สื่อการสอนวิชาภาษาไทย โดยใช้โปรแกรมPower Point โดย นางศิริพรรณ รักร่วม

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
เรื่อง อุตสาหกรรมปูนซีเมนต์ โรงเรียนอุดมดรุณี จังหวัดสุโขทัย
Advertisements

งานวิชาการกายภาพบำบัด
แบบทดสอบท้ายบท เรื่อง คำราชาศัพท์ จัดทำโดย นางสาวสมพร อ่อนละออ.
เอกสารเคมี Chemistry Literature
MY PROFILE.
Global warming สาเหตุของการเกิดภาวะโลกร้อน
เครื่องดนตรีไทย นางสาวสุชาวดี เจริญธรรม ม.4/1 เลขที่ 20.
ชื่อโครงงานการทำขนมไหว้พระจันทร์
N กลุ่ม E ACTION S.
แนวข้อสอบ - เมนเดลเป็นนักพันธุศาสตร์ที่ทำการศึกษาเกี่ยวกับเรื่อง ต้นถั่วลันเตา - ลักษณะพันธุกรรมที่ถ่ายทอดไปสู่รุ่นลูกเรียกว่า ลักษณะเด่น - ลักษณะพันธุกรรมที่ถ่ายทอดไปสู่รุ่นหลาน.
พระนางสิริมหามายาทรงพระสุบิน
พุทธประวัติ.
การปฏิสนธิ-ท้อง9เดือน
รายวิชา สุขศึกษา รหัสวิชา พ 31101
Application of Graph Theory
บุคคลสำคัญในประวัติศาสตร์ชาติไทย
ระบบอนุภาค.
3D modeling การสร้างแบบจำลอง 3 มิติ
คำแนะนำการปฏิบัติตัวสำหรับมารดาก่อนและหลังผ่าตัดคลอดทางหน้าท้อง
คำแนะนำมารดาหลังคลอด
สารมลพิษ โชคชัย บุตรครุธ.
การสังเกตพฤติกรรมด้านทักษะ
เศษส่วน.
Nursery ก็ลดโลกร้อนได้
เจาคันธีสถูป อนุสรณ์แสดงว่า พระพุทธองค์ได้เสด็จจากพุทธคยา
อริยบุคคลกับการตัดสังโยชน์คือการละกิเลส
ฟิสิกส์ เรื่อง แสง จัดทำโดย นาย ปณิธาน กาญจนถวัลย์ ม.4/3 เลขที่ 12
DNA สำคัญอย่างไร.
สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอนวิชางานประดิษฐ์จากดินไทย
รักษาราชการแทนปลัดกระทรวงสาธารณสุข
Story board.
เครื่องม้วนผม.
( Cardiopulmonary Resuscitation : CPR )
โรคอุบัติใหม่ – อุบัติซ้ำ (Emerging Disease – Re-Emerging Disease)
ของภาชนะสัมผัสอาหาร และมือ
วิชาวิทยาศาสตร์ (ว31101 )ชั้น ม. 1
MY DOGS MY LOVE จัดทำโดย นางสาวณัฐพร แสงอรุณ
ระบบกระดูก.
จุดเริ่มต้นชีวิต การปฏิสนธิ การตั้งครรภ์ การคลอด
การบริหารจิต.
คำแนะนำเรื่อง โรค มือ เท้า ปาก สำหรับผู้ปกครอง.
การผดุงครรภ์ไทย.
ปัญหาสุขภาพตำบลสำนักท้อน  แบ่งตามกลุ่มอายุ  แบ่งตามโรค - โรคติดต่อ - โรคไม่ติดต่อ  แบ่งตามปัญหาสังคม - ยาเสพติด - อุบัติเหตุ  ปัญหาของ รพ. สต  ปัญหาของ.
การแบ่งเขตการปกครอง 9 ตำบล 103 หมู่บ้าน 1 เทศบาล 9 อบต.
สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ส 41102
การแบ่งหนังสือออกตามลักษณะการจัดทำและความเหมาะสมของผู้อ่านแต่ละกลุ่ม
ประเภทของวรรณกรรม.
เข้าสู่ การนำเสนอเรื่อง โรคเหน็บชา
ไตรภูมิพระร่วง.
มารยาทในการไหว้ ด.ช.คณิตติณ พ่วงแสง ม.2/6 เลขที่ 2.
ระบบน้ำเหลืองและเต้านม
บทที่11 สถานที่ท่องเที่ยวอันลือชื่อของไทย
จัดทำโดย สำนักงานเกษตรอำเภอกะเปอร์
ประโยชน์ของผลไม้ไทย.
พระพุทธศาสนาสมัยสุโขทัย
เชื้อรา แบคทีเรีย โปรโตซัว ไวรัส สาหร่าย
อาจารย์ ดลหทัย อินทร์จันทร์
เรื่อง ศัพท์ทางพระพุทธศาสนา ผู้สอน ครูศศิเพ็ญ วิมุกตานนท์
ประเภทของมดน่ารู้.
กำมะถัน (Sulfur).
นวัตกรรมฝนหลวง เป็นนวัตกรรมระดับใด ตำบลอำเภอจังหวัดประเทศโลก.
ระบบขับถ่าย เรื่อง สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
พรพรรณ เจริญวัฒนวิญญู พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
พ่อขุนรามคำแหง จัดทำโดย นาย เจษฎากร ลิมปนุสรณ์ นาย เชิงชาย ตะโฉ
ด.ช.สุรเวศม์ สุวรรณดำรงผล ม.1/2 เลขที่ 6
กิจกรรมชุดที่ 9 การวัดแรงโน้มถ่วง.
ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 4 เรื่อง ตำแหน่งบนพื้นโลก
ความหมายและคุณค่าของ การทำโครงงาน คอมพิวเตอร์. เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์มี ผลกระทบต่อความ เจริญก้าวหน้าของทุกๆ สังคมในโลกปัจจุปัน เทคโนโลยีด้านนี้มีการเป.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สื่อการสอนวิชาภาษาไทย โดยใช้โปรแกรมPower Point โดย นางศิริพรรณ รักร่วม เรื่อง สื่อการสอนวิชาภาษาไทย โดยใช้โปรแกรมPower Point โดย นางศิริพรรณ รักร่วม

