด้านการเงิน การบัญชี การปฏิบัติตามกฎระเบียบและข้อบังคับ และรายงานผลการตรวจสอบการดำเนินงาน รายงานผลการตรวจสอบการจัดซื้อจัดจ้างด้วยe-Auctionถ้ามี รอบ ๖ เดือน กฎบัตร (กรณีจัดทำครั้งแรก หรือมีการเปลี่ยนแปลง) แผนการตรวจสอบภายใน/แผนการตรวจสอบประจำปีงบประมาณ รายงานผลการตรวจสอบภายใน ครั้งที่ ๑ รายงานผลการตรวจสอบด้านการเงิน การบัญชี การปฏิบัติตามกฎระเบียบและข้อบังคับ และรายงานผลการตรวจสอบการดำเนินงาน รายงานผลการตรวจสอบการจัดซื้อจัดจ้างด้วยe-Auctionถ้ามี รอบ ๑๒ เดือน รายงานระดับกรมและภาพรวมกระทรวง ดังนี้ รายงานผลการตรวจสอบภายใน ประจำปีงบประมาณ รายงานผลการตรวจสอบด้านการเงิน การบัญชี การปฏิบัติตามกฎระเบียบและข้อบังคับ และรายงานผลการตรวจสอบการดำเนินงาน รายงานผลการตรวจสอบการจัดซื้อจัดจ้างด้วยe-Auction ถ้ามี แบบประเมินตนเอง รอบ ๑๒ เดือน รายงานผลการตรวจสอบภายใน ครั้งที่ ๒,๓ รายงานผลการตรวจสอบด้านการเงิน การบัญชี การปฏิบัติตามกฎระเบียบและข้อบังคับ และรายงานผลการตรวจสอบการดำเนินงาน รายงานผลการตรวจสอบการจัดซื้อจัดจ้างด้วยe-Auction ถ้ามี แบบประเมินตนเอง
การควบคุมภายในและการบริหารความเสี่ยง การสอบทานกรณีปกติ มิติด้านการบริหารจัดการ การควบคุมภายในและการบริหารความเสี่ยง ประเด็นพิจารณา เพื่อสอบทานถึงความเพียงพอ เหมาะสม และประสิทธิภาพระบบการควบคุมภายในของส่วนราชการที่จัดทำตามข้อ ๖ ของระเบียบคตง.โดยพิจารณาความครบถ้วนสมบูรณ์ของรายงาน ความน่าเชื่อถือของรายงาน และประสิทธิภาพของ การควบคุมภายใน ให้ข้อเสนอแนะที่เป็นประโยชน์เพื่อการปรับปรุง แก้ไข และพัฒนาการปฏิบัติงานควบคุมภายในและการบริหาร ความเสี่ยงให้เหมาะสม เอกสารหลักฐานในการสอบทาน ค.ต.ป.ประจำกระทรวง อ.ค.ต.ป.กลุ่มกระทรวง อ.ค.ต.ป.กลุ่มจังหวัด รอบ ๖ เดือน รายงานผลการดำเนินงานตามแผนการปรับปรุงการควบคุมภายในของงวดก่อน (ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๖) ของส่วนราชการและภาพรวมกระทรวง รอบ ๖ เดือน รายงานผลการดำเนินงานตามแผนการปรับปรุง การควบคุมภายในของงวดก่อน (ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๖) ของสำนักงานจังหวัด รอบ ๑๒ เดือน รายงานการควบคุมภายในและการบริหารความเสี่ยงของส่วนราชการและภาพรวมกระทรวง ดังนี้ แบบ ปอ. ๑ แบบ ปอ. ๒ แบบ ปอ. ๓ และแบบ ปส. รอบ ๑๒ เดือน รายงานการควบคุมภายในและการบริหาร ความเสี่ยงของสำนักงานจังหวัด ดังนี้ แบบ ปอ. ๑ แบบ ปอ. ๒ แบบ ปอ. ๓ และแบบ ปส.
