โครงสร้างโปรแกรมภาษา JAVA

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
The InetAddress Class.
Advertisements

Suphot Sawattiwong Function ใน C# Suphot Sawattiwong
Lab Part Nattee Niparnan
Introduction to C Introduction to C.
โครงสร้างโปรแกรมภาษา C
การจัดการความผิดพลาด
File.
Week 6 ประกาศค่าตัวแปร.
05_3_Constructor.
การเขียนโปรแกรมภาษาจาวาตอนที่ ๓
ครั้งที่ 7 Composition.
การประกาศตัวแปร “ตัวแปร” คือสิ่งที่เราสร้างขึ้นมาเพื่อใช้เก็บค่าต่างๆและอ้างอิงใช้งานภายในโปรแกรม ตามที่เรากำหนดขึ้น การสร้างตัวแปรขึ้นมาเราเรียกว่า.
หลักการเชิงวัตถุ อาจารย์ศิริพร ศักดิ์บุญญารัตน์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ JAVA
Selected Topics in IT (Java)
การสืบทอด (Inheritance)
การเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ ด้วยภาษาจาวา
ภาษาที่ใช้ในการเขียนเว็บไซต์
บทที่ 3 Class and Object (1) การสร้างและการใช้งานคลาส
คลาสและวัตถุ (2) (Class & Object)
 เป็นเมธอดที่มีคุณลักษณะของ Polymorphism รูปแบบหนึ่ง โดยใช้ชื่อเมธอดเดียวกัน มากกว่า 1 เมธอด เพื่อทำงานในแบบเดียวกัน  คลาสลูกสามารถเขียนทับ เมธอดของคลาสแม่ได้
บทที่ 1 หลักการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ
คลาสและวัตถุ (3) (Class & Object)
คลาสและวัตถุ (2) (Class & Object)
คลาสและวัตถุ (3) (Class & Object). w5_000.rar การใช้งานเมธอดภายในคลาสเดียวกัน ข้อ 24, 25 as5_000.rar การใช้งานเมธอดภายในคลาสเดียวกัน ข้อ 23 2.
บทที่ 4 Method (1).
การสืบทอดคุณสมบัติ (Inheritance)
OOP (Object-Oriented Programming)
C# Programming Exceed Camp: Day 3.
Javascripts.
Inheritance การสืบทอดคลาส
String Class มหาวิทยาลัยเนชั่น การโปรแกรมเชิงวัตถุด้วยภาษา JAVA
อาร์เรย์ หรือแถวลำดับ (Array)
Page: 1 การโปรแกรมเชิงวัตถุด้วยภาษา JAVA บุรินทร์ รุจจนพันธุ์.. ปรับปรุง 15 มิถุนายน 2550 Structure Programming มหาวิทยาลัยเนชั่น.
Page: 1 การโปรแกรมเชิงวัตถุด้วยภาษา JAVA บุรินทร์ รุจจนพันธุ์.. ปรับปรุง 22 มิถุนายน 2550 ความผิดพลาดที่พบ บ่อย มหาวิทยาลัยเนชั่น.
บทที่ 6 เมธอด.
Introduction to C Language
JAVA PROGRAMMING PART IV.
โปรแกรมภาษาจาวาเบื้องต้น Basic Java Programming 3(2-2-5)
ตัวแปรกับชนิดของข้อมูล
Object Oriented Programming Handling Exceptions
Method of Class อ.สุพจน์ สิงหัษฐิต
การเขียนโปรแกรม ตอนที่ 1 (ต่อ)
Object-Oriented Programming
Advanced Class Design in Java Java Packages Week #6 Jarungjit Parnjai
บทที่ 3 Class and Object (2).
บทที่ 2 การแสดงผลและรับข้อมูล
บทที่ 4 คำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก
ตัวแปร Array แบบ 1 มิติ การเขียนโปรแกรมแบบวนซ้ำ
Java Programming Java Structure and Datatype,Variable
สายอักขระ เขียนโปรแกรม Java เบื้องต้น.
Java Network Programming 1
หน่วยที่ 4 โครงสร้างโปรแกรมภาษาซี
chapter5 - คลาสนามธรรม - อินเตอร์เฟสคลาส
TECH30201 Object-Oriented Programming
Inheritance และ Encapsulation.  การสร้างหรือพัฒนาคลาสใหม่จากคลาสเดิมที่ มีอยู่แล้ว  คลาสใหม่จะนำแอตทริบิวต์และเมธอดของ คลาสเดิมมาใช้  เป็นการถ่ายทอดคุณสมบัติจากคลาสหนึ่งสู่อีก.
แนะนำการเขียนโปรแกรมภาษา C Introduction to C Programming Language
Object-Oriented Programming
เครื่องมือที่ใช้ JUnit4.8.1 on Eclipse SDK3.5.2 ขึ้นไป
การจัดการกับความผิดปกติ
Variable, Data type, Expression, Operators Data input, Data output
chapter 2 - Construction and destruction - Overloading method
บทที่ 6 ตัวแปรชุดและ สตริง รายวิชา ง การเขียนโปรแกรมเชิง วัตถุ Reading: ใบความรู้ บทที่ 6.
เริ่มต้นเขียนโปรแกรมภาษาจา วา (Introduction to JAVA Programming)
2 มิ. ย 2547 โดย วชิราวุธ ธรรมวิเศษ 1 บทที่ 1 แนะนำเทคโนโลยีจาวา Introduction to Java Technology.
Chapter 6 Abstract Class and Interface
บทที่ 3 การสืบทอด (Inheritance)
ภาษา C เบื้องต้น.
พื้นฐานโปรแกรมภาษาจาวา (Overview of Java Programming Language)
Chapter 5 การจัดการข้อผิดพลาด (Exception Handling)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โครงสร้างโปรแกรมภาษา JAVA หน่วยที่ 2 โครงสร้างโปรแกรมภาษา JAVA โดย นายจักรกฤษณ์ ทุยบึงฉิม ครู คศ.1 โรงเรียนหนองเสือวิทยาคม

