Software Chapter 2 วิชา Business Information System

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
System Requirement Collection (2)
Advertisements

ซอฟแวร์ SOFTWARE น า ง ส า ว ฐ ิ ติ ม า น า ม ว ง ศ์ เ ล ข ที่ 4 3 ชั้ น ม. 4 / 7.
BY KIADTIPONG YORD. CHANDRA 2004 :: COMPUTER NETWORK ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ และการกระจาย Computer Network and Distributed LAN Software เกียรติพงษ์ ยอดเยี่ยมแกร.
การจัดทำเว็บไซต์สำเร็จรูปด้วยโปรแกรม Joomla!
จัดทำโดย น. ส. ดวงกมล งามอยู่เจริญ เลขที่ 8 น. ส. ณัชชา เชื้อตา เลขที่ 6 เตรียมบริหารธุรกิจปี 1.
Fix common PC problems จัดทำโดย เตรียมสถาปัตยกรรมศาสตร์ ปี 1 นาย ภูวิศ นิ่มตระกูล เลขที่ 27 นาย วีรภัทร ท้วมวงษ์ เลขที่ 30.
คอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI)
Information and Communication Technology Lab2
ซอฟต์แวร์ระบบที่รู้จักกันดี คือซอฟต์แวร์ควบคุมการปฏิบัติการ ของคอมพิวเตอร์ที่เรียกว่า ระบบปฏิบัติการ ระบบปฏิบัติการเป็นชุดคำสั่งที่ใช้ควบคุมระบบฮาร์ดแวร์และ.
FIX COMMON PC PROBLEMS By Missis Jatuporn Surinseng Missis Chamaiporn Sommit.
Computer in Business เรื่อง การใช้งาน Access เบื้องต้น.
งานบุคลากร กลุ่มพัฒนาระบบคอมพิวเตอร์ ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศ
Database & DBMS Architecture วรวิทย์ พูลสวัสดิ์. 2 2 ฐานข้อมูล (Database) - Data and its relation - Databases are designed to offer an organized mechanism.
และสร้างเว็บไซต์ประเภทCMS
ซอฟต์แวร์และการเลือกใช้
ประเภทโครงงาน พัฒนาระบบ (System Development)
ซอฟต์แวร์ที่น่าสนใจ จัดทำโดย น.ส. จิตรวรรณ เอกพันธ์ sc คณะวิทยาศาสตร์ วิชาเอกคณิตศาสตร์ (กศ.บ.)
การรักษาความปลอดภัยข้อมูลขั้นพื้นฐาน
โปรแกรมสต๊อกสินค้า และ โปรแกรมขายหน้าร้าน Nanosoft Smart INV.NET วิชาโปรแกรมสำเร็จรูปและการ ประยุกต์ใช้งาน อ. วิสุตร์ เพชรรัตน์
จุดประสงค์การเรียนรู้ นักเรียนบอกองค์ประกอบของระบบ คอมพิวเตอร์ได้ สาระการเรียนรู้ ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ บุลากร คอมพิวเตอร์ ข้อมูล.
ซอฟต์แวร์ Software รายวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ 3. ความหมายและความสำคัญของซอฟต์แวร์ ซอฟต์แวร์ (Software) หมายถึง ชุดคำสั่งหรือโปรแกรม ที่คอยสั่งการให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทำงาน.
CSIT-URU อ. กฤษณ์ ชัยวัณณคุปต์ Mathematics and Computer Program, URU บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับ เทคโนโลยีสารสนเทศ Introduction to Information.
PORTABLE ELECTRONIC DEVICES SECURITY การรักษาความปลอดภัยของข้อมูลในกรณีที่ ใช้อุปกรณ์ที่พกพาได้
วิทยาเขตมีบริการอะไรให้บ้าง การบริการ บัญชีผู้ใช้และรหัสผ่าน สำหรับใช้งาน Internet สามารถ ติดต่อขอ บัญชีผู้ใช้และรหัสผ่าน (Password) ด้วย ตนเอง บัตรประจำตัวพนักงาน.
นาย สรวิศ เตธัญญวรากูล ปวช.3/2 นาย ศิวกร มาลี ปวช.3/2.
Open Source Software. Open Source ซอฟต์แวร์ที่ไม่เก็บค่าลิขสิทธิ์กับผู้ใช้ เปิดเผยต้นฉบับรหัสซอฟต์แวร์ (Source Code) อนุญาตให้แก้ไข ดัดแปลง เผยแพร่ โปรแกรมต้นฉบับ.
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ วิชาคอมพิวเตอร์พื้นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเฉลิมราชประชาอุทิศ.
ผลการดำเนินงาน ปีงบ ๒๕๕๘ ( ร่าง ) แผนปฏิบัติการฯ ปี งบ ๒๕๕๙ กลุ่มงานบริหารทั่วไป สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดตราด.
บทที่ 3 นักวิเคราะห์ระบบและการ วิเคราะห์ระบบ. 1. นักวิเคราะห์ระบบ (System Analysis) 1.1 ความหมายของนักวิเคราะห์ระบบ นักวิเคราะห์ระบบ (System Analysis:
เรื่อง ภาษาซีเบื้องต้น จัดทำโดย นางสาวชาดา ศักดิ์บุญญารัตน์
ซอร์ฟแวร์ ( Software ). Microsoft excel Microsoft excel Microsoft power point.. Link Link.
วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อชีวิต
บทที่ 5 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ Microsoft Windows
เทคโนโลยีพื้นฐานของระบบสารสนเทศ
หน่วยที่ 1 ข้อมูลทางการตลาด. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของข้อมูลทางการตลาด 2. ความสำคัญของข้อมูลทางการตลาด 3. ประโยชน์ของข้อมูลทางการตลาด 4. ข้อจำกัดในการหาข้อมูลทาง.
ระบบการจัดการเรียนการสอนผ่านเว็บ Learning Management System : LMS
การใช้ Social Media เพื่อการสื่อสาร
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ PHP Introduction to PHP
ภาษาวิชวลเบสิก (Visual Basic language).
บทที่ 1 สถาปัตยกรรมของระบบฐานข้อมูล (Database Architecture)
การพัฒนาการใช้งานในระบบเว็บ
Information and Communication Technology Lab2
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
+ Software บทที่ 3 ซอฟต์แวร์ระบบสารสนเทศ Hardware
บทที่ 5 ระบบจัดการฐานข้อมูล
ภาษาคอมพิวเตอร์ (Computer Language)
บทที่ 1 ระบบสารสนเทศ (Information System)
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
Software Engineering ( )
บทที่ 3 แฟ้มข้อมูลและฐานข้อมูล
Information System MIS.
บทที่ 8 การควบคุมระบบสารสนเทศทางการบัญชี : การควบคุมเฉพาะระบบงาน
มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม
ระบบการจัดการคลินิกครบวงจร
บทที่ 3 ซอฟต์แวร์ประยุกต์
แนวคิดเกี่ยวกับระบบสารสนเทศ
โครงการจัดทำระบบฐานข้อมูล วัตถุเสพติดของกลาง (ระยะที่1)
หน่วยที่ 3 การประมวลผลข้อมูลให้เป็นสารสนเทศ
บทที่ 6 แนวคิดเทคโนโลยีเสมือนจริง
บริษัท พัฒนาวิชาการ (2535) จำกัด
SMS News Distribute Service
By Juthawut Chantharamalee
บทที่ 9 การเรียงลำดับข้อมูล (Sorting)
การวิจัยทางการท่องเที่ยว
4 เทคโนโลยีสารสนเทศ สังคมเครือข่าย
บทที่ 7 การบริหารงานขนส่ง ( Transportation Management System : TMS )
บรรยายโดย คุณครูกิริยา ทิพมาตย์ สพม. เขต 23
บทที่ 4 การให้บริการแพลตฟอร์ม Platform as a service(PaaS) 4.1 ความหมาย
ระบบปฏิบัติการ ( OS – Operating System )
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Software Chapter 2 วิชา Business Information System อ. สุรินทร์ทิพ ศักดิ์ภูวดล