การปฏิบัติราชการตามคำรับรอง ค.ต.ป.ประจำกระทรวง อ.ค.ต.ป.กลุ่มกระทรวง การสอบทานกรณีปกติ มิติด้านการบริหารจัดการ การปฏิบัติราชการตามคำรับรอง ประเด็นพิจารณา เน้นเรื่อง ความโปร่งใส ประสิทธิภาพ และประสิทธิผล เพื่อให้เกิดความเชื่อมั่นอย่างพอประมาณว่า ข้อมูล เอกสารหลักฐานและการปฏิบัติตรงตามรายงานผลการปฏิบัติ ราชการโดยไม่ขัดต่อความเป็นจริง และสอดคล้องกับคำรับรองการปฏิบัติราชการ โดยพิจาณาในประเด็น ความครบถ้วนสมบูรณ์ของรายงานผลการปฏิบัติราชการ ความถูกต้องแม่นยำและน่าเชื่อถือของข้อมูลรายงาน ประโยชน์ของการดำเนินงาน และความเหมาะสมของตัวชี้วัด ให้ข้อเสนอแนะที่เป็นประโยชน์เพื่อการปรับปรุง แก้ไข และพัฒนาการปฏิบัติราชการตามคำรับรอง เอกสารหลักฐานในการสอบทาน ค.ต.ป.ประจำกระทรวง อ.ค.ต.ป.กลุ่มกระทรวง อ.ค.ต.ป.กลุ่มจังหวัด รอบ ๖ เดือน คำรับรองการปฏิบัติราชการของส่วนราชการ รายงานผลการประเมินตนเองตามคำรับรองการปฏิบัติราชการรอบ ๖ เดือนของส่วนราชการ รอบ ๖ เดือน คำรับรองการปฏิบัติราชการของจังหวัด รายงานผลการประเมินตนเองตามคำรับรองการปฏิบัติราชการรอบ ๖ เดือนของจังหวัด รอบ ๑๒ เดือน รายงานผลการประเมินตนเองตามคำรับรองการปฏิบัติราชการรอบ ๑๒ เดือนของส่วนราชการ รอบ ๑๒ เดือน รายงานผลการประเมินตนเองตามคำรับรอง การปฏิบัติราชการรอบ ๑๒ เดือนของจัหวัด หมายเหตุ ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๗ ส.ก.พ.ร. ให้ส่วนราชการรายงานรอบ ๖ เดือนภายใน พ.ค. ๕๗ สำหรับจังหวัดให้ยกเว้นการรายงานรอบ ๖ เดือน
ค.ต.ป.ประจำกระทรวง อ.ค.ต.ป.กลุ่มกระทรวง การสอบทานกรณีปกติ มิติด้านการเงิน รายงานการเงิน ประเด็นพิจารณา เพื่อให้เกิดความเชื่อมั่นอย่างพอประมาณว่า เนื้อหาและข้อมูลรายงานการเงิน หรือผลปฏิบัติงานที่แสดงเป็นตัวเลขทางการเงิน ได้จัดทำขึ้นโดยไม่ขัดต่อความถูกต้อง และเป็นไปตามหลักการมาตรฐานการบัญชีภาครัฐและระเบียบแนวปฏิบัติที่เกี่ยวข้อง มีความสอดคล้องและสมเหตุสมผลตามผลการดำเนินงานที่เกิดขึ้นจริงและแผนที่กำหนดไว้ ประเด็นปัญหาสำคัญและต้องปรับปรุงที่เกี่ยวข้องกับการจัดทำรายงานการเงินและการดำเนินการงานอื่นที่เกี่ยวข้องได้มีการดำเนินการด้วยความถูกต้องและเหมาะสมหรือไม่ เพียงใด เพื่อให้ข้อเสนอแนะที่เป็นประโยชน์ในการปรับปรุงและพัฒนาการจัดทำรายงานการเงิน ตลอดจนการดำเนินงานอื่นที่เกี่ยวข้อง เอกสารหลักฐานในการสอบทาน ค.ต.ป.ประจำกระทรวง อ.ค.ต.ป.กลุ่มกระทรวง อ.ค.ต.ป.กลุ่มจังหวัด รอบ ๖ เดือน สอบทานจากงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๗ ของจังหวัด (งบประมาณที่จังหวัดเป็นเจ้าของงบประมาณ (กรมจังหวัด)) รายงานการเบิกจ่ายงบประมาณจากระบบการบริหารการเงินการคลังภาครัฐแบบอิเล็กทรอนิกส์ (GFMIS) เอกสาร หลักฐาน และข้อมูลต่าง ๆ ตามที่ อ.ค.ต.ป. กลุ่มจังหวัดร้องขอ รอบ ๖ เดือน รายงานระดับกรมและภาพรวมกระทรวง ดังนี้ รายงานการเบิกจ่ายงบประมาณจากระบบการบริหารการเงินการคลังภาครัฐแบบอิเล็กทรอนิกส์ (GFMIS) เอกสาร หลักฐาน และข้อมูลต่าง ๆ ตามที่ ค.ต.ป. ประจำกระทรวงร้องขอ รอบ ๑๒ เดือน รายงานระดับกรมและภาพรวมกระทรวง ดังนี้ รายงานการเบิกจ่ายงบประมาณจากระบบการบริหารการเงินการคลังภาครัฐแบบอิเล็กทรอนิกส์ (GFMIS) งบการเงิน งบแสดงฐานะทางการเงิน งบแสดงผลการดำเนินงานทางการเงิน หมายเหตุประกอบงบการเงิน ทั้งนี้ ให้ใช้ข้อมูลจากระบบ GFMIS ของช่วงเวลาที่ ๑ - ๑๔ โดยไม่จำเป็นต้องรอผลการตรวจสอบจาก สตง. รอบ ๑๒ เดือน สอบทานจากงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๗ ของจังหวัด (งบประมาณที่จังหวัดเป็นเจ้าของงบประมาณ (กรมจังหวัด)) รายงานการเบิกจ่ายงบประมาณจากระบบการบริหารการเงินการคลังภาครัฐแบบอิเล็กทรอนิกส์ (GFMIS) งบการเงิน งบแสดงฐานะทางการเงิน งบแสดงผลการดำเนินงานทางการเงิน หมายเหตุประกอบงบการเงิน ทั้งนี้ ให้ใช้ข้อมูลจากระบบ GFMIS ของช่วงเวลาที่ ๑ - ๑๔ โดยไม่จำเป็นต้องรอผลการตรวจสอบจาก สตง.
