เคมีอินทรีย์ AOIJAI WICHAISIRI.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
หลักการทางเคมีของสิ่งมีชีวิต
Advertisements

ปฏิกิริยาเคมี (Chemical Reaction)
03/04/60.
STEREOCHEMISTRY STEREOCHEMISTRY
ไฮบริไดเซชัน (Hybridization)
อะตอมมิกออร์บิทัล (atomic orbital)
sp2 Hybridization ของ CH2=CH2 (Ethylene)
sp Hybridization ของ HC CH (Acetylene)
sp3 Hybridization of CH3CH3 (Ethane)
Photochemistry.
Dynamic Properties: Static Properties: สมบัติของสถานะเร้า
Imidazole จึงเป็นสารประกอบอะโรมาติก
Electronic Transition
sp3 Hybridization of CH4 (Methane)
เฉลยการบ้าน Stereochemistry
โครงสร้างทางอิเล็กตรอนของโมเลกุล และชนิดของ Transitions
แผนภาพแสดงการเปลี่ยนแปลง สภาวะพลังงานเมื่อโมเลกุล
กรด-เบส (acid-base) คริษฐา เสมานิตย์.
Ground State & Excited State
เมื่อสารดูดกลืนแสง มีการถ่ายเทประจุ (charge transfer) หรืออิเล็กตรอน
Morse Curve.
เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
เซลล์และกระบวนการดำรงชีวิตของพืช
สรุป ทฤษฎี MOT : เป็นการสร้าง orbs ของ โมเลกุลขึ้นมาโดยใช้ valence AO’s ทั้งหมดของอะตอมในโมเลกุล, จำนวน MO’s ทั้งหมดที่ได้ = จำนวน AO’s ที่นำมาใช้ แต่ละ.
ทฤษฎีโมเลกุลาร์ออร์บิทัล, MOT
Molecular orbital theory : The ligand group orbital
Hybridization = mixing
เคมีอินทรีย์ บทนำ ผศ. ดร. วราภรณ์ พาราสุข
H2O H2O H2O ความสำคัญของน้ำ H2O H2O.
Polymer พอลิเมอร์ (Polymer) คือ สารประกอบที่มีโมเลกุลขนาดใหญ่ และมีมวลโมเลกุลมากประกอบด้วยหน่วยย่อยที่เรียกว่า มอนอเมอร์มาเชื่อมต่อกันด้วยพันธะโคเวเลนต์
หลักการทางเคมีของสิ่งมีชีวิต
กรดนิวคลีอิก (Nucleic acid)
พันธะเคมี Chemical bonding.
H 1 1s1 He 2 1s2 Li 3 1s22s1 = [He] 2s1 Be 4 1s22s2 = [He] 2s1
เลขควอนตัม (Quantum Numbers)
หลักการทางเคมีของสิ่งมีชีวิต
Chemical Bonding I: Basic Concepts
เคมีอินทรีย์ แอลไคน์ และแอลคาไดอีน
เคมีอินทรีย์ สารประกอบอะโรมาติก aromatic compounds
กำหนดการสอน วิชาเคมี ว30221
พันธะโคเวเลนต์ ความยาวพันธะ พลังงานพันธะ.
แบบจําลองอะตอมของรัทเทอร์ ฟอร์ด รัทเทอร์ ฟอร์ด พบว่ ารังสี ส่วนใหญ่ ไม่ เบี่ยงเบน และส่วนน้อยทีเบี่ยงเบนนั้น ทํามุมเบี่ยงเบนใหญ่ มากบางส่วนยังเบี่ยงเบนกลับทิศทางเดิมด้วย.
พื้นฐานทางเคมีของสิ่งมีชีวิต
พื้นฐานทางเคมีของชีวิต
เรียนรู้วิทยาศาสตร์ มัธยมศึกษาปีที่1
ว เคมีพื้นฐาน พันธะเคมี
Valent Bond Theory (VBT) ครูวิชาการสาขาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์
ครูวิชาการสาขาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์
ว เคมีพื้นฐาน พันธะเคมี
Tanawat Attachaipanich M.5/5 MWIT 19
วิชา สรีรวิทยาของพืช (Plant Physiology)
หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเคมีประยุกต์
บทที่ 4 Aromatic Hydrocarbons
บทที่ 1 Introduction.
คุณสมบัติของเซลล์ เพิ่มจำนวนได้โดยการแบ่งเซลล์
ประเภทของสารประกอบอินทรีย์
เคมี ม.6 ว30225 เคมีอินทรีย์ (Organic Chemistry)
โครงสร้างอะตอม พื้นฐานทฤษฎีอะตอม แบบจำลองอะตอมของ John Dalton
แผนภูมิสมดุล การผสมโลหะ (Alloy) คุณสมบัติของการผสม
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนปทุมวิไล จังหวัดปทุมธานี
กรดไขมัน กรดไขมันอาจมีอยู่เป็น องค์ประกอบของลิพิดต่างๆ หรืออยู่ในรูปอิสระ โดยทั่วไปกรดไขมันจาก ธรรมชาติ มีแกนโมเลกุลเป็น คาร์บอน จำนวนเป็นคู่ เรียง.
องค์ประกอบศิลป์ : รูปร่าง และรูปทรง
พันธะเคมี.
ปิโตรเลียม.
ชื่อ คาร์โบไฮเดรต (Carbohydrate), แซคคาไรด์ (Saccharide) ซึ่งจริงๆ แล้วเป็นชื่อเรียกรวมๆ ของกลุ่มของสารเคมีชนิดหนึ่งที่มีอยู่ในสิ่งมีชีวิตทุกชนิด สารเคมีในกลุ่มนี้มีหลายชนิด.
JIRAT SUKJAILUA Science Department Maechai Wittayakom school
ปรับวิธีเรียน เปลี่ยนวิธีสอน ปฏิรูปวิธีสอบ
ว เคมีพื้นฐาน พันธะเคมี
แบบจำลองอะตอม อะตอม มาจากภาษากรีกว่า "atomos" ซึ่งแปลว่า "แบ่งแยกอีกไม่ได้" แนวคิดนี้ได้มาจากนักปราชญ์ชาวกรีกชื่อ ดิโมคริตุส (Demokritos)
องค์ประกอบศิลป์ : รูปร่าง และรูปทรง
ใบสำเนางานนำเสนอ:

เคมีอินทรีย์ AOIJAI WICHAISIRI

1. บทนำเคมีอินทรีย์ 1.1 เคมีอินทรีย์คืออะไร เป็นศาสตร์ศึกษาเกี่ยวกับสารประกอบอินทรีย์ สารอินทรีย์ได้จากหรือพบในสิ่งมีชีวิต เช่น พืช และสัตว์ สามารถสังเคราะห์ได้โดยมนุษย์ ฟรีดริช โวห์เลอร์ (Friedrich Wohler)

ความสำคัญของสารอินทรีย์ ผลิตภัณฑ์ธรรมชาติ อาหาร ยา สมุนไพร สีย้อม ยาง สารที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการในสิ่งมีชีวิต อุตสาหกรรมปิโตรเคมี เกษตร เคมีภัณฑ์ เภสัชกรรม การแพทย์

การจัดอิเล็กตรอนใน Atomic Orbitals 2p Valence electron 2s 1s C N O 403221-introduction

ไฮบริไดเซชัน (Hybridization) ไฮบริไดเซชันคืออะไร ก่อนอื่นจะต้องรู้ความหมายของออร์บิทัลก่อน สำหรับ ไฮบริไดเซชัน คือการผสมของออร์บิทัล ซึ่งทำให้เกิดออร์บิทัลลูกผสมไงค่ะ เช่น s 1 ออร์บิทัล กับ p 3 ออร์บิทัล เกิดเป็นออร์บิทัลลูกผสมใหม่ (hybrid orbitals) ชื่อ sp3 hybrid orbital มี 4 ออร์บิทัล

2s 2s 1s 1s 12C มี Configuration เป็น 1s2, 2s2, 2p2 6 2p 2p p p Energy X y z 96 Kcal/mol สภาวะเร้า (Excited State) 1s 2s 2p p X y z ควรจะเป็นแบบนี้ แต่เมื่อมีพลังงานมากระตุ้น เรียกว่าเกิดสภาวะเร้า (Excited State) ทำให้ 1 อิเล็กตรอนที่อยู่ที่ 2s กระโดดไปที่ 2 p (click mouse ค่ะ) ที่สภาวะพื้น (Ground State) มาดูกันนะค่ะว่าที่สภาวะเร้าจะเกิดอะไรขึ้น 6/10

