การสร้างกรอบแนวคิดการวิจัย (Conceptual Framework)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ทฤษฎีทางอาชีพ ผศ. นิตยา เรืองแป้น ภาควิชาพื้นฐานการศึกษา
Advertisements

ศึกษาพฤติกรรมการเรียนรายวิชาพิมพ์ดีดอังกฤษ 1 ของนักเรียน
สัมมนาทางการประกอบการธุรกิจ
การเขียนโครงร่างวิจัย
อ. สิริพร มีนะนันทน์ ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ
เป็นหลักสำคัญในการนำเสนอเนื้อหา ของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนก็คือ ควร นำเสนอภาพที่เกี่ยวข้องกับเนื้อหา ประกอบ กับคำอธิบายสั้นๆ ง่ายๆ แต่ได้ใจความ การใช้ภาพประกอบจะทำให้ผู้เรียน.
การศึกษารูปแบบการจัดการเรียนการสอนแบบ follow me เพื่อพัฒนาความรับผิดชอบทางการเรียนวิชาบัญชีเบื้องต้น 2 ของนักศึกษาระดับ ปวช.1 สาขาพณิชยการ โดย อ.ชรินทร.
แบบสอบถาม (Questionnaire)
ความคิดเห็นของหัวหน้าสถานประกอบการต่อการฝึกงานของนักศึกษา ระดับปวส
ชื่อเรื่อง : ศึกษาผลการจัดการเรียนรู้ ในรายวิชาการบัญชีบริหาร ด้วยวิธีการเรียนรู้แบบกลุ่มคละผลสัมฤทธิ์ STAD ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยใช้สถานการณ์จำลองการวางแผนงบประมาณในธุรกิจการผลิตเฟอร์นิเจอร์
โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 15 สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาเชียงราย เขต 3
การวัด Measurement.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชา อุตสาหกรรมการท่องเที่ยว
พยาบาลวิชาชีพชำนาญการพิเศษ
กลุ่ม การจัดการความรู้ ช่างอากาศ (KM) หน่วยงาน ฝ่ายการช่าง ฝูงบิน 461 กองบิน 46 คำขวัญ “ มุ่งหน้าแก้ไขข้อขัดข้อง เพื่อตอบสนองภารกิจ ”
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการใช้โปรแกรมนำเสนอข้อมูล เรื่องการเชื่อมโยง ภาพนิ่ง ด้วยโปรแกรม Powerpoint2007 โดยใช้ สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอน CAI ของนักเรียนระดับชั้น.
การวางแผน การศึกษาระดับ จุลภาค Micro Planning.  ความเชื่อพื้นฐานทางการวางแผน การศึกษา  การวางแผนก็เปรียบเสมือนการจัดให้มี แนวปฏิบัติว่าในระยะเวลาหนึ่งจะต้องทำ.
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ วิชาคอมพิวเตอร์พื้นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเฉลิมราชประชาอุทิศ.
ความพึงพอใจต่อการบริหาร จัดการโครงการเรียนรู้จาก ประสบการณ์จริงด้วยวิธีการ เรียนรู้แบบศึกษาดูงาน บริหารธุรกิจสาขาการจัดการ / การตลาด ภาคเรียนที่ 2/2556.
ปรานอม ประทีปทวี 25/09/591 หน้าที่ของครูผู้นิเทศ สพม.5.
การจัดกิจกรรมการ เรียนรู้แบบการทำ โครงงานคอมพิวเตอร์ การจัดกิจกรรมการ เรียนรู้แบบการทำ โครงงานคอมพิวเตอร์ ครูชาญณรงค์ ปานเลิศ โรงเรียนพระบางวิทยา ครูชาญณรงค์
Project Management by Gantt Chart & PERT Diagram
ง21101 การงานอาชีพและเทคโนโลยี ม. 1 เจตคติต่อการประกอบอาชีพ
การสร้างแผนปฏิบัติการระดับตำบลหรือท้องถิ่น
การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ
ทฤษฏีการเรียนรู้ กลุ่มพฤติกรรมนิยม
รูปแบบการเขียนบทที่ 3.
ระดับความเสี่ยง (QQR)
สถิติเพื่อการวิจัยและ วิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ
กลุ่มคำและประโยค ภาษาไทย ม. ๓
ทฤษฎีการวางเงื่อนไข แบบการกระทำ (Operant Conditioning Theory)
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
One Point Lesson (OPL).....บทเรียนประเด็นเดียว
โดย อาจารย์เสาวณีย์ พุ่มท้วม
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
ระเบียบวาระที่ 3 เรื่องเพื่อทราบ
Instruction design แผนจัดการเรียนรู้ Active Learning
การวิจัยเพื่อพัฒนา การเรียนการสอน
Project Project (โครงงาน) ปริญญานิพนธ์ กิจกรรมซึ่งดำเนินงานตามลำดับ
ผู้วิจัย นายอภิสิทธิ์ แก้วฟู วิทยาลัยอาชีวศึกษาจันทร์รวี
พื้นฐานการวิจัยและสร้างสรรค์ทางศิลปกรรมศาสตร์
พื้นฐานการวิจัยและสร้างสรรค์ทางศิลปกรรมศาสตร์
ขั้นตอนการออกแบบ ผังงาน (Flow Chart)
ทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์
การประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพบุคลากรทางการศึกษาด้านการสอบด้วยคอมพิวเตอร์ (Computer-based Assessment) การรู้เรื่องการอ่าน ด้านคณิตศาสตร์และด้านวิทยาศาสตร์
การขอโครงการวิจัย.
นางสาวสุภาวดี นุกุลเสาวลักษณ์ วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์ 2559
วัฏจักรหิน วัฏจักรหิน : วัดวาอาราม หินงามบ้านเรา
หลัก MAX MIN CON การออกแบบแผนการวิจัยเชิงทดลอง
สัมมนาเชิงปฏิบัติการหลักสูตรการฝึกยกระดับฝีมือแรงงาน
กิตติกรรมประกาศ งานวิจัยนี้สำเร็จได้ด้วยความอนุเคราะห์ของบุคคลหลายท่านซึ่งไม่สามารถกล่าวไว้ในที่นี้ได้ทั้งหมดทุกท่าน ซึ่งท่านแรก ผู้จัดทำต้องขอขอบคุณ.
การวัดและประเมินผลด้านพุทธิพิสัย (ตามลำดับขั้นการเรียนรู้ของ Benjamin Bloom) รศ. บรรพต พรประเสริฐ.
ประวัติวิทยากร ปริญญาเอก ศึกษาศาสตร์ดุษฎีบัณฑิต ดร.วัชรศักดิ์ สงค์ปาน
การวัดพฤติกรรมทางด้านทักษะพิสัย
มาตรฐานการสอบทาน รหัส 2400 (ปรับปรุง)
การวิจัยทางการท่องเที่ยว
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การกำหนดประเด็นปัญหา
นายเกียรติศักดิ์ คนธสิงห์ วิทยาลัยเทคโนโลยีพายัพและบริหารธุรกิจ
งานวิจัยในชั้นเรียน ผู้วิจัย นางสาวนนทกานต์ ลีอุดมวงษ์ .
โครงการ “สร้างนักวิจัยรุ่นใหม่” (ลูกไก่)
การสอนควบคู่กับการเรียน
รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา Self – Assessment Report
การสร้างแบบทดสอบ อาจารย์ ปรีชา เครือวรรณ อาจารย์ สมพงษ์ พันธุรัตน์
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
กรณีศึกษา การจัดทำข้อเสนอโครงการที่ดี
Introduction to Public Administration Research Method
การใช้ระบบสารสนเทศในการวิเคราะห์ข่าว
หน่วยที่ 4 การสร้างเครื่องมือ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การสร้างกรอบแนวคิดการวิจัย (Conceptual Framework) ดร.นครชัย ชาญอุไร

