“Weather is one of the most important factor that influence

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
จัดทำโดย 1.ด.ช.พนาดร เขื่อนแก้ว ม.2/5 เลขที่ 6
Advertisements

ปริศนาภูมิศาสตร์ไทย ชุดที่1 โดยครูแป้น ส. ภ. ตรัง spa. ac
ลักษณะภูมิศาสตร์ภาคใต้
พายุหมุนเขตร้อน TROPICAL STORMS.
เมฆ(Clouds)และฝน           “เมฆ” อากาศเคลื่อนตัวสูงขึ้นถึงระดับที่อากาศมีอุณหภูมิ ต่ำ จนอากาศอิ่มตัวด้วยไอน้ำ ไอน้ำจะเกิดการควบแน่นเป็น ละอองน้ำหรือระเหิดกลับเป็นผลึกน้ำแข็งขนาดเล็ก.
เรื่อง ลักษณะทางกายภาพของภูมิภาคเอเชียตะวันตกเฉียงใต้ นำเข้าสู่บทเรียนและสรุปบทเรียน Company Logo.
กำแพงเมืองจีน (ที่มา :
ทัชมาฮาล (ที่มา : เรื่อง ลักษณะทางกายภาพของภูมิภาคเอเชียใต้ นำเข้าสู่บทเรียนและสรุปบทเรียน ทัชมาฮาล.
สภาพแวดล้อมทางกายภาพของโลก
Solar radiation รังสีที่แผ่ออกมาประกอบด้วย รังสีเอ๊กซ (X-ray) แกมมา (Gamma) อุลตราไวโอเลต (UV) คิดเป็นประมาณร้อยละ 9 ของพลังงานทั้งหมด นอกนั้นเป็นรังสีที่มองเห็นร้อยละ.
บทที่ 2 เรื่อง ลมฟ้าอากาศ
นางสาววิไลวรรณ อยู่เย็น
โดย อาจารย์ อนุกูล บูรณประทีปรัตน์
การไหลเวียนของบรรยากาศและน้ำในมหาสมุทร
เรื่อง จังหวัดสระบุรี เด็กชายอลังการ ตลุ่มทอง เลขที่ 18
ดวงอาทิตย์ขึ้นทางทิศตะวันออก เวลา น. ไปตกยังทิศตะวันตก เวลา 18
ลักษณะภูมิอากาศของทวีปแอฟริกา
คลื่นพายุซัดชายฝั่ง กลุ่มที่6.
โรงไฟฟ้าพลังงานลม.
น้ำและมหาสมุทร.
รายงาน วิชา ET694 (Solar Energy)
Clouds & Radiation.
เทคโนโลยีพลังงาน Solar storm (Communication)
ท่าเทียบเรืออ่าวสลัด ก.กูด
คาดหมายลักษณะอากาศ จรูญ เลาหเลิศชัย.
คุณครูโชคชัย บุตรครุธ
โรงเรียนปิยะบุตร์ อ.บ้านหมี่ จ.ลพบุรี
ลมและความชื้น By Arjan Ukrit Chaimongkon Demonstration School
Demonstration School University of Phayao
Months of the Year เดือนของปีนี้
โครงสร้างทางธรณีวิทยา
ปรากฏการณ์ลมฟ้าอากาศ
ความรู้พื้นฐานด้านทรัพยากรน้ำ
พลังงานลม.
ลักษณะภูมิอากาศของทวีปยุโรป
ลักษณะภูมิอากาศในทวีปยุโรป
การวิเคราะห์สภาพภูมิอากาศ
จังหวัดสตูล โดย นางสาวทิพากร เหร็บค่วนเคี่ยม
ตราด.
เมื่อแกนโลกเอียงจากเดิม 23
สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ส 41102
รายชื่อสมาชิกกลุ่ม ชมเชยที่ 4
10.3 ชนิดของอุทกภัย (1.) แบ่งตามสาเหตุการเกิด
El Nino ดั้งเดิมเป็นคำที่ชาวประมงเปรูใช้ เรียกปีที่มีการจับปลาในทะเลได้เป็นจำนวน มากกว่าปีอื่น ๆ แต่พื้นที่บกบริเวณด้าน ตะวันตกของมหาสมุทรแปซิฟิคเกิดภาวะแห้ง.
รายงานสถานการณ์น้ำประจำวัน 2 ตุลาคม 2557 ข้อมูล ณ เวลา น. www
Deep Low & Tropical Storm. Deep Low & Tropical Storm ( ต่อ )
จุมพฏ พงศ์ศักดิ์ศรี จุมพฏ พงศ์ศักดิ์ศรี
ข้อสังเกตสภาพอากาศแปรปรวน ประชุมสายวิทยาการอุตุนิยมวิทยา ครั้ง ที่ ๖ / ๕๗ วันที่ ๑๙ พฤศจิกายน ๒๕๕๗ ณ ห้องประชุม กขอ. คปอ.
ประวัติ พื้นที่บริเวณกรุงเทพมหานครในปัจจุบัน เดิมเป็นที่ตั้งของ เมืองธนบุรีศรีมหาสมุทร ชาวต่างชาติเรียกกันว่า " บางกอก " มาตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยา มีความสำคัญ.
ปัญหาและข้อเสนอแนะ เกี่ยวกับการใช้จ่ายเงินทดรองราชการ
บทที่ 7 เรื่อง พลังงานลม
การตรวจอากาศ การตรวจอากาศ ผิวพื้น เครื่องตรวจความ กดอากาศ.
ข้อมูลทั่วไป ที่ตั้ง อินโดนีเซียเป็นประเทศหมู่เกาะที่ใหญ่ที่สุดในโลก ประกอบด้วย เกาะต่าง ๆ ประมาณ 17,508 เกาะ ตั้งอยู่ในภูมิภาคเอเชียตะวันออก เฉียงใต้
การตรวจอากาศด้วยเรดาร์
สภาพสังคมและวัฒนธรรมของสิงคโปร
เกาะสวาดหาดสรรค์มัล ดีฟส์ จัดทำโดย นางสาว ปิยะมาศ อ้นมา คณะโลจิสติกส์
สถานที่ท่องเที่ยวที่ชอบ
พายุ นางสาวศิริลักษณ์ กันสงค์ กลุ่ม 10 รหัส
ส่วนพยากรณ์อากาศ ศูนย์อุตุนิยมวิทยาภาคเหนือ กรมอุตุนิยมวิทยา
โรงเรียนจักรคำคณาทร จังหวัดลำพูน
ภัยธรรมชาติ ที่เกิดขึ้นในจังหวัดน่าน
คาดหมายลักษณะ อากาศ ส่วนพยากรณ์อากาศ ศูนย์อุตุนิยมวิทยา ภาคเหนือ กรมอุตุนิยมวิทยา.
ศูนย์อุตุนิยมวิทยาภาคเหนือ สถานีอุตุนิยมวิทยาตาก
El Niño - La Niña History –1600’s : Peruvians noticed that around Christmas time during certain years there was a lot less fish off shore –Named this.
ภูมิศาสตร์ทวีปเอเชีย
เด็กหญิง อนัญญา สุ ทะพรหมพิงค์ เลขที่ 38 ชั้นมัธยมปีที่ 2/12.
โลกและสัณฐานของโลก.
Tides.
Air-Sea Interaction 2.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