2s 1s 1s sp3 2p sp2 sp เกิดการ Hybridization P 2p 1s 2p 1s สังเกตระดับพลังงานของ hybrid orbitals ที่เกิดใหม่ในแบบนั้นๆ จะเท่ากัน เกิดการ Hybridization เมื่อเกิดสภาวะเร้าแล้ว ทำให้ออร์บิทัลชั้นนอกสุด เกิดการ hybridization เพื่อเกิดเป็น ออร์บิทัลใหม่เรียกว่า hybrid orbitals ซึ่งจะมีชื่อเหมือนกัน มีระดับพลังงานเท่ากัน และมีการจัดเรียงตัวให้ไกลกันมากที่สุด สำหรับ C จะมีการเกิด hybridization ได้ 3 แบบ คือ sp3 sp2 และ sp hybrid orbitals ดังนี้ค่ะ (click mouse) สภาวะเร้า (Excited State) 1s 2s 2p P X y z sp2 1s 2p แบบที่ 3 s 1 ออร์บิทัล กับ p 1 ออร์บิทัล ผสมกัน เกิดเป็นออร์บิทัลลูกผสมใหม่ 2 ออร์บิทัล (2 hybrid orbitals) ที่มีชื่อเหมือนกันเรียกว่า sp hybrid orbital (click mouse ค่ะ) แบบที่ 3 s 1 ออร์บิทัล กับ p 1 ออร์บิทัล ผสมกัน เกิดเป็นออร์บิทัลลูกผสมใหม่ 2 ออร์บิทัล (2 hybrid orbitals) ที่มีชื่อเหมือนกันเรียกว่า sp hybrid orbital (click mouse ค่ะ) แบบที่ 2 s 1 ออร์บิทัล กับ p 2 ออร์บิทัล ผสมกัน เกิดเป็นออร์บิทัลลูกผสมใหม่ 3 ออร์บิทัล (3 hybrid orbitals) ที่มีชื่อเหมือนกันเรียกว่า sp2 hybrid orbital (click mouse ค่ะ) แบบที่ 1 s 1 ออร์บิทัล กับ p 3 ออร์บิทัล ผสมกัน เกิดเป็นออร์บิทัลลูกผสมใหม่ 4 ออร์บิทัล (4 hybride orbitals) ที่มีชื่อเหมือนกันเรียกว่า sp3 hybrid orbital (click mouse ค่ะ) sp 1s 2p C มี 3 sp2 hybrid orbitals C มี 2 sp hybrid orbitals 7/10

1. บทนำเคมีอินทรีย์ (ต่อ) 1.2.1) ไฮบริไดเซชันของคาร์บอน (Hybridization of carbon) C มี 4 เวเลนซ์อิเล็กตรอน ซึ่งสามารถเกิดพันธะกับอะตอมอื่นๆ ได้ อยู่ใน s ออร์บิทอล = 1 (รูปร่างเป็นทรงกลม) อยู่ใน p ออร์บิทอล = 3 (รูปร่างเป็นดัมบ์เบลล์)

sp3 sp2 sp ไฮบริไดเซชันแบบต่างๆ ของ C (Hybridization of Carbon)

1.2.2) พันธะของ C เวเลนซ์อิเล็กตรอนทั้ง 4 ของคาร์บอนที่อยู่ในไฮบริไดซ์ออร์บิทัลสามารถเกิดพันธะโคเวเลนต์ (covalent bonds) ได้ 4 พันธะ ซึ่งอาจจะเป็นพันธะเดี่ยว (single bond) พันธะคู่ (double bond) หรือพันธะสาม (triple bond) ก็ได้ sp3 hybridization คาร์บอนจะสร้างพันธะเดี่ยวทั้งหมด เช่นใน methane และ ethane

sp2 hybridization คาร์บอนจะสร้างพันธะคู่ 1 พันธะ (1 พันธะซิกมา และ 1 พันธะไพ) ระหว่าง C ที่มีไฮบริไดเซชันแบบ sp2 และ พันธะเดี่ยว 2 พันธะ เช่นใน ethene sp hybridization คาร์บอนจะสร้างพันธะสาม (triple bond) 1 พันธะ (1 พันธะซิกมา และ 2 พันธะไพ) ระหว่าง C ที่มีไฮบริไดเซชันแบบ sp และพันธะเดี่ยว 1 พันธะ เช่นใน ethyne

sp3-hybridization 403221-introduction

403221-introduction

พันธะใน methane, ethane 403221-introduction

พันธะซิกมา (sigma, s-bond) head on overlap s-s orbital p-p orbital 403221-introduction

พันธะไพ (pi, p-bond) side by side overlap การซ้อนทับด้านข้างของออร์บิทัล p อิเล็กตรอนในพันธะไพ เรียกว่า p-electron 403221-introduction

sp2-hybridization 403221-introduction

พันธะใน ethene (C2H4) 403221-introduction

sp-hybridization 403221-introduction

พันธะใน ethyne (C2H2) 403221-introduction

ethyne ethene ethane เปรียบเทียบโครงสร้างของ ethyne ethene ethane 403221-introduction

sp2 sp3 sp Linear พันธะเดี่ยว Tetrahedron ( Single bond) พันธะคู่ ไฮบริดออร์บิทัล (Hybrid orbital) พันธะ (Bond) โครงสร้าง (Structure) sp3 sp2 sp Tetrahedron (109.5o) Trigonal planar (120o) พันธะเดี่ยว ( Single bond) พันธะคู่ (Double bond) พันธะสาม (Triple bond) Linear (180o)