เรื่องไตรภูมิพระร่วง (ตอนมนุสสภูมิ) ผู้แต่ง ที่มาและความหมาย จุดมุ่งหมาย เรื่องไตรภูมิพระร่วง 1. กามภูมิ มนุสสภูมิ 1.1 สุคติภูมิ ฉกามาพจร 1.2 ทุคติภูมิ 2. รูปภูมิ 3. อรูปภูมิ เนื้อเรื่องย่อ คุณค่าด้านวรรณศิลป์ คุณค่าด้านสังคม กิจกรรม

พ่อขุนรามคำแหงมหาราช ผู้แต่ง พระราชนัดดา พ่อขุนรามคำแหงมหาราช

ที่มาและความหมายของไตรภูมิพระร่วง เดิมเรียกว่า เตภูมิกถา หรือ ไตรภูมิกถา หมายถึง เรื่องราวของโลกทั้งสาม ได้แก่ กามภูมิ รูปภูมิ อรูปภูมิ

จุดมุ่งหมายในการแต่ง - เทศนาแก่พระมารดา - ชี้นำให้มนุษย์หาทางหลุดพ้น จากการเวียนว่ายตายเกิด

เรื่องไตรภูมิพระร่วง กล่าวถึงภูมิทั้งสาม ที่สัตว์ทั้งหลายเวียนว่ายตายเกิด วนเวียนอยู่ในสังสารวัฏ ได้แก่ รูปภูมิ อรูปภูมิ กามภูมิ

1

1.1

มนุสสภูมิ แบ่งออกเป็น 4 ทวีป คือ แบ่งออกเป็น 4 ทวีป คือ 2. อุตตรกุรุทวีป อยู่ทางทิศเหนือ ของเขาพระสุเมรุ 4. อมรโคยานทวีป อยู่ทางทิศตะวันตก ของเขาพระสุเมรุ มนุสสภูมิ 3. บุรพวิเทหทวีป อยู่ทางทิศตะวันออก ของเขาพระสุเมรุ 1. ชมพูทวีป อยู่ทางทิศใต้ ของเขาพระสุเมรุ

เป็นภูมิที่อยู่เหนือ มนุสสภูมิขึ้นมา ฉกามาพจร จาตุมหาราชิกา ดาวดึงส์ ยามา ดุสิตา นิมมานรดี ปรนิมมิตวสวัตดี เป็นภูมิที่อยู่เหนือ มนุสสภูมิขึ้นมา จะเป็นภูมิของ เหล่าเทพยดา มีทั้งสิ้น ๖ ชั้น รวมเรียกว่า “ฉกามาพจร” แต่ยังอยู่ในภูมิระดับล่าง คือกามภูมิ

สวรรค์ชั้นที่ ๑ ชื่อ จาตุมหาราชิก สวรรค์ชั้นที่ ๑ ชื่อ จาตุมหาราชิก สวรรค์ชั้นนี้ อยู่เหนือ โลกมนุษย์ขึ้นไป ๔๖,๐๐๐ โยชน์ มีท้าวจาตุมหาราช เป็นหัวหน้าเทวดาผู้รักษาโลกทั้ง4 ทิศเหนือ ท้าวกุเวร (จอมยักษ์) ทิศตะวันออก ท้าวธตรฐ (จอมภูติ) มีหน้าที่ สอดส่อง ดูแลมนุษย์ที่ประกอบผลบุญ แล้วรายงานต่อพระอินทร์ เพื่อให้ได้ไปเกิดในสรวงสวรรค์ ทิศตะวันตก ท้าววิรุปักษ์ (จอมนาค) ทิศใต้ ท้าววิรุฬหก (จอมเทวดา)

สวรรค์ชั้นที่ 2 ดาวดึงส์ สวรรค์ชั้นที่ 2 ดาวดึงส์ สวรรค์ชั้นนี้อยู่เหนือชั้นจาตุมหาราชิกาขึ้นไปอีก ๔๖,๐๐๐ โยชน์ มีพระอินทร์เป็นเจ้าแห่งพระยาเทพยดาทั้งหลายที่รายล้อมทั้ง ๔ ทิศ รวม ๗๒ องค์ เหล่าเทพยดามี ๓ จำพวก คือ... สมมุติเทวดา คือ ฝูงท้าวและพระยาในแผ่นดิน ผู้รู้หลักแห่งบุญธรรม และกระทำโดยทศพิธราชธรรมทั้ง ๑๐ ประการ อุปปัติเทวดา คือ เหล่าเทพยดาในพรหมโลก วิสุทธิเทวดา คือ พระพุทธปัจเจกโพธิเจ้า และพระอรหันต์สาวกเจ้า ผู้เสด็จเข้าสู่นิพพาน

สวรรค์ชั้นที่ 3 ยามะ (ยามา) มีท้าวสุยามปกครอง สวรรค์ชั้นที่ 3 ยามะ (ยามา) มีท้าวสุยามปกครอง - พระสยามเทวาธิราชประทับที่นี่ - ไม่มีกลางวัน กลางคืน สังเกตดอกไม้ทิพย์ บานเป็นกลางวัน หุบเป็นกลางคืน อยู่สูงกว่าชั้นดาวดึงส์ขึ้นไปอีก ๘๔,๐๐๐ โยชน์ อยู่เหนือพระอาทิตย์และพระจันทร์ แสงสว่างในภูมินี้เกิดจากรัศมีของเหล่าเทพยดาในชั้นนี้เอง

สวรรค์ชั้นที่ 4 ดุสิต มี ท้าวสันดุสิตปกครอง พระโพธิสัตว์ และ พระศรีอาริยเมตไตรย์ ประทับที่นี่ อยู่สูงกว่ายามะขึ้นไปอีก ๑๖๘,๐๐๐ โยชน์ สวรรค์ชั้นที่ 5 นิมมานรดี ท้าวสุนิมมิตปกครอง อยู่สูงกว่าดุสิตขึ้นไปอีก ๓๓๖,๐๐๐ โยชน์ เหล่าเทพยดาในสวรรค์ชั้นนี้เนรมิต สิ่งต่างๆเองได้

สวรรค์ชั้นที่ 6 ปรนิมมิตวสวัสดี สวรรค์ชั้นที่ 6 ปรนิมมิตวสวัสดี มี ท้าววสวัตดีมาร ปกครอง เป็นสวรรค์ชั้นที่อยู่สูงที่สุดของฉกามาพจร สูงสุดในระดับกามภูมิ สูงกว่าชั้นนิมมานรดีขึ้นไปอีก ๖๗๒,๐๐๐ โยชน์ เทพในสวรรค์ชั้นนี้ มีอำนาจสั่งให้เทพนิมิตให้ได้ ไม่ต้องเนรมิตเอง