ทฤษฎี + งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง กรอบความคิดเชิงทฤษฎี การวางกรอบความคิด (conceptualization) ทฤษฎี + งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง กรอบความคิดเชิงทฤษฎี

การวางกรอบความคิด (conceptualization) ต้องมีการศึกษาทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับประเด็นที่ศึกษา เช่น ทฤษฎีการเรียนรู้ ทฤษฎีการเสริมแรง ทฤษฎีแรงจูงใจ ทฤษฎีบุคลิกภาพ ทฤษฎีความขัดแย้ง

กรอบความคิดเชิงทฤษฎี (theoretical framework) เป็นแบบจำลองแสดงโครงสร้างความสัมพันธ์ระหว่าง ตัวแปรทั้งหมดที่เกี่ยวข้องตามทฤษฎี (นงลักษณ์ วิรัชชัย, 2540)

Research Flow Chart เป็นการสร้างแผนภาพเชื่อมโยงขั้นตอนในการทำวิจัย โดยเริ่มจาก กำหนดปัญหาวิจัย ศึกษาเอกสารที่เกี่ยวข้อง กำหนดประชากรและกลุ่มตัวอย่าง สร้างเครื่องมือวิจัย เก็บรวบรวมข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูล สรุปผลและเขียนรายงาน

กรอบแนวคิดในการวิจัย กรอบแนวคิดการวิจัย กรอบแนวคิดงานวิจัย กรอบความคิดในการวิจัย กรอบแนวความคิดการวิจัย กรอบการศึกษา กรอบแนวความคิดในการศึกษา กรอบมโนทัศน์การวิจัย

ความหมายของกรอบแนวคิดการวิจัย เป็นความคิดรวบยอดของการวิจัยที่สรุปมาจากแนวคิดทฤษฎี โดยชี้ให้เห็นว่าเป็นกรอบที่ศึกษาตัวแปรอะไรบ้าง มีอะไรเป็นตัวแปรอิสระ อะไรเป็นตัวแปรตาม พร้อมทั้งระบุประเด็นที่ต้องการศึกษา เช่น ต้องการศึกษาความแตกต่างหรือศึกษาความสัมพันธ์ หรือ ศึกษาเชิงพรรณนา เป็นต้น

ความหมายของกรอบแนวคิด การวิจัย กรอบที่แสดงความสัมพันธ์ของปรากฏการณ์ที่นักวิจัยต้องการศึกษา ซึ่งมาจากแนวคิด ทฤษฎี และผลการวิจัยต่างๆ นักวิจัยได้ปรับลดรูปแบบได้เป็นกรอบซึ่งจะใช้เฉพาะงานวิจัยนั้นๆ เท่านั้น หากเปลี่ยนเรื่องก็ต้องเปลี่ยนกรอบ

ความหมายของกรอบแนวคิดการวิจัย แผนผังที่ประกอบด้วยปัญหาหลักที่ทำการวิจัย ตัวแปรที่ใช้และความสัมพันธ์ของตัวแปร แนวคิด ทฤษฎีที่สนับสนุน พร้อมทั้งคำอธิบาย

ความหมายของกรอบแนวคิดการวิจัย กระบวนการกำหนดหรือสรุปแนวคิดที่เป็นประเด็นสำคัญ มีการระบุเนื้อหาและแนวคิดให้ชัดเจนในรูปของปัจจัยหรือตัวแปรแล้วนำมาสร้างแผนภาพระบุเส้นทางความสัมพันธ์ของปัจจัยหรือตัวแปร ทำให้นักวิจัยเห็นภาพและแนวทางการทำวิจัยชัดเจนขึ้น

กรอบความคิดของการวิจัย (conceptual framework) แบบจำลองที่นักวิจัยสร้างขึ้นโดยไม่ได้ศึกษาตัวแปรทุกตัวตัวตามทฤษฎี แต่คัดเลือกหรือลดตัวแปรลงให้มีความเหมาะสม ใช้ทฤษฎีและผลการวิจัยในอดีตเพื่อแทนความเกี่ยวข้องสัมพันธ์ระหว่างปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นจริงในธรรมชาติและจะนำไปตรวจสอบว่ามีความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์หรือไม่เพียงใด

กรอบความคิดการวิจัย & ขอบเขตการวิจัย กรอบความคิดของการวิจัยไม่ใช่ขอบเขตของการวิจัย ขอบเขตของการวิจัย หมายถึง สาระที่นักวิจัยเสนอให้ผู้อ่านทราบว่าการวิจัยครั้งนี้ครอบคลุมประชากรกลุ่มใด ตัวแปรครบถ้วนตามกรอบความคิดเชิงทฤษฎีหรือไม่ การวัดตัวแปรแต่ละตัวครบถ้วนตามนิยามเชิงทฤษฎีของตัวแปรเพียงใด การรวบรวมข้อมูลใช้วิธีการสมบูรณ์ตามที่ควรจะเป็นเพียงใด การวิเคราะห์ข้อมูลตอบคำถามวิจัยลึกถึงขนาดไหน การที่สภาพความเป็นจริงสอดคล้องกับกรอบความคิดการวิจัยแต่นักวิจัยไม่ได้ทำ ถือว่าเป็นข้อจำกัดของการวิจัย

การสร้างกรอบความคิดการวิจัย การกำหนดแหล่งข้อมูลเอกสารที่เกี่ยวข้องกับการวิจัย การจัดประเภทหรือหมวดหมู่ของสาระที่จะสังเคราะห์ (นิยามตัวแปร ทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับตัวแปรหลักของการวิจัยหรือผลการวิจัยก่อนหน้า)