ความหมาย Program : คือ ชุดคำสั่งที่เขียนขึ้นมาเรียงเป็นลำดับ ขั้นตอน เพื่อให้คอมพิวเตอร์ทำงานตามคำสั่งนั้น Software : คือ ชุดคำสั่ง หรือโปรแกรมที่เขียนขึ้นมา เพื่อสั่งให้คอมพิวเตอร์ทำงานใดๆ ได้ ภายใน Software จะประกอบไปด้วยโปรแกรมหลายโปรแกรม Application : คือ Software ที่สร้างขึ้นมาเพื่อใช้งานเฉพาะด้าน ซึ่งภายใน Application หนึ่งๆ อาจประกอบด้วย Software หลายชุดประสานการทำงานเข้าด้วยกัน หมายเหตุ : แต่ในปัจจุบันคนจะใช้ 3 คำนี้ในความหมายเดียวกัน

เปรียบเทียบการเขียนคำสั่ง “ให้นำ 2 บวกกับ 5 และนำผลลัพธ์ที่ได้เก็บไว้ในตัวแปร Y” ของภาษาในยุคต่างๆ ภาษา ลักษณะคำสั่ง ยุคที่ 1 ภาษาเครื่อง หรือ(ภาษาระดับล่าง) 00000101 00001000 00000010 00000000 00001100 00010000 00010000 00000000 00000101 00001010 00000010 00000000 00001100 00010000 00010000 00000100 00000101 00000000 00000010 00000000 00001100 00000001 00000000 00000000 ยุคที่ 2 ภาษา Assembly (ภาษาระดับล่าง) L R2, = F2’ A R2, = F5’ ST R2, Y ยุคที่ 3 (ภาษาระดับสูง) FORTRAN: Y=2+5 COBOL: add 2,5 giving Y BASIC: let Y=2+5; C: Y=2+5; ยุคที่ 4 Visual Basic: Y=2+5 ยุคที่ 5 Add 2 and 5 and assign the result to variable Y

Programming Language ภาษาในยุคที่ 1 (First Generation Language: 1GL) - คอมพิวเตอร์อ่านแล้วเข้าใจได้ทันที เรียกว่า “ภาษาเครื่อง (Machine Language)” เป็นเลขฐาน 2 (Binary Code คือ 0,1) - ไม่ต้องผ่านตัวแปรภาษา เช่น ภาษา ASCII - ข้อดี คอมพิวเตอร์เข้าใจได้ทันทีเพราะเป็น เลขฐาน 2 ภาษาในยุคที่ 2 (Second Generation Language: 2GL) - หรือเรียกว่า “ภาษาสัญลักษณ์ (Symbol Language)” เขียนคำสั่งสั้นลง - เช่น ภาษา Assembly - Assembly จะมีตัวแปลภาษาเช่น Assembler เพื่อให้เป็นภาษาที่เครื่องเข้าใจ - ตัวอย่างคำสั่งเช่น A แทนคำสั่ง Add - ข้อดี สามารถเขียนคำสั่งควบคุมอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ได้โดยตรง การประมวลผลเร็ว

Programming Language ภาษาในยุคที่ 3 (Third Generation Language: 3GL) - เป็นภาษาระดับสูง สามารถเขียนโปรแกรมโดยคำสั่งเป็นภาษาอังกฤษที่ยาวขึ้น มนุษย์เข้าใจง่ายขึ้น กว่าภาษายุคที่ 2 ทำให้ผู้เขียนสามารถเขียนโปรแกรมได้ง่ายขึ้น - เป็น Procedural Language เป็นการเขียนคำสั่งตามลำดับขั้นตอน - มีตัวแปลภาษา เพื่อให้เครื่องเข้าใจคำสั่ง - หากพัฒนาโปรแกรมขนาดใหญ่ จะใช้เวลาในการพัฒนามาก - BASIC, PASCAL, FORTRAN,COBOL, C, PL/1, Ada C++, C#, Java, PHP , JavaScript  - Advanced 3GL (มีคุณลักษณะ 4GL บางส่วน) : Python, Ruby, Perl  - Python, Java ไม่ยึดติดกับแพลตฟอร์ม (สามารถ Run บน OS Window, Linux และอื่นๆ)

Programming Language ภาษาในยุคที่ 4 (Fourth Generation Language: 4GL) - เนื่องจาก โปรแกรมที่ใช้ภาษาที่ 3 ในการทำงาน 1 งาน จะต้องเขียนหลายคำสั่ง หรือหลายบรรทัด ภาษาในยุคที่ 4 จึงปรับปรุงให้การเขียนโปรแกรม ให้กระชับขึ้น และง่ายขึ้นสำหรับผู้พัฒนา - ภาษาในยุคที่ 4 เป็นภาษาระดับสูง พัฒนาจากภาษาที่ 3 ในภาษายุคที่ 4 นี้คำสั่งที่ใช้บางคำสั่งจะสั้นลงแต่ทำงานได้เท่ากับภาษาที่ 3 หลายบรรทัด เช่น คำสั่ง Plot graph ของ MATLAB : plot(x,y)

Programming Language Database Management Report Generation ภาษาในยุคที่ 4 (Fourth Generation Language: 4GL) จะสนับสนุนงานดังนี้ Database Management เป็นภาษาที่สามารถเขียนคำสั่งเพื่อเข้าถึง ฐานข้อมูล Report Generation เป็นภาษาที่มีความสามารถในการสร้างรายงาน Mathematical Optimization เป็นภาษาที่สนับสนุนการแก้ปัญหา ทางคณิตศาสตร์เพื่อการหาทางเลือกที่ดีที่สุด GUI Development สนับสนุนการสร้างหน้าจอที่เป็น ส่วนต่อประสานกราฟิกกับผู้ใช้ (Graphical User Interface, GUI) Web Development. สนับสนุนการสร้าง Web application

Programming Language ภาษาในยุคที่ 4 (Fourth Generation Language: 4GL) - PowerBuilder, FOCUS, NOMAD, RAMIS, SQL - R (ภาษาที่เหมาะกับงานทางสถิติ) - MATLAB (การแก้ปัญหาเชิงตัวเลข และสถิติ การสร้างกราฟ) - Visual Programming : Visual Basic, Visual Basic.Net - Object-Oriented Programming : Visual C++

ตัวอย่างการใช้ภาษา R ทางสถิติ Programming Language ตัวอย่างการใช้ภาษา R ทางสถิติ mean(weightes) min(weightes) https://www.youtube.com/watch?v=_SdayVklnyc

Programming Language ภาษาในยุคที่ 5 (Fifth Generation Language: 5GL) สำหรับพัฒนา Software เพื่อระบบผู้เชี่ยวชาญ (Expert System:ES) และปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence :AI) ภาษาในยุคที่ 5 เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า “ภาษาธรรมชาติ (Natural Language)” ตัวอย่างภาษาในยุคที่ 5 คือ ภาษา OPS5 and Mercury

Programming Language ภาษาที่สนับสนุน Object-oriented ภาษา 3GL และ 4GL ที่สนับสนุนการเขียนโปรแกรม แบบ Object-oriented หรือ Object-oriented languages ประกอบด้วย   - 3GL: Java, C++, C#, PHP, JavaScript -Advanced 3GL (มีคุณลักษณะ 4GL บางส่วน) : Python, Ruby, Perl - 4GL: MATLAB หมายเหตุ: สำหรับบางภาษาเช่น C++ และ JAVA นั้นจะพบว่าในหนังสือบางเล่มจะจัดอยู่ในกลุ่ม 3GL บางเล่มอยู่ใน 4GL

ประเภทของ Software ผู้ใช้ (User) ซอฟต์แวร์ประยุกต์ (Application Software) ซอฟต์แวร์ระบบ (System Software) ฮาร์ดแวร์ (Hardware) ภาพที่ 1 แสดงลำดับการติดต่อระหว่างผู้ใช้ Software และ Hardware จะพบว่าระหว่างผู้ใช้(User) และ Hardware ตรงกลางจะมี Software คอยจัดการ และควบคุมการทำงานของ Hardware ให้เป็นไปตามความต้องการของผู้ใช้

ซอฟต์แวร์ระบบ (System Software)

