ผลการตรวจวัดคุณภาพสิ่งแวดล้อมบริเวณห้วยคลิตี้ ต. ชะแล อ. ทองผาภูมิ จ ผลการตรวจวัดคุณภาพสิ่งแวดล้อมบริเวณห้วยคลิตี้ ต.ชะแล อ.ทองผาภูมิ จ.กาญจนบุรี (3 - 8 มิถุนายน 2556) DK DK ห้วยดีกะ เหนือโรงแต่งแร่ ชนิดตัวอย่าง ปริมาณตะกั่ว (ppm) ผ่านเกณฑ์ น้ำ <0.01 √ ตะกอนดินท้องน้ำ 129 - ปลา 0.00386 – 0.14330 กุ้ง 0.06643 ปู 0.52543 หอย 2.7247 × KC 1 เหนือโรงแต่งแร่ประมาณ 0.5 กม. ชนิดตัวอย่าง ปริมาณตะกั่ว (ppm) ผ่านเกณฑ์ น้ำ <0.01 √ ตะกอนดินท้องน้ำ 212 - ปลา 0.02194 กุ้ง 0.24790 ปู 2.7721 × หอย 9.8921 KC 2 ใต้โรงแต่งแร่ประมาณ 0.1 กม. ชนิดตัวอย่าง ปริมาณตะกั่ว (ppm) ผ่านเกณฑ์ น้ำ <0.01 √ ตะกอนดินท้องน้ำ 5,427 - ปลา 0.12384 – 3.5350 × กุ้ง 0.73366 หอย 81.843 พืชผักสวนครัว 0.00457 – 23.456 พืชไร่ 0.17121 – 0.54457 ดินธรรมชาติ 135 – 12,245 KC 3 ใต้โรงแต่งแร่ประมาณ 2.5 กม. ชนิดตัวอย่าง ปริมาณตะกั่ว (ppm) ผ่านเกณฑ์ น้ำ 0.032 √ ตะกอนดินท้องน้ำ 146,100 - ปลา 0.19525 กุ้ง 12.4918 × ปู 320.21 หอย 743.71 KC 4 ใต้โรงแต่งแร่ประมาณ 4.5 กม. (ฝายหินทิ้งแห่งที่ 1) ชนิดตัวอย่าง ปริมาณตะกั่ว (ppm) ผ่านเกณฑ์ น้ำ 0.034 √ ตะกอนดินท้องน้ำ 82,770 - กุ้ง 0.46941 ปู 32.420 × สรุปผลการตรวจวัดคุณภาพสิ่งแวดล้อม คุณภาพน้ำส่วนใหญ่มีตะกั่วปนเปื้อนอยู่ในเกณฑ์มาตรฐานคุณภาพน้ำฯ และสัตว์น้ำประเภทปลาส่วนใหญ่มีตะกั่วสะสมอยู่ในเกณฑ์มาตรฐานอาหารฯ ส่วนดินตั้งแต่บริเวณเหนือโรงแต่งแร่ ใกล้โรงแต่งแร่ และใต้โรงแต่งแร่ลงมา พบว่าบางพื้นที่ยังมีปริมาณตะกั่วสะสมอยู่ในปริมาณสูง จึงทำให้พืชผักบางชนิดบริเวณดังกล่าวมีปริมาณตะกั่วสะสมสูงเช่นเดียวกัน สำหรับตะกอนดินท้องน้ำตั้งแต่ใต้โรงแต่งแร่ลงมา ยังคงมีตะกั่วสะสมสูงกว่าบริเวณที่ไม่ได้รับผลกระทบเหนือโรงแต่งแร่ ส่งผลให้สัตว์หน้าดินตั้งแต่บริเวณดังกล่าว ยังคงมีตะกั่วสะสมสูงกว่าเกณฑ์มาตรฐานอาหารฯ KC 4/1 ใต้โรงแต่งแร่ประมาณ 8 กม. (ฝายหินทิ้งแห่งที่ 2) ชนิดตัวอย่าง ปริมาณตะกั่ว (ppm) ผ่านเกณฑ์ น้ำ 0.051 × ตะกอนดินท้องน้ำ 39,671 - ปลา 0.20420 – 0.5837 √ กุ้ง 4.5883 ปู 20.649 KC 5 ใต้โรงแต่งแร่ประมาณ 12 กม. (บ้านคลิตี้ล่าง) ชนิดตัวอย่าง ปริมาณตะกั่ว (ppm) ผ่านเกณฑ์ น้ำ 0.031 √ ตะกอนดินท้องน้ำ 27,732 - ปลา 0.11742 - 0.18498 กุ้ง 8.7299 × ปู 22.129 พืชผักสวนครัว 0.05103 – 21.609 พืชไร่ 0.003 ดินธรรมชาต (ริมห้วย) 17,510 – 34,209 KC 6 ใต้โรงแต่งแร่ประมาณ 15 กม. ชนิดตัวอย่าง ปริมาณตะกั่ว (ppm) ผ่านเกณฑ์ น้ำ 0.031 √ ตะกอนดินท้องน้ำ 43,650 - ปลา 0.07178 – 0.14020 กุ้ง 3.1619 × ปู 23.004 KC 7 ใต้โรงแต่งแร่ประมาณ 18 กม. (หน่วยดูแลอุทยาน) ชนิดตัวอย่าง ปริมาณตะกั่ว (ppm) ผ่านเกณฑ์ น้ำ 0.024 √ ตะกอนดินท้องน้ำ 8,812 - ปลา 0.10514 กุ้ง 3.1046 × ปู 34.118 หอย 304.15 KC 8 ใต้โรงแต่งแร่ประมาณ 19 กม. (น้ำตกคลิตี้ล่าง) ชนิดตัวอย่าง ปริมาณตะกั่ว (ppm) ผ่านเกณฑ์ น้ำ 0.026 √ ตะกอนดินท้องน้ำ 18,084 - ปลา 0.57559 กุ้ง 6.7795 × หอย 58.873 หมายเหตุ - เกณฑ์มาตรฐานคุณภาพน้ำผิวดิน กำหนดให้มีค่าตะกั่ว ไม่เกิน 0.05 มิลลิกรัมต่อลิตร ตามประกาศคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ ฉบับที่ 8 (พ.ศ. 2535) - ยังไม่มีเกณฑ์มาตรฐานตะกั่วในตะกอนดินท้องน้ำ - เกณฑ์มาตรฐานอาหารให้มีสารปนเปื้อน (น้ำหนักเปียก) ไม่เกิน 1 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม ตามประกาศกระทรวงสาธารณสุข ฉบับที่ 98 (พ.ศ. 2529) - เกณฑ์มาตรฐานคุณภาพดินที่ใช้ประโยชน์เพื่อการอยู่อาศัยและเกษตรกรรม ไม่เกิน 400 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม ตามประกาศคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ ฉบับที่ 25 (พ.ศ.2547) - พืชผักสวนครัว ได้แก่ มะเขือพวง กะเพรา ผักกูด ชะอม ใบมะกรูด ตะไคร้ พริก ข่า โหระพา ตำลึง มะเขือ กระถิน ผักชีฝรั่ง มะเขือพวง ฝรั่ง ผักหวาน มะระหวาน กระเจี๊ยบ ใบเตย โหระพา - พืชไร่ ได้แก่ มันสัมปะหลัง ยอดฝักแม้ว - ppm = น้ำ มีหน่วยเป็น มิลลิกรัมต่อลิตร ตะกอนดินท้องน้ำ สัตว์น้ำ พืชผัก และดินธรรมชาติ มีหน่วยเป็น มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม