นโยบายการให้บริการวัคซีนป้องกันโรค ไข้หวัดใหญ่ ประจำปี 2557 นโยบายการให้บริการวัคซีนป้องกันโรค ไข้หวัดใหญ่ ประจำปี 2557 นายชัยวัฒน์ ทองไหม ผู้ช่วยนายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดนครราชสีมา กลุ่มงานควบคุมโรคห่วงใย อยากเห็นคนไทยสุขภาพดี
บุคลากร เริ่ม 2547 ประชาชน เริ่ม 2551 การขยายบริการวัคซีนไข้หวัดใหญ่ ในประเทศไทย บุคลากร เริ่ม 2547 ประชาชน เริ่ม 2551
Interventional Patient Hygiene (IPH): วัตถุประสงค์ ลดอุบัติการณ์การเจ็บป่วย และเสียชีวิตจากไข้หวัดใหญ่ ในประชาชนกลุ่มที่มีความเสี่ยงต่อโรคสูง ลดโอกาสการแพร่กระจายเชื้อไข้หวัดใหญ่ ระหว่างบุคลากรทางการแพทย์ และผู้ป่วยที่มารับการรักษาที่คลินิกของโรงพยาบาล ลดโอกาสการกลายพันธุ์ของเชื้อไข้หวัดนก ที่อาจทำให้การแพร่กระจายในมนุษย์เป็นได้ง่ายขึ้น
ทำไมต้องใช้วัคซีนไข้หวัดใหญ่ในประเทศไทย? เพื่อลดโรค ลดโรคและลดตาย ในประชาชนกลุ่มเสี่ยง รายงานเฝ้าระวังโรค พบ 20,000-50,000 รายต่อปี เสียชีวิต 10 รายต่อปี ลดบุคลากรติดโรค และแพร่ต่อให้ผู้ป่วย การศึกษาพบ ปอดบวมจากไข้หวัดใหญ่ > 900,000 รายต่อปี และไข้หวัดใหญ่เป็นสาเหตุ 10 % ของการนอนโรงพยาบาล กลุ่มเสี่ยง: COPD, หอบหืด, โรคหัวใจ ผู้สูงอายุ เด็กเล็ก
Interventional Patient Hygiene (IPH): กลุ่มเป้าหมาย ประชาชนทุกกลุ่มอายุ ที่ป่วยเป็นโรคเรื้อรัง 7 กลุ่มโรค ได้แก่ ปอดอุดกั้นเรื้อรัง, หอบหืด, หัวใจ, หลอดเลือดสมอง, ไตวาย, มะเร็งที่ได้รับเคมีบำบัด, เบาหวาน อายุ > 65 ปี /หญิงตั้งครรภ์ > 4 เดือน / เด็กอายุ 6 เดือน - 2 ปี บุคลากรกลุ่มเสี่ยงตามยุทธศาสตร์ป้องกันแก้ไข และเตรียมพร้อมรับปัญหาโรคไข้หวัดนก และการระบาดของไข้หวัดใหญ่
Interventional Patient Hygiene (IPH): แผนฯ บุคลากร 11,847 1 พค.-30 มิย.57 1 dose/vial ประชาชน 118,807 1พค.-30 มิย. 2557 4 doses/vial จำนวนบริการ วันดำเนินการ ขนาดวัคซีน
Interventional Patient Hygiene (IPH): แนวทางดำเนินการ สปสช สธ ประชาชน บุคลากร
Interventional Patient Hygiene (IPH): จัดซื้อ กระจายวัคซีน ตรวจสอบเป้าหมาย ชี้แจงแนวทาง สรุปผลบริการ ประเมินผล แนวทางดำเนินการ สธ บุคลากร
Interventional Patient Hygiene (IPH): แนวทางดำเนินการ สปสช สธ สนับสนุนการดำเนินการ จัดทำคู่มือแนวทาง จัดประชุมชี้แจง ประชาสัมพันธ์วงกว้าง เฝ้าระวัง แก้ไขปัญหา อาการข้างเคียงจากวัคซีน ติดตามประเมินผล (โดยสำนักตรวจฯ ) หน่วยบริการให้บริการ จัดซื้อ กระจายวัคซีน (ผ่าน VMI) ตรวจสอบเป้าหมาย จัดแนวทางการให้บริการ สนับสนุนงบประมาณ ทั้งในส่วนกลาง และพื้นที่ ร่วมติดตามประเมินผล จัดแนวทางการรายงานผลบริการ (ผ่าน website ) ประชาชน
การดำเนินงานของหน่วยบริการในจังหวัดนครราชสีมา จัดประชุมทำความเข้าใจ โรงพยาบาลทุกแห่งทำแผน การให้บริการ และจัดระบบประสานงานการดำเนินงาน และข้อมูลให้แล้วเสร็จ ภายในวันที่ 8-12 พฤษภาคม 2557 โรงพยาบาลทุกแห่งให้บริการ ภายในวันที่ 14 พฤษภาคม 2557- 30มิถุนายน 2557 การฉีดวัคซีนเน้นความปลอดภัย และต้องทำความเข้าใจประชาชนทั้งที่ฉีดวัคซีน และไม่ฉีดวัคซีน ให้มากที่สุด การฉีดวัคซีนเป็นไปโดยสมัครใจ
การจัดคลินิกบริการ และการจัดทำทะเบียนผู้รับบริการ ให้แต่ละอำเภอแต่งตั้งคณะกรรมการและบริหารจัดการในอำเภอตนเอง โดยมีกรอบดังนี้ จัดบริการในโรงพยาบาล 1. หน่วยบริการฉีดวัคซีนโดยเฉพาะ 2. คลินิก ANC 3. คลินิกเฉพาะโรค 4. คลินิกทั่วไป ให้กำหนดผู้ประสานงานทุกโรงพยาบาล
การจัดคลินิกบริการ และการจัดทำทะเบียนผู้รับบริการ การจัดบริการในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล 1.จัดหน่วยบริการฉีดวัคซีนโดยเฉพาะ 2.เตรียมรถยาบาลฉุกเฉิน(EMS) พร้อมเจ้าหน้าที่ ให้กำหนดผู้ประสานงานทุกรพสต.