ซอฟต์แวร์ระบบ (System Software) ซอฟต์แวร์ระบบ ซอฟต์แวร์ระบบ คือชุดคำสั่งหรือโปรแกรมที่สร้างขึ้นมาเพื่อใช้จัดการกับระบบ จะทำหน้าที่ควบคุมการทำงานของคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่างๆ เช่นการนำเข้าข้อมูลของอุปกรณ์นำเข้า การประมวลผลของหน่วยประมวลผล การจัดสรรหน่วยความจำสำรอง และการแสดงผลของอุปกรณ์แสดงผล เป็นต้น เมื่อผู้ใช้เริ่มเปิดเครื่อง Computer การทำงานจะเป็นไปตามชุดคำสั่งที่เขียนขึ้น ชุดคำสั่งนั้นคือ “ซอฟต์แวร์ระบบ” นั่นเอง ซอฟต์แวร์ระบบ แบ่งเป็น 3 ประเภทดังภาพ

ซอฟต์แวร์ระบบ (System Software) ซอฟต์แวร์สำหรับ ซอฟต์แวร์สนับสนุนระบบ ตัวแปลภาษา การจัดการระบบ 1. ระบบปฏิบัติการ (OS) 2. ระบบจัดการฐานข้อมูล โปรแกรมอรรถประโยชน์ (DBMS) แสดงประเภทของซอฟต์แวร์ระบบ

System Software ระบบปฏิบัติการ (Operating System: OS) An operating system (OS) is a set of computer programs that manage the hardware and software resources of a computer. ระบบปฏิบัติการ (Operating System: OS) เป็นส่วนประกอบที่สำคัญที่สุดของซอฟต์แวร์ระบบ (System Software) ทำหน้าที่จัดการหรือควบคุมทรัพยากรต่างๆของคอมพิวเตอร์ ซึ่งจะรวมถึงการจัดสรรอุปกรณ์ Hardware, Program และข้อมูลต่างๆ เช่น OS จะจำแนกข้อมูลนำเข้าที่รับมาจาก Keyboard, Mouse จากนั้น จึงแสดงผลตามเงื่อนไขหรือคำสั่งเช่น แสดงผลทางจอภาพ หรือเครื่องพิมพ์เป็นต้น หรือสั่งให้จัดเก็บข้อมูลลงในอุปกรณ์จัดเก็บ ระบบปฏิบัติการ (Operating System: OS) จะถูกพัฒนามาจากภาษา - ภาษา Assembly - ภาษา C, C++ และอื่นๆ

ระบบปฏิบัติการ (Operating System: OS) โปรแกรมระบบปฏิบัติการ (Operating Systems : OS) โปรแกรมที่สำคัญที่สุดอีกประการหนึ่งช่วยให้คอมพิวเตอร์สามารถควบคุม (Control) การปฏิบัติงานของเครื่องได้เองโดยอัตโนมัติ และดูแลตรวจตราทุก ๆ การทำงานของฮาร์ดแวร์ในระบบคอมพิวเตอร์ นับตั้งแต่เปิดเครื่องจนกระทั่งปิดเครื่อง    หน้าที่หลัก ๆ ของโปรแกรมระบบปฏิบัติการ มีดังนี้                        1) การจัดสรรทรัพยากรคอมพิวเตอร์                        2) การจัดตารางงาน (Scheduling)                        3) การติดตามผลของระบบ (Monitoring)                        4) การทำงานหลายโปรแกรมพร้อมกัน (Multiprogramming)                       5) การจัดแบ่งเวลา (Time Sharing)                       6) การประมวลผลหลายชุดพร้อมกัน (Multiprocessing) http://dusithost.dusit.ac.th/~librarian/it107/C4.htm

ระบบปฏิบัติการ (Operating System) System Software Operating System ประเภทการทำงาน ระบบปฏิบัติการ (Operating System) Stand-alone (ระบบปฏิบัติการสำหรับเครื่องคอมพิวเตอร์แบบ Stand-alone) เมื่อนำเครื่อง Stand-alone ไปเชื่อมต่อระบบ LAN และ Internet เรียกว่า Client - DOS - Windows 2000 Professional - Windows Millennium Edition - Windows XP Home Edition (เหมาะสำหรับ เครื่อง Stand-alone) - Windows XP Professional Edition (เหมาะสำหรับ เครื่อง Client) - Windows Vista - Windows 7, Windows 8, Windows 9, Windows 10 - Mac OS X (Apple) - OS/2 Warp Client (IBM) - UNIX - Linux

ระบบปฏิบัติการ (Operating System) System Software Operating System ประเภทการทำงาน ระบบปฏิบัติการ (Operating System) Network ระบบปฏิบัติการเครีอข่าย (Network Operating System: NOS) - Netware พัฒนาโดย Novell - Windows NT Server Windows 2000 Server Windows Server 2008 Windows Server 2016 Windows Server 2019 OS/2 Warp Server for E-business (ค่าย IBM) - UNIX - Linux (Ubuntu ฟรี, Red hat enterprise linux เสียเงิน) - Solaris

ระบบปฏิบัติการ (Operating System) System Software Operating System ประเภทการทำงาน ระบบปฏิบัติการ (Operating System) ระบบปฏิบัติการที่ใช้ในอุปกรณ์เคลื่อนที่ (Mobile Device) เช่น Smart Phone, PDA, Tablet Computer -Symbian OS -BlackBerry OS -iOS (iPhone, iPod touch, iPad) -Windows Mobile -Windows Phone (ใหม่จาก Microsoft) -Android (จาก Google โดยมีพื้นฐานจากระบบปฏิบัติการ Linux) -MeeGo (รวมกันระหว่าง Maemo ของ Nokia และ Moblin ของ Intel) -Bada -Palm OS (Palm) -Pocket PC 2002 (Pocket PC) * ประมาณการณ์จากส่วนแบ่งตลาดในช่วยไตรมาศที่ 2 ของปี 2009 - ที่มา wikipedia.org ** ข่าว: อินเทลและโนเกีย รวม Mobiln และ Maemo เป็น MeeGo (เว็บไซต์ blognone.com)

ระบบปฏิบัติการ (Operating System) System Software Operating System ประเภทการทำงาน ระบบปฏิบัติการ (Operating System) ระบบปฏิบัติการที่ใช้ในอุปกรณ์เคลื่อนที่ (Mobile Device) เช่น Smart Phone, PDA, Tablet Computer -Symbian OS -BlackBerry OS -iOS (iPhone, iPod touch, iPad) -Windows Mobile -Windows Phone (ใหม่จาก Microsoft) -Android (จาก Google โดยมีพื้นฐานจากระบบปฏิบัติการ Linux) -MeeGo (รวมกันระหว่าง Maemo ของ Nokia และ Moblin ของ Intel) -Bada -Palm OS (Palm) -Pocket PC 2002 (Pocket PC) * ประมาณการณ์จากส่วนแบ่งตลาดในช่วยไตรมาศที่ 2 ของปี 2009 - ที่มา wikipedia.org ** ข่าว: อินเทลและโนเกีย รวม Mobiln และ Maemo เป็น MeeGo (เว็บไซต์ blognone.com)

ระบบปฏิบัติการ (Operating System) System Software Operating System ประเภทการทำงาน ระบบปฏิบัติการ (Operating System) ระบบปฏิบัติการที่ใช้ในอุปกรณ์เคลื่อนที่ (Mobile Device) เช่น Smart Phone, PDA, Tablet Computer Version ปี 2018 - Samsung Experience 9.0 based on Android  - LiteOS version 2.1 (Huawei) - iOS 12 (Apple ) (iPhone, iPod Touch , iPad) Version ปี 2019 -  iOS 13 (Apple) (iPhone , iPod Touch) - iPadOS (Apple)(iPad) http://www.wikizero.biz/index.php?q=aHR0cHM6Ly9lbi53aWtpcGVkaWEub3JnL3dpa2kvTW9iaWxlX29wZXJhdGluZ19zeXN0ZW0

ตารางเปรียบเทียบของ Mobile OS System Software Operating System ตารางเปรียบเทียบของ Mobile OS Feature iOS Android webOS Windows Mobile Windows Phone Company Apple Open Handset Alliance/Google Palm, Inc (HP) Microsoft Programmed in C, C++, Objective-C C, C++, Java C C++ Many, .NET (Silverlight/XNA)

ตารางเปรียบเทียบของ Mobile OS (ต่อ) System Software ตารางเปรียบเทียบของ Mobile OS (ต่อ) Operating System Feature BlackBerry OS Symbian Maemo MeeGo bada Company RIM Symbian Foundation Nokia Linux Foundation Samsung Programmed in Java C++ C/C++

System Software Operating System Solaris 10 Company/developer : Sun Microsystems Latest stable release : 10 11/06/11 December 2006

UNIX System Software Operating System UNIX เป็นระบบปฏิบัติการที่ใหญ่ สามารถใช้งานในลักษณะการทำงาน หลาย ๆ โปรแกรมพร้อมกัน (Multitasking) และเป็นแบบมัลติยูสเซอร์ (Multi-User) เป็น OS สำหรับ เครื่องเมนเฟรม มินิคอมพิวเตอร์ และ คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล ลักษณะการติดต่อกับผู้ใช้เป็นทั้งแบบ Command-line และ GUI (Graphical User Interface)

System Software Operating System Linux เป็น OS ที่คล้ายกับ UNIX แต่มีขนาดเล็กกว่าและทำงานได้เร็วกว่า เป็นซอฟต์แวร์ประเภท โอเพนซอร์ส (Open Source) ในช่วงแรกพัฒนาขึ้นมาเพื่อใช้แจกจ่ายโดยไม่มีค่าใช้จ่ายแต่ปัจจุบันบาง Version จะต้องเสียค่าใช้จ่าย นิยมใช้กับคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล เช่น Desktop Computer และ Smart Phone http://www.school.net.th/library/snet1/software/linux/index.html http://www.mrpalm.com/getcontent3.php?tid=365

System Software macOS 10.15 Catalina (2019) Operating System Company/developer: Apple Inc. http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B9%81%E0%B8%A1%E0%B8%84%E0%B9%82%E0%B8%AD%E0%B9%80%E0%B8%AD%E0%B8%AA%E0%B9%80%E0%B8%97%E0%B9%87%E0%B8%99#Mac_OS_X_10.5_.28Leopard.29

Symbian OS System Software Operating System สามารถบันทึกการนัดหมาย ท่องเว็บ ส่งและรับอีเมล์ และอื่นๆ

Database Management System (DBMS): ระบบจัดการฐานข้อมูล System Software Database Management System (DBMS): ระบบจัดการฐานข้อมูล เป็น Software ที่เป็นตัวกลางระหว่างผู้ใช้กับข้อมูลที่จัดเก็บไว้ในฐานข้อมูล คอยรับคำสั่งจากผู้ใช้แล้วจัดการตามคำสั่งนั้น เช่น สร้าง Table, แทรกข้อมูล, ค้นหาข้อมูล, แก้ไขข้อมูล, ลบข้อมูล DBMS ประกอบด้วยองค์ประกอบหลายส่วนเช่น พจนานุกรมข้อมูล (Data Dictionary) เครื่องมืออำนวยความสะดวก (Utility) มีภาษาระบบจัดการฐานข้อมูล (DBMS Language), เครื่องมือสร้างรายงาน (Report Generator), ระบบรักษาความปลอดภัย (Access Security), การสำรองข้อมูล (Backup) และการกู้คืนระบบ (System Recovery) ภาษาที่ใช้ในการดำเนินการกับข้อมูลในฐานข้อมูล เรียกว่า ภาษา SQL (Structured Query Language : SQL)

ระบบจัดการฐานข้อมูล (Database Management System : DBMS) System Software ระบบจัดการฐานข้อมูล (Database Management System : DBMS) MS Access ใช้ได้กับ OS Windows MS SQL Server ใช้ได้กับ OS Windows MySQL ใช้ได้กับ OS Windows, UNIX, Linux, Solaris, macOS Oracle ใช้ได้กับ OS Windows, UNIX Informix Sybase PostgreSQL ใช้ได้กับ OS Windows, UNIX, macOS 

ระบบจัดการฐานข้อมูล (Database Management System : DBMS) System Software ระบบจัดการฐานข้อมูล (Database Management System : DBMS) MS SQL Server

ระบบจัดการฐานข้อมูล (Database Management System : DBMS) System Software ระบบจัดการฐานข้อมูล (Database Management System : DBMS) MS Access

No SQL Database A NoSQL (originally referring to "non SQL" or "non relational”) database provides a mechanism for storage and retrieval of data that is modeled in means other than the tabular relations used in relational databases. เป็นโปรแกรมจัดการฐานข้อมูล ที่ไม่ได้ใช้หลักการจัดเก็บข้อมูลเชิงสัมพันธ์ มีหลายชนิด เป็น Technology ที่มาใหม่ล่าสุด NoSQL เป็นคำเรียก Technology ที่นอกเหนือไปจาก SQL โครงสร้าง NoSQL Database มีหลายแบบ

No SQL Database Key / Value Based Databases Column Based Databases MemcacheDB Column Based Databases Cassandra, HBase Document Based Databases MongoDB, Couchbase, CouchDB Graph Based Databases OrientDB, Neo4J

Software สำหรับสนับสนุนระบบ หรือโปรแกรมอรรถประโยชน์ (Utility Program) System Software Software สำหรับสนับสนุนระบบ หรือโปรแกรมอรรถประโยชน์ (Utility Program) เครื่องมือแสดงไฟล์ (File Viewer) เช่น Windows Explorer เครื่องมือบีบอัดไฟล์ (Data Compression) เช่น WinZip, WinRAR โปรแกรมวินิจฉัยข้อผิดพลาด (Diagnostic Utility ) เช่น Windows XP โปรแกรม Dr. Watson จะตรวจความผิดพลาดของระบบคอมพิวเตอร์ และแก้ไนทันทีที่พบ เครื่องมือยกเลิกการติดตั้งโปรแกรม (Uninstaller) เครื่องมือตรวจสอบดิสก์ (Disk Scanner) เครื่องมือจัดเรียงข้อมูล (Disk Defragmenter) เครื่องมือสำรองข้อมูล (Backup Utility) เช่น Norton Backup และ Colorado Scheduler เครื่องมือกู้คืนข้อมูล (Data Recovery) - GetDataBack Data Recovery 1.0, VirtualLap Data Recovery 2.3, R-Studio Recovery 2.0 เครื่องมือพักหน้าจอ (Screen Saver) โปรแกรมรักษาความปลอดภัย เช่น Norton AntiVirus

เครื่องมือยกเลิกการติดตั้งโปรแกรม (Uninstaller) System Software Software สำหรับสนับสนุนระบบ หรือโปรแกรมอรรถประโยชน์ (Utility Program) เครื่องมือยกเลิกการติดตั้งโปรแกรม (Uninstaller)

ตัวแปลภาษา (Language Translator) System Software ตัวแปลภาษา (Language Translator) ใช้เพื่อแปลความหมายของคำสั่งในภาษาระดับสูงชนิดต่างๆ ให้เป็นภาษาเครื่อง Interpreter เป็นตัวแปลภาษา ที่จะแปลคำสั่งที่เขียนด้วยภาษาระดับสูง (Source Code/Source Program) ครั้งละ 1 คำสั่ง ให้เป็นภาษาเครื่อง(Object Code/Object Program) แล้วนำคำสั่งที่เป็นภาษาเครื่องนั้นไปทำการประมวลผล และแสดงผลลัพธ์ทันที หลังจากนั้นจะรับคำสั่งถัดไปในโปรแกรมเพื่อแปลเป็นภาษาเครื่องแล้วทำการประมวลผล ทำเช่นนี้จนกว่าจะจบโปรแกรม Compiler เป็นตัวแปลภาษาระดับสูง ที่จะตรวจสอบคำสั่งที่เขียนขึ้นทั้งหมดก่อน แล้วจึงทำการแปลเป็นภาษาเครื่องภายในครั้งเดียว จากนั้นเครื่องก็จะทำการประมวลผลและแสดงผลลัพธ์ออกทางจอภาพ