“Weather is one of the most important factor that influence INTRODUCTION “Weather is one of the most important factor that influence airplane performance and flying safety.” You should have a good understanding of how weather influence you daily flying activity.

What’s happen…?

ร่องมรสุม I T C Z . INTERTROPICAL CONVERGENCE ZONE ThunderStorm

The ITCZ is a band of low pressure which forms over the regions of the warmest waters and land masses in the tropics. The ITCZ is identified on the satellite image as the band of bright clouds located just north of the equator.

The ITCZ is not a stationary band but tends to migrate to the warmest surface areas throughout the year. In the early part of the calendar year, the high sun occurs in the Southern Hemisphere causing a southward displacement of the ITCZ. As the high sun period travels from the Southern Hemisphere to the Northern Hemisphere, the ITCZ follows by migrating northward attaining its maximum northward displacement during the month of June.

While El Nino conditions prevail, the normal migration of the ITCZ is disrupted due to the unusually warm sea surface temperatures which occur in the tropical Pacific.

ร่องมรสุม(intertropical convergence zone) ใช้ตัวย่อ ICZ หรือ ITCZ , equaltorial trough หรือ monsoon trough) มีลักษณะเป็นแนวพาดขวาง ทิศตะวันตก - ตะวันออก ในเขตร้อนใกล้ ๆ อิเควเตอร์ ร่องมรสุมจะเลื่อนขึ้นลงและพาด ผ่านประเทศไทยช้ากว่าแนวโคจร ของดวงอาทิตย์ประมาณ 1 เดือน ความกว้างของร่องมรสุมประมาณ 6-8 องศาละติจูด

ร่องมรสุมจะเริ่มพาดผ่าน ประเทศไทยในเดือน พฤษภาคม โดยร่องมรสุม กำลังอ่อนจะพาดผ่านภาคใต้ ของประเทศไทย และเลื่อน ขึ้นไปเป็นลำดับประมาณ ปลายเดือนมิถุนายนถึง ครึ่งแรกของเดือนกรกฎาคม ร่องมรสุมจะเลื่อนขึ้นไปอยู่ บริเวณตอนใต้ของประเทศจีน ทำให้เกิดฝนทิ้งช่วง

ITCZ ร่องมรสุมช่วงนี้ รับอิทธิพลจากลม ในฤดูมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ มรสุมนี้ก่อให้ เกิดอุทกภัยได้ เนื่องมาจากเมื่อพัดจาก มหาสมุทรอินเดียปะทะขอบฝั่งตะวันตก ของภาคใต้ และเมื่อผ่านอ่าวไทยแล้วจะปะทะ ขอบฝั่งตะวันออกของอ่าวไทย มรสุมนี้เริ่มต้น ตั้งแต่กลางเดือนพฤษภาคม และสิ้นสุดลงตอน ต้นเดือนตุลาคม ในอ่าวเบงกอลช่วงต้น เดือนพฤษภาคมก่อนเข้าฤดูฝน พายุมักก่อตัว ขึ้นในอ่าวเบงกอลและเคลื่อนที่ทางเหนือเข้าสู่ ประเทศบังคลาเทศหรือเป็นประเทศพม่า ทำให้ มีผลกระทบต่อประเทศไทยทางด้านตะวันตก ลักษณะของฝนตกที่ตก เนื่องจาก พายุหมุนเขตร้อน จะเป็นฝนตกที่หนักและ มีบริเวณกว้างขวางกับมีพายุลมแรงด้วย I T C Z JUNE I T C Z MAY

ITCZ ร่องมรสุม จะเลื่อนกลับมาพาดผ่าน ภาคเหนือของประเทศไทย อีกครั้งประมาณเดือน กันยายน และเลื่อนลงไป ทางอิเควเตอร์ ตามลำดับ ในช่วงที่เลื่อนกลับมานี้ ร่องมรสุมจะมีกำลังแรง กว่าในระยะแรก ซึ่งเป็น มรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ

เริ่มตั้งแต่ปลายเดือนตุลาคมถึงสิ้นเดือน กุมภาพันธ์ ตั้งต้นพัดจากประเทศจีนและ ไซบีเรียผ่านทะเลจีนใต้ปะทะขอบฝั่ง เวียดนาม ส่วนที่หลุดจากปลายแหลม อินโดจีนจะพัดผ่านอ่าวไทยตอนใต้ปะทะ ขอบฝั่งตะวันออกของภาคใต้ หรือ ฝั่งตะวันตกของอ่าวไทยตั้งแต่ใต้ สงขลาลงไป มรสุมนี้มีกำลังแรงจัด เป็นคราว ๆ เมื่อบริเวณความกดอากาศสูง ในประเทศจีนมีกำลังแรงขึ้น ลมในทะเลจีนใต้จะมีความเร็วถึง 30-35 นอต I T C Z SEPTEMBER I T C Z OCTOBER

สภาพอากาศบริเวณร่องมรสุม ร่องมรสุม ITCZ เกิดจากการปะทะกันของลมมรสุม สภาพอากาศที่เกิดจะแปรตาม อิทธิพลของฤดูลมมรสุมนั้นๆ ในห้วงเวลาที่ร่องมรสุมเคลื่อนขึ้น – ลง ผ่านประเทศไทย จะทำให้มีฝนตกชุกอยู่ทั่วไป ตามแนวร่องมรสุมจะมีเมฆมากและฝนกระจาย ความรุนแรงของสภาพอากาศขึ้นอยู่กับความกว้างของร่องมรสุมและกำลังของลมมรสุม ที่พัดเข้ามามีอิทธิพลในขณะนั้น

SW monsoon weak ITCZ MAY- JUNE weak ITCZ ร่องมรสุมกำลังอ่อน ในฤดูลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ ลมมรสุมมีกำลังอ่อน ความกดอากาศสูงจากจีนอ่อนกำลังลง Weak NE monsoon weak ITCZ from STR 5-10knots. SW monsoon

SW monsoon strong ITCZ MAY- JUNE strong ITCZ ร่องมรสุมกำลังแรง ในฤดูลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ ลมมรสุมมีกำลังแรง ความเร็วลม 15-25 นอต ความกดอากาศสูงจากจีนยังคงแผ่ลงมา strong NE monsoon strong ITCZ 15-25knots. from STR SW monsoon

weak ITCZ SEPTEMBER- OCTOBER weak ITCZ ร่องมรสุมกำลังอ่อน ในฤดูลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ ลมมรสุมมีกำลังอ่อน ความกดอากาศสูงจากจีนอ่อนกำลังลง Weak NE monsoon weak ITCZ weak SW monsoon

strong NE monsoon strong ITCZ SEPTEMBER- OCTOBER strong ITCZ ร่องมรสุมกำลังแรง ในฤดูลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ ลมมรสุมมีกำลังแรง ความกดอากาศสูงจากจีนแรง strong NE monsoon strong ITCZ SW monsoon