กรอบแนวทางในการติดตามประเมินผล การติดตาม (Monitoring) การดำเนินงาน ระยะก่อนดำเนินการให้บริการฯ ระยะระหว่างการดำเนินการให้บริการฯ ระยะหลังดำเนินการให้บริการฯ การประเมินผล (Evaluation) การให้วัคซีน
กรอบแนวทางในการนิเทศติดตามประเมินผล แบ่งได้เป็น 3 ระยะ คือ ระยะก่อนดำเนินการให้บริการฯ การสำรวจและจัดทำทะเบียนประชากรกลุ่มเป้าหมาย การประสานงานหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง การอบรมทำความเข้าใจในการจัดบริการ การประชาสัมพันธ์ การจัดทำแผนการให้บริการการจัดเตรียมวัสดุ อุปกรณ์ และเครื่องมือในการเก็บรักษาวัคซีนในการให้บริการ แผนการจัดการ AEFI
กรอบแนวทางในการนิเทศติดตามประเมินผล แบ่งได้เป็น 3 ระยะ คือ กรอบแนวทางในการนิเทศติดตามประเมินผล แบ่งได้เป็น 3 ระยะ คือ ระยะระหว่างการดำเนินการให้บริการฯ การจัดระบบให้บริการ การติดตามประชากรกลุ่มเป้าหมายให้มารับบริการ การติดตามอาการภายหลังได้รับวัคซีน ระยะหลังดำเนินการให้บริการฯ ติดตามความครอบคลุมของการให้บริการ ประชากรกลุ่มเป้าหมาย ติดตามอัตราการสูญเสียวัคซีนในการให้บริการ
ตัวชี้วัดหลักในการประเมินผล (Evaluation) อัตราการได้รับวัคซีนของประชากรกลุ่มเป้าหมาย ไม่ต่ำกว่าร้อยละ 25 อัตราการสูญเสียวัคซีนในการให้บริการ น้อยกว่าร้อยละ 5
จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ได้รับวัคซีน อัตราการได้รับวัคซีนของกลุ่มเป้าหมาย จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ได้รับวัคซีน X 100% โดยพิจารณาจาก ข้อมูลที่ได้จากการบันทึกข้อมูลผ่านระบบที่ทางสำนักงาน ประกันสุขภาพแห่งชาติกำหนด (ผ่านระบบเครือข่ายทางคอมพิวเตอร์) และรายงานอื่นๆ ตั้งเป้าหมายของผลการดำเนินงานในครั้งนี้ไว้ คือ มีอัตราการได้รับวัคซีนของกลุ่มเป้าหมาย ไม่ต่ำกว่าร้อยละ 25
อัตราการสูญเสียวัคซีนในการให้บริการ (Wastage rate) จำนวนวัคซีนที่เบิก จำนวนวัคซีนที่เบิก-จำนวนคนที่ได้รับวัคซีน X 100% โดยพิจารณาจาก ข้อมูลที่ได้จากระบบบริหารวัคซีนคงคลัง (ผ่านระบบ VMI) และจำนวนวัคซีนที่ให้บริการในโครงการฯ ตั้งเป้าหมายของผลการดำเนินงานในครั้งนี้ไว้ คือ มีอัตราการสูญเสียวัคซีนในการให้บริการในโครงการฯ ไม่เกินกว่าร้อยละ 5
การควบคุมกำกับและประเมินผล 1. ให้ทุกอำเภอ ตรวจสอบความครอบคลุมของการได้รับวัคซีนไข้หวัดใหญ่ทุกเดือน หากพบว่า ไม่บรรลุตามเป้าหมาย ให้พิจารณาหาข้อบกพร่อง ปรับแผนและปรับ กลยุทธ์ในการดำเนินงาน เพื่อให้บรรลุเป้าหมาย สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด จะรายงานผลการดำเนินงานให้ผู้บริหารทราบในที่ประชุมประจำเดือนทุกเดือนจนกว่าจะเสร็จสิ้นโครงการ
การควบคุมกำกับและประเมินผล 2. สำนักงานสาธารณสุขอำเภอและคลังวัคซีนระดับอำเภอ ตรวจสอบควบคุมกำกับ การเบิก-จ่ายวัคซีนที่ใช้ในงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคของสถานบริการในเครือข่ายหลักประกันสุขภาพ เพื่อให้การเบิก-จ่ายวัคซีนเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ 3. สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด นิเทศ ติดตาม ประเมินผลด้านการบริหารจัดการวัคซีนและระบบลูกโซ่ความเย็นคลังวัคซีนระดับอำเภอ ทุกแห่ง และสุ่มสถานบริการในแต่ละอำเภออย่างน้อย 1 แห่ง เพื่อติดตามประเมินผลการดำเนินงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค ตามแบบประเมินมาตรฐานฯ
การควบคุมกำกับและประเมินผล 4. สำนักงานสาธารณสุขอำเภอและโรงพยาบาลแม่ข่าย ( CUP ) นิเทศ ติดตามประเมินผลการดำเนินงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคของสถานบริการในเครือข่าย ตามแบบประเมินมาตรฐานฯ
สวัสดีครับ