๙. การส่งรายงานระหว่างปี (รอบ ๖ เดือน) พ. ศ ๙. การส่งรายงานระหว่างปี (รอบ ๖ เดือน) พ.ศ. ๒๕๕๗ พร้อมกับรายงานประจำปี (รอบ ๑๒ เดือน) พ.ศ. ๒๕๕๗ เนื่องจากส่วนราชการหลายแห่ง ได้รับผลกระทบจากสถานการณ์ การชุมนุมทางการเมือง ทำให้ไม่สามารถปฏิบัติงานได้ตามปกติ ซึ่งส่ง ผลกระทบ ต่อการจัดทำรายงานผลการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการประจำปี งบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๗ ดังนั้น เพื่อเป็นการบรรเทาผลกระทบที่เกิดขึ้น จึงขอให้คณะกรรมการ ตรวจสอบและประเมินผลคณะต่าง ๆ จัดส่งรายงานผลการตรวจสอบและ ประเมินผลภาคราชการ ระหว่างปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๗ (รอบ ๖ เดือน) พร้อมกับการส่งรายงานผลการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ ประจำปี งบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๗ (รอบ ๑๒ เดือน)
สรุป ระยะเวลาการรายงานผลการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๗ ค.ต.ป. รมต. (ต้นฉบับ) ปลัด (สำเนา) ๓๐ ม.ค. ๕๘ รายงานประจำปี เม.ย-พ.ค. ๕๗ ๒๙ ธ.ค. ๕๗ รายงานระหว่างปี ประจำกระทรวง อ.ค.ต.ป. กลุ่มกระทรวง ครม. ๑ เม.ย. ๕๘ ๒๗ ก.พ. ๕๘ กรณีส่วนราชการ ค.ต.ป. รายงานประจำปี รายงานระหว่างปี อ.ค.ต.ป. กลุ่มจังหวัด ครม. ๑ เม.ย. ๕๘ กรณีจังหวัด พร้อมรอบ ๑๒ เดือน หรือตามที่ อ.ค.ต.ป. กลุ่มจังหวัดกำหนด ครั้งที่ ๑ : ๒๘ พ.ย. ๕๗ ครั้งที่ ๒ : ๒๙ ธ.ค. ๕๗ (ควบคุมภายใน ๑๐ ม.ค. ๕๘) ครั้งที่ ๑ : ๓๐ ธ.ค. ๕๗ ครั้งที่ ๒ : ๒๘ ก.พ. ๕๘ ครั้งที่ ๑ (สามประเด็น) การเงิน / คำรับรองฯ / โครงการสำคัญภายใต้แผนยุทธศาสตร์กลุ่มจังหวัดและจังหวัดฯ ครั้งที่ ๒ (สี่ประเด็น) ตรวจราชการ / ตรวจสอบภายใน / ควบคุมภายใน /โครงการที่สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ประเทศ
๑๐. รูปแบบรายงานผลการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ ค.ต.ป. ประจำกระทรวง (หัวข้อที่ ๗-๙ ให้รายงานผลทั้งรอบ ๖ และ ๑๒ เดือน) ชื่อกระทรวง ลักษณะสำคัญของส่วนราชการ (วิสัยทัศน์ พันกิจ เป้าประสงค์ประเด็น ยุทธศาสตร์ เป้าหมายผลผลิต โครงสร้างอัตรากำลัง งบประมาณ รายจ่าย) ผลการปฏิบัติราชการของส่วน ราชการ (โดยแสดงตามคำรับรองการปฏิบัติ ราชการที่สำคัญ) รายงานทางการเงิน รายงานทางการเงินที่จัดส่งให้ ค.ต.ง และกรมบัญชีกลาง ผลงานเด่นที่สำคัญตามยุทธศาสตร์ วิธีการดำเนินงาน ข้อค้นพบและข้อเสนอแนะจากผล การดำเนินงาน (รอบ ๖ และ ๑๒ เดือน) (๑) รายงานความก้าวหน้าของผลการดำเนินงาน ตามมติคณะรัฐมนตรีและตามข้อเสนอแนะ ของ ค.