 โปรแกรมภาษา JAVA ภาษาจาวา (Java Language) คือ ภาษาคอมพิวเตอร์ที่ถูกพัฒนาขึ้นโดยบริษัท ซันไมโครซิสเต็มส์ เป็นภาษาสำหรับเขียนโปรแกรมที่สนับสนุนการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ (OOP : Object-Oriented Programming) โปรแกรมที่เขียนขึ้นถูกสร้างภายในคลาส ดังนั้นคลาส (Class) คือที่เก็บเมทธอด (Method) หรือพฤติกรรม (Behavior) ซึ่งมีสถานะ (State) และรูปพรรณ (Identity) ประจำพฤติกรรม

 โปรแกรมภาษา JAVA ภาษาจาวา(Java Language) คือ ภาษาที่ถูกพัฒนาขึ้นโดยบริษัท ซันไมโครซิสเต็มส์ (Sun Microsystems Inc.) เป็นภาษาสำหรับเขียนโปรแกรมภาษาหนึ่ง มีลักษณะสนับสนุนการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ (OOP : Object-Oriented Programming) ที่ชัดเจน โปรแกรมต่าง ๆ ถูกสร้างภายใน class โปรแกรมเหล่านั้นถูกเรียกว่า method หรือ behavior โดยปกติจะเรียกแต่ละคลาสว่าวัตถุ โดยแต่ละวัตถุมีพฤติกรรมมากมาย โปรแกรมที่สมบูรณ์จะเกิดจากหลายวัตถุ หรือหลายคลาสมารวมกัน โดยแต่ละคลาสจะมีเมทธอด หรือพฤติกรรมแตกต่างกันไป

 องค์ประกอบของเทคโนโลยี JAVA JVM (Java Virtual Machine) ทำหน้าที่เป็นอินเตอร์พรีตเตอร์ JRE (Java Runtime Environment) ใช้ในการรันโปรแกรม J2SDK (Java 2 Software Development Kit) เป็นชุดพัฒนาโปรแกรมภาษาจาวา

 จุดเด่นของโปรแกรมภาษา JAVA

 ขั้นตอนการทำงานของโปรแกรมภาษา JAVA

 โครงสร้างโปรแกรมภาษา JAVA // comments about the class public class MyProgram class header { } public static void main (String[ ] args) { } method header method body class body

 คำสงวนในโปรแกรมภาษา JAVA คำสงวน (Keywords or Reserved Word) คือ คำที่ถูกสงวน หรือสำรองไว้โดยตัวแปลภาษา ที่ผู้พัฒนาไม่สามารถนำมาใช้เป็นชื่อตัวแปร ชื่อเมธอด หรือชื่อคลาส เพราะคำสงวนจะมีหน้าที่ของตนเอง ในการควบคุมโครงสร้างของโปรแกรม (Structure) เป็นชนิดของข้อมูล (Data Type) หรือคำขยายแบบของข้อมูล (Modifier) ดังนั้นตัวแปลภาษาจะประกาศคำที่ถูกสงวนไว้ล่วงหน้า มิให้ผู้พัฒนานำไปใช้ และเกิดความสับสนในการพัฒนาโปรแกรม คำสงวน 49 คำ ประกอบด้วย abstract, assert, boolean, break, byte, case, catch, char, class, const, continue, default, do, double, else, extends, final, finally, float, for, goto, if, implements, import, instanceof, int, interface, long, native, new, package, private, protected, public, return, short, static, strictfp, super, switch, synchronized, this, throw, throws, transient, try, void, volatile, while

 การแปลภาษา การประมวลผลในโปรแกรมภาษา JAVA การแปลภาษา (Compiling) d:\> javac work1.java การประมวลผล (Execution) หรือรันโปรแกรม d:\> java work1

 คำสั่งแสดงผลในโปรแกรมภาษา JAVA รูปแบบ 1 (ไม่ขึ้นบรรทัดใหม่) System.out.print (“ข้อความที่ต้องการแสดง”); คำสั่งโปรแกรม รูปแบบ 2 (ขึ้นบรรทัดใหม่) System.out.println (“ข้อความที่ต้องการแสดง”); คำสั่งโปรแกรม

 ตัวอย่างโปรแกรมภาษา JAVA (1) //นายจักรกฤษณ์ ทุยบึงฉิม class Helloworld { public static void main( String [] args) System.out.print( "Hello World! => " ); System.out.print( "jukkrit tuybungchim" ); } comments class header method header method body

 ผลการ RUN (1)

 ตัวอย่างโปรแกรมภาษา JAVA (2) //นายจักรกฤษณ์ ทุยบึงฉิม class Helloworld { public static void main( String [] args) System.out.println( "Hello World! " ); System.out.println( "jukkrit tuybungchim" ); } comments class header method header method body

 ผลการ RUN (2)

 แบบฝึกหัด ให้นักเรียนเขียนโปรแกรมภาษา JAVA แสดงชื่อ-นามสกุล, เลขที่, ระดับชั้น, อายุ, ที่อยู่ โดยแสดงผลที่ละบรรทัด ตัวอย่างผลลัพธ์ Name : Jukkrit Tuybungchim No.12 M. 5/6 Age : 25 address : nongsua patumthani

 เฉลยแบบฝึกหัด class output1 { public static void main(String [] args) { System.out.println("Name : Jukkrit Tuybingchim"); System.out.println("No.12"); System.out.println("M.5/6"); System.out.println("Age.25"); System.out.println("Address : Nongsua Patumthani"); }

 เฉลยแบบฝึกหัด (ผลการ RUN)

 คำสั่งรับข้อมูลในโปรแกรมภาษา JAVA คำสั่งที่ใช้ในการรับข้อมูลผ่านทางคีย์บอร์ดในโปรแกรมภาษา JAVA ใช้คำสั่ง Scanner โดยมีรูปแบบคำสั่ง ดังนี้ import java.util.Scanner; class inputscanner { public static void main( String [] args) { Scanner av = new Scanner(System.in); int n; System.out.print("Input number => "); n = av.nextInt(); } } นำคำสั่ง Scanner เข้ามาในโปรแกรม กำหนดตัวแปร Scanner นำค่าที่รับข้อมูลจากคีย์บอร์ดไปเก็บไว้ที่ตัวแปร n

 ตัวอย่างคำสั่งการรับข้อมูลในโปรแกรมภาษา JAVA import java.util.Scanner; class input1 { public static void main( String [] args) { Scanner av = new Scanner(System.in); int n; System.out.print("Input number => "); n = av.nextInt(); System.out.println(" number = “+n); } นำค่าที่รับข้อมูลจากคีย์บอร์ดที่เก็บไว้ที่ตัวแปร n มาแสดง

 ผลการ RUN