(Application Software) ซอฟต์แวร์ประยุกต์ (Application Software)

ซอฟต์แวร์ประยุกต์ (Application Software) หมายถึง Software ที่พัฒนาขึ้นมาเพื่อใช้งานในด้านใดด้านนึงโดยเฉพาะ ซึ่งอาจเป็น Software สำเร็จรูปที่มีขายตามท้องตลาดทั่วไป หรืออาจเป็น Software ที่ต้องรวบรวมความต้องการจากผู้ใช้ก่อน จึงพัฒนา Softwareให้สามารถทำงานตามที่ผู้ใช้ต้องการได้ แบ่งเป็น 2 ประเภท 1. Software ที่ใช้งานเฉพาะด้าน (Application-Specific Software) 2. Software เพื่อใช้งานทั่วไป (General-Purpose Application Software)

1. ซอฟต์แวร์ประยุกต์เพื่อใช้งานเฉพาะด้าน (Application-Specific Software) เป็นซอฟต์แวร์ประยุกต์ที่จะต้องมีการรวบรวมความต้องการของผู้ใช้ ก่อนการพัฒนาขึ้นเป็นซอฟต์แวร์ที่สามารถทำงานได้ตรงตามความต้องการนั้น บางครั้งเรียกว่า” Custom-designed Application” เช่น ระบบงานบัญชี ระบบงานคลังสินค้า ระบบงานขาย ระบบงานห้องสมุด ระบบงานทะเบียนประวัติ ระบบบริหารงานบุคคล ระบบการเรียนการสอนทางไกลผ่าน Web และระบบ E-commerce จำเป็นต้องจ้างนักพัฒนาระบบหรือบริษัทรับพัฒนาระบบ ให้วิเคราะห์ความต้องการ (Analysis) ออกแบบระบบ(Design) เขียนโปรแกรม(Coding) และติดตั้งเพื่อใช้งาน (Implementation/Installation)

ซอฟต์แวร์ประยุกต์เพื่อใช้งานเฉพาะด้าน (Application-Specific Software) ตัวอย่างหน้าจอใช้งานของซอฟต์แวร์ประยุกต์

ซอฟต์แวร์ประยุกต์เพื่อใช้งานเฉพาะด้าน (Application-Specific Software) ตัวอย่างหน้าจอใช้งานของซอฟต์แวร์ประยุกต์

ซอฟต์แวร์ประยุกต์เพื่อใช้งานเฉพาะด้าน (Application-Specific Software) ข้อดี 1. สามารถตอบสนองความต้องการใช้งานทางด้านธุรกิจขององค์กรได้เป็นอย่างดี 2. มีบุคลากรที่คอยดูแล บำรุงรักษาซอฟต์แวร์ของระบบอย่างสม่ำเสมอ 3. สามารถเปลี่ยนแปลงแก้ไข Software ได้ตามต้องการ 4. สามารถออกแบบให้ซอฟต์แวร์สามารถทำงานร่วมกับซอฟต์แวร์ของระบบงานอื่นได้ ข้อเสีย 1. ต้นทุนในการพัฒนาค่อนข้างสูง 2. ใช้เวลานานในการพัฒนาระบบ 3. หากทีมพัฒนาระบบไม่มีประสบการณ์เพียงพอ บริษัทผู้จ้างมีโอกาสได้ระบบที่ไม่ตรงตามต้องการจริงๆ หรือกรณีเลิกจ้างกลางคันทำให้บริษัทเสียค่าใช้จ่าย

2. ซอฟต์แวร์ประยุกต์เพื่อใช้งานทั่วไป (General-Purpose Application Software) เป็นซอฟต์แวร์ที่ผู้ผลิตได้พัฒนาขึ้นมา ให้ผู้ใช้สามารถนำไปใช้งานได้โดยตรง โดยไม่ต้องไปพัฒนาเอง ซอฟต์แวร์ชนิดนี้เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า “ซอฟต์แวร์สำเร็จรูป (Packaged Software)” ซอฟต์แวร์ประยุกต์ที่พร้อมใช้งานได้ทันที มีจำหน่ายอยู่ในท้องตลาดทั่วไป หรือสามารถ Down Load ฟรี ตาม Web Site ต่างๆ เช่น ระบบบัญชี สำเร็จรูป, ระบบห้องสมุด, ระบบใบสั่งของ, ระบบจ่ายค่าตอบแทน, ระบบงานโรงแรม, ระบบร้านอาหาร, ระบบร้านเช่า VCD, โปรแกรมบริหารลูกค้าสัมพันธ์ (CRM) หรือ Microsoft Words, Microsoft Excel, Microsoft Access, MySQL, Microsoft Powerpoint , Microsoft Project, Pladao Writer, MySQL

ซอฟต์แวร์ประยุกต์เพื่อใช้งานทั่วไป (General-Purpose Application Software) ข้อดี 1. ค่าใช้จ่ายลงทุนน้อย 2. มีคุณภาพดี มีการทดสอบหลายรอบก่อนออกสู่ตลาด 3. มีการให้คำปรึกษา 4. สามารถ Upgrade เป็นเวอร์ชันใหม่ได้ ข้อเสีย 1. ไม่สามารถตอบสนองต่อการใช้งานด้านธุรกิจอย่างครบถ้วน 2. บางครั้งซื้อมา ความสามารถอาจไม่ตรงตามความต้องการ 3. กรณีผู้ผลิตหรือบริษัทเจ้าของซอฟต์แวร์เลิกกิจการ ขาดการติดต่อ