การสร้างกรอบความคิดการวิจัย 3) นำข้อมูลมาวิเคราะห์และสังเคราะห์ : ถ้าต้องการกำหนดกรอบความคิดของการวิจัย ก็ควรให้ความสำคัญกับเอกสารเชิงทฤษฎีและผลการวิจัยเพื่อกำหนดโครงสร้างความสัมพันธ์ของตัวแปร 4) เขียนแสดงคำอธิบาย/บรรยายกรอบความคิดของการวิจัยที่แสดงเป็นแผนภาพเชื่อมโยงความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร (ไม่ควรแสดงแต่แผนภาพเฉยๆ)

ทฤษฎีกับการวางกรอบความคิดของการวิจัย 1) ทฤษฎี (theory) หมายถึง ข้อความที่อธิบายปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นในธรรมชาติหรือในโลกแห่งความเป็นจริง (real world) โดยการแสดงความสัมพันธ์เชื่อมโยงมโนทัศน์ (concepts) ต่างๆ ให้เข้าใจว่าวิถีการปฏิบัติของคนในสังคมเป็นอย่างไร และทำให้เข้าใจเหตุผลของการกระทำหรือการแสดงพฤติกรรมที่ปรากฏนั้น ๆ ให้เห็น 2) กรอบความคิดของการวิจัยจะมีมโนทัศน์ของการศึกษาซึ่งเรียกว่า “ตัวแปร” (variable)

ทฤษฎีกับการวางกรอบความคิดของการวิจัย 3) ตัวแปรเป็นมโนทัศน์ที่มีคุณลักษณะ (attribute) ที่สามารถแปรเปลี่ยนได้ เช่น เพศ ระดับการศึกษา 4) มโนทัศน์จะเป็นตัวแปรได้ก็ต่อเมื่อมีลักษณะ 3 ประการ 4.1 สามารถจำแนกได้มากกว่าหนึ่งลักษณะ 4.2 นักวิจัยเลือกเข้ามาศึกษาในการวิจัย 4.3 อยู่ในรูปที่สังเกตเห็นและวัดได้

ทฤษฎีกับการวางกรอบความคิดของการวิจัย 5) กรอบความคิดของการวิจัยจึงต้องมีการนิยามตัวแปรในกรอบความคิดของการวิจัยให้เป็นนิยามเชิงปฏิบัติการ (operational definition) 6) ความสัมพันธ์ระหว่างมโนทัศน์ในกรอบความคิดเชิงทฤษฎีเป็นสิ่งที่สามารถกำหนดได้จากทฤษฎีหรืองานวิจัยที่เกี่ยวข้อง

ทฤษฎีกับการวางกรอบความคิดของการวิจัย 7) ลักษณะของความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรจะนำไปสู่การกำหนดข้อเสนอซึ่งจะเป็นสมมุติฐานของการวิจัย (research hypothesis) 8) สมมุติฐานการวิจัยเป็นข้อเสนอที่ใช้ในการตรวจสอบว่าทฤษฏีที่นำมาศึกษายังคงยืนยันได้ต่อไปหรือไม่ หรือต้องมีการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงอย่างไร (บางเรื่องไม่กำหนดสมมุติฐานไว้ล่วงหน้าแต่อาจกระทำได้หลังสิ้นสุดการวิจัย)

แนวคิดการวิจัยที่ใช้ในการวางกรอบความคิดของการวิจัย การวิจัยเชิงปริมาณใช้หลักนิรนัย (deductive direction) การวิจัยเชิงคุณภาพใช้หลักอุปนัย (inductive direction) - มีการออกแบบที่มีความยืดหยุ่นกว่า - ไม่มีกรอบความคิดที่กำหนดตัวแปรล่วงหน้าตายตัว - ตัวแปรหรือประเด็นคำถามต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นระหว่างการศึกษาจะปรากฏระหว่างการศึกษา

ผลสัมฤทธิ์ วิธีสอน ตัวอย่างกรอบความคิดของการวิจัย Independent Variables Dependent Variables

วิธีสอน ผลสัมฤทธิ์ เจตคติ ตัวอย่างกรอบความคิดของการวิจัย วิธีสอน ผลสัมฤทธิ์ เจตคติ

input process output

ว่าที่ ร.ต.ดร.สิริศักดิ์ อาจวิชัย มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ

ว่าที่ ร.ต.ดร.สิริศักดิ์ อาจวิชัย มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ

มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี ขอบคุณครับ ดร.นครชัย ชาญอุไร มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี