ชีววิทยา (Biology) มัธยมศึกษาตอนต้น.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โดย พัชรี ยันตรีสิงห์ ศึกษานิเทศก์เชี่ยวชาญ สพป.นครปฐม เขต 2
Advertisements

ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
การเสนอโครงการวิทยานิพนธ์
ENVIRONMENTAL SCIENCE
กลไกการวิวัฒนาการ.
กระบวนการวิจัย(Research Process)
ขั้นตอนในการทำวิจัย.
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
Research Problem ปัญหาการวิจัย
การวิจัยแบบกรณีศึกษา (Case Study Research) อ.สมพงษ์ พันธุรัตน์
การออกแบบการจัดการเรียนรู้ สะท้อนธรรมชาติวิทยาศาสตร์
Physiology of Crop Production
แนวคิดการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
งานนำเสนอแฟ้มสะสมผลงาน
การปลูกพืชผักสวนครัว
งานนำเสนอแฟ้มสะสมผลงาน Chalermsri Piapan
นายเกียงไกร แปลงไทยสง
นิเวศวิทยาและพฤติกรรม ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. นันทนา คชเสนี
แนวข้อสอบ - เมนเดลเป็นนักพันธุศาสตร์ที่ทำการศึกษาเกี่ยวกับเรื่อง ต้นถั่วลันเตา - ลักษณะพันธุกรรมที่ถ่ายทอดไปสู่รุ่นลูกเรียกว่า ลักษณะเด่น - ลักษณะพันธุกรรมที่ถ่ายทอดไปสู่รุ่นหลาน.
สัปดาห์ที่ 3 เรื่อง พฤติกรรมและการเปลี่ยนแปลง
การปรับตัวเข้ากับสภาพแวดล้อม
ความหลากหลายของมนุษย์ในปัจจุบัน เชื้อชาติกับวัฒนธรรม
การวางแผนและการดำเนินงาน
เรียนรู้วิทยาศาสตร์ มัธยมศึกษาปีที่1
: หัวข้อและความสำคัญของปัญหา
: หัวข้อและประเด็นปัญหา
ระเบียบวิธีวิจัยทางธุรกิจ
วิทยาศาสตร์การคิด วิทยาศาสตร์การคิด
วิธีการทางวิทยาการระบาด
หน่วยที่ 7 บทบาทพยาบาลในการส่งเสริมสุขภาพ
The General Systems Theory
ธรรมชาติของวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
เทคโนโลยีชีวภาพ เสาวลักษ์ สารรัมย์.
การวิเคราะห์ปัญหาวัยรุ่นและการช่วยเหลือ
บทบาทการบริหารงานสำนักงาน 1
นำเสนอโดย น.ส. วิไล เดชตุ้ม
โครงร่างการวิจัย (Research Proposal)
การเปลี่ยนแปลงโฉมหน้าทางการศึกษา
(Organizational Behaviors)
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานในการ พัฒนาระบบ
การวัดประเมินผลแบบดั้งเดิม
วัยรุ่นกับปัจจัยทางสังคมที่ส่งผลต่อพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ
สารสนเทศเพื่อการเรียนรู้ GHUM 1103
ใช้ในFlip Album รู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลง(Change)
ความหลากหลายทางชีวภาพ
การคัดเลือกพันธุ์พืชผสมข้าม
การปลูกพืชผักสวนครัว
ตารางวิเคราะห์ข้อมูลที่ใช้จัดทำคำอธิบายรายวิชา
กระบวนการวิจัย Process of Research
กิจกรรมเสริมสร้างทักษะชีวิต
ชีวะ ม. ปลาย.
สรุประบบเทคโนโลยี สมาชิกกลุ่ม 1.น.ส.มยุรี ริยะอุด เลขที่ 1 ม.4.10
องค์ประกอบของการทบทวนวรรณกรรม
วิธีการคิดวิเคราะห์.
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
มศว 142 วิทยาศาสตร์เพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตและสิ่งแวดล้อม
นายณัฐวุฒิ ปานแก้ว รหัส 039 คอม ปวช 1/2
การวางแผนดูแลสุขภาพตนเอง
จัดทำโดย ปฏิภาณ ไชยกุล อดิศร สุดดวง
ชุดเรียนรู้สร้างเสริมสุขภาพช่องปากนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1- 6
บทที่ 4 เทคโนโลยี.
หลักการเขียนโครงการ.
ลักษณะโครงการวิจัยที่ดี
กลุ่ม คาวาอี้ ~~ จัดทำโดย ชั้น ม.4.11 นางสาว กรรณิการ์ ใจวัง เลขที่ 7
ฟิสิกส์คืออะไร ฟิสิกส์ เป็นวิทยาศาสตร์ที่ว่าด้วยการศึกษาเกี่ยวกับ พฤติกรรมธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต สสาร พลังงาน และการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ รวมไปถึง ปรากฏการณ์ที่เกิดตามธรรมชาติต่างๆ.
วิทยาศาสตร์หมายถึงอะไร
เรียนรู้ร่วมกันเป็นทีม
วิทยาศาสตร์หมายถึงอะไร
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ชีววิทยา (Biology) มัธยมศึกษาตอนต้น

1. Introduction of biology Biology = Bios (สิ่งชีวิต) + Logos (การมีเหตุผลหรือความคิดหรือวิทยาศาสตร์) ชีววิทยา (Biology) = การศึกษาทางวิทยาศาสตร์เกี่ยวกับสิ่งมีชีวิต

2. ทำไมต้องเรียนชีววิทยา 1.มนุษย์เป็นสิ่งมีชีวิตชนิดหนึ่ง - เข้าใจถิ่นที่อยู่มนุษย์ในสิ่งแวดล้อมโลก การอยู่ร่วมกันของมนุษย์กับพวกจุลชีพต่างๆ และความสัมพันธ์ของมนุษย์กับสิ่งมีชีวิตอื่นๆในโลกนี้ 2.มนุษย์เลือกวิถีการดำรงชีวิตและดูแลสุขภาพของตน -เข้าใจกลไกพื้นฐานและผลของการกิน การนอน การออกกำลังกาย การสูบบุหรี่ และกิจกรรมทั่วไป เพื่อเลือกวิธีที่เหมาะสมที่สุดมาใช้ในการดำรงชีวิตของตนเอง

3.มนุษย์มีอาการเจ็บป่วย - บอกสภาพปกติและสภาพเจ็บป่วยของร่างกาย - เข้าใจกลไกในร่างกายในภาวะที่มีสุขภาพดีและภาวะเจ็บป่วย สามารถตัดสินใจเข้ารับการรักษา 4. ยุควิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่มีความซับซ้อนมาก -เข้าใจเกี่ยวกับการคัดยีน การตัดต่อยีน ว่ามีโทษหรือประโยชน์อย่างไร หากนำมาใช้

5.ประชากรโลกเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วและมนุษย์เป็นผู้ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลง -ช่วยให้สามารถติดตามข่าวสารจากสื่อต่างๆรวมทั้งสามารถช่วยสิ่งมีชีวิตอื่นๆได้ด้วย 6. สามารถเลือกอาชีพได้

สมบัติของสิ่งมีชีวิต สมบัติของสิ่งมีชีวิตใช้ในการดำรงชีพในแต่ละวัน 1.ความมีระเบียบแบบแผน (order) - สมองที่มีการจัดระเบียบแบบแผนที่แน่นอนทำให้มนุษย์สามารถอ่าน เขียน และเข้าใจสิ่งที่กำลังเรียนได้ 2.การปรับตัว(adaptation) -เพื่อให้สามารถดำรงชีวิตในสภาพแวดล้อมต่างๆได้อย่างเหมาะ

-เพื่อการเจริญ การสืบพันธ์เพื่อให้โอกาสมีลูกหลานต่อไป -ผ่านกระบวนการคัดเลือกโดยธรรมชาติ(natural selection) สิ่งมีชีวิตที่มีลักษณะเหมาะสมกับสภาพแวดล้อมที่ใช้ดำรงชีวิตนั้นๆมากขึ้นเรียกว่าสิ่งมีชีวิตชนิดนั้นได้มี “การปรับตัว”ให้เหมาะกับสิ่งแวดล้อม 3.เมแทบอลิซึม(metabolism) -กระบวนการสลายโมเลกุลของสารอาหารเพื่อให้ได้พลังงานและหน่วยย่อยของชีวโมเลกุล รวมทั้งการสร้างสิ่งมีชีวิตหน่วยใหม่ และการขับของเสียออกสู่สิ่งแวดล้อมภายนอก