ซอฟต์แวร์ประยุกต์เพื่อใช้งานทั่วไป (General-Purpose Application Software) http://www.sbsoft.co.th/ecom/easyacc.php?cate_id=15

ซอฟต์แวร์ประยุกต์เพื่อใช้งานทั่วไป (General-Purpose Application Software) หน้าจอประวัติลูกค้า หน้าจอโปรแกรมหลัก ซอฟต์แวร์สำเร็จรูป (Packaged Software) โปรแกรมบริหารลูกค้าสัมพันธ์ (CRM) สามารถซื้อ หรือ Down load ฟรี และติดตั้งใช้งานได้ทันที http://www.nanosoft.co.th

ประเภทของ Software

ประเภทของ Software แชร์แวร์ (Shareware) ฟรีแวร์ (Freeware) 1. Software ที่เสียค่าใช้จ่าย MS Office, MS SQL Server 2. Software ที่ไม่เสียค่าใช้จ่าย (Shareware), (Freeware), (Open Source) แชร์แวร์ (Shareware) เป็น Software ที่สามารถใช้งานได้ฟรีภายใต้เงื่อนไขต่างๆ คือให้ทดลองใช้ก่อนจ่ายเงิน แต่มีข้อจำกัดคือจำนวนครั้งที่ใช้งาน จำกัดระยะเวลาใช้งาน หรือให้มาไม่เต็มประสิทธิภาพการใช้งาน (ให้ฟังก์ชันงานมาไม่ครบ) ฟรีแวร์ (Freeware) เป็น Software ที่ผู้สร้างมีความประสงค์ที่ให้ใช้งานโปรแกรมที่ตนเองได้พัฒนาขึ้น โดยไม่คิดมูลค่า และทำการเผยแพร่ให้แก่ผู้ใช้ทาง Internet ผู้ใช้จะต้อง Down load มาจัดเก็บไว้ในเครื่องคอมพิวเตอร์เพื่อทำการติดตั้งและใช้งานต่อไป แต่ทั้งนี้จะไม่มีการเปิดเผย Source Code ที่ใช้ในการพัฒนา

ประเภทของ Software โอเพนซอร์ส (Open Source) คือ Software ที่สามารถนำไปใช้งาน ศึกษา พัฒนาต่อ และเผยแพร่ได้อย่างเสรี ภายใต้เงื่อนไขที่กำหนด เป็นซอฟต์แวร์ที่เปิดเผยรหัสต้นฉบับ ให้สาธารณะนำไปพัฒนาต่อยอดได้ ทำให้เกิดการร่วมมือกันทำงานอย่างไร้พรมแดนผ่านเครือข่าย Internet เช่น Linux http://www.artnanastudio.com/miniweb/index.php?name=knowledge&file=readknowledge&id=3

ตัวอย่าง Software ที่ไม่ต้องเสียค่าใช้จ่าย ประเภทซอฟต์แวร์ ชื่อซอฟต์แวร์ ระบบปฏิบัติการ (OS) Linux (Ubuntu) ชุด Office Pladao Office, LibreOffice Web Browser Mozila Firefox DBMS MySQL (บาง Version), PostgreSQL สถิติ Epi Info กราฟฟิก Gimp พัฒนาโปรแกรม Anaconda (Python)

ประเภทของ Software Linux Ubuntu Ubuntu (/ʊˈbʊntuː/ ( listen) uu-BUUN-too)  is a free and open-source Linux distribution based on Debian. Ubuntu is officially released in three editions: Desktop, Server, and Core (for internet of things devices and robots). All the editions can run on the computer alone, or e.g. in Windows. Ubuntu is a popular operating system for cloud computing, with support for OpenStack.

ประเภทของ Software Pladao office

ประเภทของ Software Web Browser : Mozila Firefox http://lanta.giti.nectec.or.th/drupal/?q=node/237

การบ้านอาทิตย์ที่ 2 ให้หาข้อมูลและตัวอย่างของ Application Software ที่เกี่ยวข้องกับระบบงานทางด้านต่อไปนี้ 1. Open Source 2. DBMS ตัวใหม่ที่ดัง 2. OS ตัวใหม่ที่ดัง 3. ข่าวสารที่ Update ที่เกี่ยวข้องกับเนื้อหาที่เรียนไปแล้ว File การบ้านส่งทุกคน ในการส่งงานการบ้าน นิสิตจะต้องเรียงตามลำดับที่ ในใบเซ็นชื่อ ในทุกครั้งของการส่งเพื่อสะดวกในการตรวจสอบ และให้คะแนน โดย File การบ้านที่ส่ง ต้องตั้งชื่อเป็น ลำดับที่_รหัสนิสิต_ชื่อ_นามสกุล โดย ส่ง File ไว้ในเครื่องก่อนเรียนทุกครั้ง สำหรับผู้ที่ต้องการรายงาน หน้าชั้นเรียนให้ส่งรายงาน (hard copy) พร้อม File (Soft Copy) โดยเนื้อหาควรมีการ ศึกษา วิเคราะห์ พร้อมการเปรียบเทียบ ของเนื้อหามาด้วย ให้นิสิต มาติดตั้งโปรแกรม และส่ง File ไว้ในเครื่องก่อนเรียนทุกครั้ง

เทอม 1 ปีการศึกษา 2562