1.2

รูปภูมิ เป็นที่อยู่ของ “พรหมมีรูป” มี 16 ชั้น 2. รูปภูมิ เป็นที่อยู่ของ “พรหมมีรูป” มี 16 ชั้น 3. อรูปภูมิ เป็นที่อยู่ของ “พรหมไม่มีรูป” มี 4 ชั้น

เนื้อเรื่องย่อ (ตอนมนุสสภูมิ) เนื้อเรื่องย่อ (ตอนมนุสสภูมิ) เป็นตอนที่ เกี่ยวกับกำเนิดของมนุษย์ จากการอ่านทำให้ทราบว่า เรื่อง การกำเนิดของมนุษย์นี้ คนโบราณมีความรู้ ความคิดใกล้เคียงกับหลักทางวิทยาศาสตร์ แม้จะไม่เป็นจริงทั้งหมด แต่ก็มีส่วนจริงอยู่มาก

ผู้แต่งพรรณนาถึงเด็ก ตอนที่เริ่มก่อตัวในท้องแม่ ว่ามีขนาดเล็กมาก เรียกว่า “กัลละ” ต่อจากนั้นชีวิตจะค่อยๆเจริญขึ้น มีปุ่มงอกออกมา 5 ปุ่ม ซึ่งต่อมากลายเป็น หัว แขน 2 แขนและขา 2 ขา

สภาพของเด็กขณะที่อยู่ในท้องแม่ นั่งชันเข่า กำมือทั้ง 2 ข้าง ก้มหัวลงไปซบที่เข่า หันหน้าไปคนละทางกับแม่ มีสภาพลำบาก ทั้งเจ็บเนื้อตน และ เดือดเนื้อเดือดใจ

เด็กได้รับอาหารทางสายสะดือ ซึ่งกลวงไป ติดท้องแม่ เมื่อครบกำหนดคลอด เด็กจะ พลิกหัวลง ระยะเวลาอยู่ในท้องแม่ ไม่เท่ากัน มีตั้งแต่ 7-11 เดือน บางคนอยู่ในท้องแม่ ถึง 1 ปีก็มี

เปรียบเทียบขั้นตอน การเกิดของมนุษย์จากเรื่องไตรภูมิพระร่วง กับขั้นตอนการอธิบายทางวิทยาศาสตร์ จากไตรภูมิพระร่วง ทางวิทยาศาสตร์ เป็นกัลละ(เซลล์เดียว ขนาดเท่าปลายขนกวางทราย นำไปชุบน้ำมันงาแล้วสลัดเสีย 7 ครั้ง ขนาดที่ติดเหลือเรียกว่ากัลป์ละ) 7 วันเป็น อุมพุทะ (คล้ายของเหลวสีแดง) อีก 7 วันเป็นเปสิ (ข้นขึ้น) อีก7วันเป็นฆนะ(แข็งตัวขึ้นเป็นก้อนกลมรีคล้ายรูปไข่) อีก 7 วันเป็น เบญจสาขาหูด(เป็นตุ่ม5 ตุ่ม) อีก 7 วัน มีฝ่ามือ นิ้ว ขน เล็บและอื่นๆจนครบ 32 ปฏิสนธิอยู่ในครรภ์มารดา น้ำล้างเนื้อ ชิ้นเนื้อ ก้อนแข็ง มีมือ 2 เท้า 2 หัว1 เป็นเด็กทารก

เนื้อความในมนุสสภูมิ อธิบายต่อไปอีกว่า ถ้าเด็กในท้องมาจากนรก ขณะอยู่ในท้อง แม่จะตัวร้อน กระวนกระวาย เมื่อคลอดออกมา เด็กจะร้องไห้ก่อน แต่ ถ้าเด็กมาจากสวรรค์ แม่จะสุขกายสบายใจ เนื้อตัวเย็น และเมื่อคลอดจะหัวเราะก่อน

ความเชื่อเกี่ยวกับการกินอาหารของมารดา ถ้ามารดาอยากกินเนื้อปลา อาหารสด ท่านว่าสัตว์นรกมาเกิด ถ้ามารดาอยากกิน น้ำผึ้ง น้ำอ้อย น้ำตาล ท่านว่ามาจากสวรรค์ ถ้ามารดาอยากกินผลไม้ ท่านว่าเดรัจฉานมาเกิด ถ้ามารดาอยากกินดิน ท่านว่า พรหมมาเกิด ถ้ามารดาอยากกินอาหารเผ็ดร้อน ท่านว่ามนุษย์มาเกิด คนที่เกิดมาแล้วจะลืมภพชาติเดิมแล้วมาเรียนรู้ภพชาติใหม่ แต่ยังนำกรรม ติดตัวมาด้วย และกรรมจะนำให้แต่ละชีวิตเป็นไปตามกรรมที่เคยกระทำ

คนแบ่งออกเป็น 4 ชนิด ตามพื้นกรรมของตน ได้แก่ คนแบ่งออกเป็น 4 ชนิด ตามพื้นกรรมของตน ได้แก่ คนนรก - คนทำบาป ฆ่าสัตว์ตัดชีวิตมาก่อน ต้องได้รับความทุกข์เวทนาทางกาย คนเปรต - ไม่เคยทำบุญมาก่อน ย่อมยากจนเข็ญใจ รูปโฉมขี้ริ้วขี้เหร่ คนเดรัจฉาน - คนไม่รู้บุญรู้บาป ไม่มีเมตตากรุณา จิตใจกล้าแข็งก้าวร้าวไม่ยำเกรงต่อ บาป ไม่รู้จักบุญคุณ ไม่รู้จักรักและเอื้อเฟื้อ มนุษย์ - คนที่รู้จักบุญและบาป ละอายและกลัวบาป มีเมตตากรุณา รัก เอื้อเฟื้อ และกตัญญู เคารพพระรัตนตรัย พ่อแม่

คุณค่าด้านวรรณศิลป์ การใช้ภาษาในเรื่อง อาจจะเข้าใจยากสำหรับผู้อ่านในปัจจุบัน เพราะมีศัพท์โบราณและศัพท์ทางศาสนาปนอยู่มาก แต่ดีเด่นในด้านการพรรณนาและการเปรียบเทียบ เช่น การชมความงามของหญิงในอุตตรกุรุทวีป ว่า มีรูปร่างสมส่วน ผิวเหลืองดังทอง ชายใดเห็นก็รัก นิ้วกลมเรียว ปากแดง เล็บงาม ใบหน้าผุดผ่องเกลี้ยงเกลาปานดวงจันทร์วันเพ็ญ ตาดำดุจตาของเนื้อทราย ผมดำเป็นเงา ขาเรียว ริมฝีปากอิ่มแดงระเรื่อ

การดำเนินเรื่อง ไม่สับสน โดยพรรณนาจากภูมิต่ำสุด อันเป็นแดนของผู้ทำบาปก่อน เป็นการขู่ให้คนกลัวต่อบาปกรรม แล้วจึงเล่าเรื่องราวของมนุษย์ เริ่มตั้งแต่เกิด ที่อยู่ แผ่นดิน....กล่าวถึงผลแห่งบุญ ผลแห่งบาปของมนุษย์ แล้วจึงกล่าวถึงสวรรค์เป็นชั้นๆ

ขั้นสุดท้าย เตือนสติให้มองเห็นการณ์ไกล ถึงความสงบสุขอันแท้จริง คือ ขั้นสุดท้าย เตือนสติให้มองเห็นการณ์ไกล ถึงความสงบสุขอันแท้จริง คือ... นิพพาน

คุณค่าด้านสังคม 1. ชี้ให้เห็นแก่นแท้ ของชีวิตมนุษย์ 2. สอนให้มนุษย์เกรงบาป กลัวกรรมและเร่งทำบุญกุศล ทำให้มนุษย์ปฏิบัติดีปฏิบัติชอบ นำไปสู่การอยู่ร่วมกันในสังคมอย่างมีความสุข

และนำส่งครูตามเวลาที่กำหนด กิจกรรม ให้นักเรียนรับใบงานกิจกรรมจากครูผู้สอน และนำส่งครูตามเวลาที่กำหนด สวัสดีค่ะ