ต.ป. ประจำกระทรวง/การดำเนินงาน รอบ ๖ เดือนที่ผ่านมา ผลการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ มิติด้านบริหารจัดการ (ตรวจราชการ ตรวจสอบ ภายใน ควบคุมภายในฯ และคำรับรองฯ) มิติด้านการเงิน การสอบทานกรณีพิเศษ ปัญหา อุปสรรคหรือข้อจำกัด ข้อสังเกต หรือข้อเสนอแนะ อื่น ๆ ตามที่เห็นควรเพิ่มเติม การลงนามรับรองรายงาน ภาคผนวก
๑๐. รูปแบบรายงานผลการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ อ.ค.ต.ป. กลุ่มกระทรวง ( หัวข้อ ๒(๓)-๒(๕) ให้รายงานผลทั้งรอบ ๖ และ ๑๒ เดือน) ๒. ผลการดำเนินงานตรวจสอบและประเมินผลภาค ราชการ สรุปภาพรวมรายงานผลการดำเนินงานของ กระทรวงในกลุ่ม (๑) กระทรวงในกุลุ่ม (๒) ยุทธศาสตร์ของกระทรวงในกลุ่ม (๓) สรุปภาพรวมของรายงานความก้าวหน้า ดำเนินงาน ตามมติคณะรัฐมนตรีและตาม ข้อเสนอแนะของ ค.ต.ป. ประจำกระทรวงใน กลุ่มกระทรวง (๔) ข้อค้นพบและข้อเสนอแนะ มิติด้านบริหารจัดการ (ตรวจราชการ ตรวจสอบ ภายใน ควบคุมภายในฯ และคำรับรองฯ) มิติด้านการเงิน การสอบทานกรณีพิเศษ (๕) ปัญหาอุปสรรค หรือข้อจำกัด บทคัดย่อสำหรับผู้บริหาร สรุปผลการปฏิบัติราชการของกระทรวงในกลุ่ม ข้อค้นพบข้อเสนอแนะ ปัญหาอุปสรรคหรือข้อจำกัด ๓. อื่น ๆ (ตามที่เห็นควรเพิ่มเติม) ๔. การลงนามรับรองรายงาน ๕. ภาคผนวก
๑๐. รูปแบบรายงานผลการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ อ.ค.ต.ป. กลุ่มจังหวัด (หัวข้อที่ ๒.๒ให้รายงานผลทั้งรอบ ๖ และ ๑๒ เดือน) ๒. ผลการดำเนินงานตรวจสอบและประเมินผลภาค ราชการ ๒.๑ จังหวัดและยุทธศาสตร์ของจังหวัดในกลุ่ม ๒.๒ สรุปภาพรวมรายงานผลการดำเนินงาน (รอบ ๖ เดือนและ ๑๒ เดือน) รายงานความก้าวหน้าของผลการ ดำเนินงาน ตามมติคณะรัฐมนตรีและ ตามข้อเสนอแนะ/การดำเนินงานรอบ ๖ เดือนที่ผ่านมา ผลการตรวจสอบและประเมินผลภาค ราชการ มิติด้านบริหารจัดการ (ตรวจราชการ ตรวจสอบภายใน ควบคุมภายในฯ และคำรับรองฯ) มิติด้านการเงิน การสอบทานกรณีพิเศษ (๓) ปัญหาอุปสรรค หรือข้อจำกัด บทคัดย่อสำหรับผู้บริหาร สรุปผลการปฏิบัติราชการของจังหวัดในกลุ่ม ข้อค้นพบข้อเสนอแนะ ปัญหาอุปสรรคหรือข้อจำกัด ๓. อื่น ๆ (ตามที่เห็นควรเพิ่มเติม) ๔. การลงนามรับรองรายงาน ๕. ภาคผนวก
ขอขอบคุณทุกท่าน สามารถดาวน์โหลดเอกสารประกอบการบรรยายได้ที่ เว็บไซต์ของสำนักงาน ก.พ.ร. ที่ www.opdc.go.th หัวข้อ เอกสารและสื่อ หรือที่ http://kortorpor.com/main.php หัวข้อ เอกสารดาวโหลด