4.ภาวะธำรงดุล (homeostasis) -กลไกการควบคุมสิ่งแวดล้อมภายในร่างกายให้คงที่ 5.การเคลื่อนไหว(movement) -เพ่อการอยู่รอด 6.การตอบสนองต่อสิ่งเร้า (responsiveness) -เพื่อสามารถดำรงชีวิตรอดได้ อาจเกิดทันทีทันใด หรือค่อยเป็นค่อยไป และเปลี่ยนไปตามฤดูกาล -ตอบสนองได้ทั้งสิ่งเร้าภายนอกและภายในร่างกาย

สมบัติของสิ่งมีชีวิตเพื่อการดำรงพันธุ์ 7 สมบัติของสิ่งมีชีวิตเพื่อการดำรงพันธุ์ 7.การสืบพันธุ์ (reproduction) -เพื่อสร้างสิ่งมีชีวิตใหม่ มี 2 แบบ คือ การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศ และ กรสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศ 8. การเจริญ (development) -กระบวนการที่มีทั้งการเติบโตและการเปลี่ยนแปลงของเซลล์ 9.การสืบทอดทางพันธุกรรม (heritability) -ผ่านทางหน่วยพันธุกรรมที่เรียกว่า “ยีน” (gene) ซึงประกอบด้วยสารพันธุกรรมที่เรียกว่า DNA อยู่ภายใน chromosome

10.วิวัฒนาการ (evolution) -กระบวนการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นในประชากรของสิ่งมีชีวิตจากรุ่นบรรพบุรุษที่สืบทอดต่อเนื่องกันมาเป็นระยะเวลานานและคงดำเนินต่อไปอย่างไม่มีวันสิ้นสุด -กระบวนการที่สภาพแวดล้อมทางธรรมชาติทำหน้าที่คัดเลือกสิ่งมีชีวิตมีลักษณะเหมาะสมให้ดำรงคงอยู่ได้ เรียกว่า “การคัดเลือกโดยธรรมชาติ” โดย ชาร์ล ดาร์วิน (charles Darwin) “บิดาแห่งวิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต”

ลำดับชั้นและการจัดระดับของสิ่งมีชีวิต

วิธีศึกษาชีววิทยา - ศึกษาความจริงและปรากฎการณ์ที่เกิดขึ้นในสิ่งมีชีวิตโดยใช้หลักวิธีการศึกษาทางวิทยาศาสตร์ มี 2 แบบ คือ 1) วิทยาศาสตร์การค้นพบ (discovery science) -เป็นการค้นหาความจริงจากการสังเกตปรากฎการณ์ที่เกิดขึ้นในธรรมชาติอย่างละเอียดรอบคอบแล้วรวบรวมข้อมูลเพื่อหาความจริงของปรากฎการณ์นั้นๆ จากข้อมูลที่สังเกตได้ ทำให้ได้ข้อสรุปที่เป็นความจริงได้

2) วิทยาศาสตร์การตั้งสมมติฐาน (hypothetical deductive science) - scientific method เป็นวิธีการที่มีการตั้งสมมติฐานที่น่าจะเป็นคำอธิบายปรากฎการณ์ที่เกิดขึ้นแล้วดำเนินการพิสูจณ์สมมติฐานที่ตั้งไว้ตามลำดับ ประกอบด้วย 1) กำหนดขอบเขตของคำถาม (question) หรือกำหนดปัญหา (problem) ที่สนใจ 2) ตั้งสมมติฐาน (hypothesis) ทำนายผล (prediction)

3)วางแผนการทดลอง (experimental design) 4)วิเคราะห์ข้อมูล (data analysis) เพื่อหาข้อสรุป (conclusion) ถ้าผลการทดลองที่ได้ไม่เป็นไปตามสมมติฐาน ต้องตั้งสมมติฐานใหม่และทำการทดลองใหม่

วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี -เทคโนโลยีชีวภาพ (biotechnology) ซึ่งเกี่ยวข้องกับองค์ประกอบหลัก 3 อย่าง คือ 1) สิ่งมีชีวิต 2) กระบวนการผลิต 3) ผลิตภัณฑ์

คำถาม 1.สมบัติของสิ่งมีชีวิตที่ใช้ในการดำรงชีวิตประจำวันมีอะไรบ้าง 2.สมบัติของสิ่งมีชีวิตในการดำรงเผ่าพันธุ์มีอะไรบ้าง 3.ปัจจัยหลักที่เป็นสาเหตุในการเกิดวิวัฒนาการคืออะไร 4.อธิบายความหมายของการศึกษาชีววิทยาทั้ง2แบบ