บทที่ 7 การบัญชีภาษีมูลค่าเพิ่ม

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สำนักมาตรฐานด้านการบัญชีภาครัฐ
Advertisements

สินค้าคงเหลือ - วิธีราคาทุน
ประกาศกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีการเลือกตั้งคณะกรรมการสวัสดิการในสถานประกอบกิจการ ประกาศราชกิจจานุเบกษา วันที่ 22 พฤษภาคม.
บทที่ 1 การรวมธุรกิจ.
บทนำ บริษัทในเครือมักจะมีธุรกรรมที่เกี่ยวข้องกัน
1 ประกาศอธิบดีกรมสรรพากร เกี่ยวกับ ภาษีเงินได้ ( ฉบับที่ 183) เรื่อง กำหนด หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการลด อัตราภาษีเงินได้ของกิจการที่มีสถาน ประกอบกิจการตั้ง.
การจัดซื้อจัดจ้าง.
1.
การวิเคราะห์ข้อมูล เขตพัฒนาเศรษฐกิจ พิเศษ เพื่อทบทวนยุทธศาสตร์ จังหวัด จังหวัด นราธิวาส 1.
โปรแกรมสต๊อกสินค้า และ โปรแกรมขายหน้าร้าน Nanosoft Smart INV.NET วิชาโปรแกรมสำเร็จรูปและการ ประยุกต์ใช้งาน อ. วิสุตร์ เพชรรัตน์
การจัดซื้อจัดจ้างตามระเบียบ พัสดุ ประกาศคณะรักษาความรักษา ความสงบแห่งชาติ การซื้อและ การจัดจ้างด้วยระบบ อิเล็กทรอนิกส์ (e – GP) และการบริหาร งบประมาณ ขององค์กรปกครองส่วน.
การกำหนด คุณลักษณะครุภัณฑ์ นาตอนงค์ จันทร์แจ่มแจ้ง นักวิชาการพัสดุชำนาญการพิเศษ.
บัญชีกลุ่มวิสาหกิจ ชุมชน. ประเด็นสำคัญ  การปฏิบัติการเบื้องต้นเกี่ยวกับ การเงินการบัญชี  ขั้นตอนการจัดทำบัญชี  การบันทึกบัญชีเกี่ยวกับ 1. การรับเงินค่าหุ้น.
ภาษีอากร.
การบริหารจัดเก็บภาษีสินค้ายาสูบ
สัญญาก่อสร้าง.
สาธิตการใช้โปรแกรมฐานข้อมูล
กระบวนการทางการบัญชี บันทึก  สมุดรายวันขั้นต้น
ง21101 การงานอาชีพและเทคโนโลยี ม. 1 เจตคติต่อการประกอบอาชีพ
Strategy Map สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร 16
ระบบการควบคุมภายในกลุ่มวิสาหกิจชุมชน
ระบบตัวแทนจำหน่าย/ ตัวแทนขายอิสระ
วาระที่ สรุปผลการปฏิบัติงาน ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2559
หน่วยที่ 1 ข้อมูลทางการตลาด. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของข้อมูลทางการตลาด 2. ความสำคัญของข้อมูลทางการตลาด 3. ประโยชน์ของข้อมูลทางการตลาด 4. ข้อจำกัดในการหาข้อมูลทาง.
การหักภาษี ณ ที่จ่ายในธุรกรรม Bond Switching
การบัญชีภาษีอากร AC 316 อาจารย์ประจำวิชา อ.บุญผ่อง สายเพ็ชร
บทที่ 11 วงจรรายจ่าย.
ACCOUNTING FOR INVENTORY
การบันทึกรายการค้าในสมุดบัญชี
ระบบตัวแทนจำหน่าย/ ตัวแทนขายอิสระ
น.ท.สุขสันต์ เหมศรี หน.ค่าใช้จ่าย กงต.กง.ทร. โทร 55562
การบัญชีต้นทุนช่วง (Process Costing).
Strategy Map สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร12
โดยอาจารย์ฐิติพร วัฒนชัย คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง
พ.ร.ก.ยกเว้นและสนับสนุนฯ สำนักกฎหมาย กรมสรรพากร
การตรวจสอบผลิตภัณฑ์อาหาร ณ ด่านอาหารและยา
บทที่ 5 การวางแผนทางการเงิน ผศ. อรทัย รัตนานนท์ รศ.อรุณรุ่ง วงศ์กังวาน.
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
การทำใบจัดซื้อ/จ้าง.
ขั้นที่ 3 การเตรียมการจ่ายชำระค่าสินค้าหรือบริการ กระบวนการเตรียมจ่ายชำระค่าสินค้า โดยเริ่มจากการนำใบแจ้งหนี้หรือใบกำกับสินค้าที่ได้รับจากบริษัทผู้ขายมาตรวจสอบความถูกต้องกับข้อมูลในใบรับสินค้าและใบส่งสินค้าที่ได้รับจากฝ่ายคลังสินค้า.
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
กรอบอัตรากำลังของบุคลากรทางการศึกษาอื่นตามมาตรา 38 ค. (2)
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสุรา
ฝ่ายบัญชีและการเงิน สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ
การรายงานความคืบหน้าหรือสถานะ
กลุ่มเกษตรกร.
การให้เงินช่วยเหลือหรืออุดหนุน เพื่อส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน
ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
กองทุนเงินทดแทน ประกันสังคม.
พิธีการส่งของออกทางบกที่ด่านศุลกากร
จำนวนนิติบุคคลในจังหวัดเลย
ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี
Strategy Map สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร 14
กฎหมายเอกเทศสัญญา 1 อาจารย์ สุรศักดิ์ มีบัว สาขานิติศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และ สังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา ครั้งที่ 13.
Topic 11 เงินเฟ้อ เงินฝืด การว่างงาน
ผู้ประกอบการโลจิสติกส์ในเขตปลอดอากร นักตรวจสอบภาษีชำนาญการพิเศษ
บทที่ 6 เงินลงทุนในตราสารหนี้และตราสารทุน
การเปลี่ยนแปลงประมาณการทางบัญชี และข้อผิดพลาด
Strategy Map สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร 15
ภาษีมูลค่าเพิ่ม (VAT) อาจารย์หุดา แม้นมินทร์.
จรรยาบรรณวิชาชีพและกฎหมายสำหรับการท่องเที่ยวและการโรงแรม
แจ้งเข้า – ออก ที่ถูกต้องได้ประโยชน์อย่างไร และงานสื่ออิเล็กทรอนิกส์
กิจกรรมที่ 7 นายปรีชา ขอวางกลาง
บทที่ 10 วงจรรายได้.
27 , 30 ตุลาคม 2549 ธนาคารแห่งประเทศไทย
ประกาศกระทรวงพลังงาน ประกาศในราชกิจจานุเบกษา 22 ตุลาคม 2561
มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
Lean Management การลดขั้นตอนการนัดตรวจสุขภาพจิตของ นร.กพ
บทที่ 9 สมุดรายวันเฉพาะและสมุดบัญชีแยกประเภทย่อย
บทที่ 8 การบัญชีภาษีมูลค่าเพิ่ม
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทที่ 7 การบัญชีภาษีมูลค่าเพิ่ม ผศ.อัจฉราพร โชติพฤกษ์ ผศ.อัจฉราพร โชติพฤกษ์

ภาษีมูลค่าเพิ่ม (Value Added Tax หรือ VAT) ภาษีมูลค่าเพิ่ม เป็นภาษีการขายที่จัดเก็บจากมูลค่าของสินค้าหรือบริการเฉพาะส่วนที่เพิ่มขึ้นในแต่ละขั้นตอนการจำหน่ายสินค้าและบริการ เป็นภาษีที่ผู้ซื้อ หรือผู้รับบริการคนสุดท้ายเป็นผู้รับภาระ แต่การจัดเก็บ จะให้ผู้ประกอบการในแต่ละขั้นตอนของการจำหน่ายหรือให้บริการเป็น ผู้เรียกเก็บภาษีจากผู้ซื้อหรือผู้รับบริการแทนรัฐบาล ผศ.อัจฉราพร โชติพฤกษ์

ผู้มีหน้าที่เสียภาษีมูลค่าเพิ่ม ผู้ประกอบการในรูปของบุคคลธรรมดา คณะบุคคล ห้างหุ้นส่วน บริษัท หรือนิติบุคคลใดก็ตาม ถ้าการประกอบกิจการมีรายรับเกินกว่า 1,200,000 บาท ต่อปี ผู้ประกอบกิจการจะต้องมีหน้าที่จดทะเบียนภาษี มูลค่าเพิ่ม ตามมาตรา 77/2 แห่งประมวลรัษฎากร กำหนดกิจการที่จะต้อง เสียภาษีมูลค่าเพิ่มไว้ 3 ประเภท คือ 1. การขายสินค้าในราชอาณาจักรโดยผู้ประกอบการ 2. การให้บริการในราชอาณาจักรโดยผู้ประกอบการ 3. การนำเข้าโดยผู้นำเข้า ผศ.อัจฉราพร โชติพฤกษ์

การคำนวณภาษีมูลค่าเพิ่ม ผู้ประกอบการจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่มต้องทำการคำนวณภาษี มูลค่าเพิ่มที่จะต้องชำระหรือมีสิทธิได้รับคืน โดยการคำนวณจะทำเป็น รายเดือน ดังนี้ ภาษีมูลค่าเพิ่ม = ภาษีขาย - ภาษีซื้อ ส่วนต่างที่เกิดขึ้นแสดงผลดังนี้ ภาษีขาย > ภาษีซื้อ = ภาษีมูลค่าเพิ่มที่ต้องชำระ ภาษีขาย < ภาษีซื้อ = ภาษีที่มีสิทธิได้รับคืน หรือเครดิตภาษี ผศ.อัจฉราพร โชติพฤกษ์

เอกสารที่ใช้ประกอบการคำนวณภาษีมูลค่าเพิ่ม ในการคำนวณภาษีมูลค่าเพิ่ม จะต้องเป็นไปตามหลักฐานเอกสารที่เกิดขึ้น ในระหว่างเดือนภาษี เอกสารที่ใช้ประกอบการคำนวณภาษีมูลค่าเพิ่ม คือ ใบกำกับภาษี (Tax Invoice) คือ เอกสารที่ผู้ประกอบการจดทะเบียน ในระบบภาษีมูลค่าเพิ่ม จะต้องออกให้แก่ผู้ซื้อสินค้าหรือผู้ใช้บริการ ในการขายสินค้าหรือให้บริการทุกครั้ง และต้องจัดทำในทันทีที่ความรับผิด ในการเสียภาษีมูลค่าเพิ่มเกิดขึ้น ใบกำกับภาษีแบ่งได้เป็น 2 ประเภท 1. ใบกำกับภาษีแบบเต็มรูป 2. ใบกำกับภาษีอย่างย่อ ผศ.อัจฉราพร โชติพฤกษ์

ใบเพิ่มหนี้ (Debit Note) เมื่อผู้ประกอบการจดทะเบียนที่ขายสินค้าหรือให้บริการและนำภาษีขายไปรวมคำนวณภาษีมูลค่าเพิ่มตามระบบแล้ว แต่ต่อมาต้องคำนวณภาษีมูลค่าเพิ่มใหม่ เพราะมีเหตุการณ์อย่างใดอย่างหนึ่งอันเป็นผลทำให้ภาษีขายที่คำนวณไว้ในตอนแรกมีจำนวนเพิ่มขึ้น เนื่องจาก มีการเพิ่มราคาสินค้าที่ขายหรือเพิ่มค่าบริการขึ้น เนื่องจากสินค้ามีจำนวนเกินกว่าที่ตกลงซื้อขายกัน -คำนวณราคาสินค้าหรือค่าบริการผิดพลาดต่ำกว่าความเป็นจริงหรือเหตุอื่น ผศ.อัจฉราพร โชติพฤกษ์

ใบลดหนี้ (Credit Note) เมื่อผู้ประกอบการจดทะเบียนที่ขายสินค้าหรือให้บริการและนำภาษีขายไปรวมคำนวณเพื่อเสียภาษีมูลค่าเพิ่มตามระบบแล้ว แต่ต่อมาต้องคำนวณภาษี มูลค่าเพิ่มใหม่ เพราะมีเหตุการณ์อย่างใดอย่างหนึ่งอันเป็นผลทำให้ภาษีขายที่คำนวณไว้ในตอนแรกมีจำนวนลดลง เนื่องจาก มีการลดราคาสินค้าที่ขายหรือลดค่าบริการลงเนื่องจากสินค้าชำรุดเสียหาย ผิดข้อตกลงบางอย่าง หรือบริการที่ให้ไปผิดข้อกำหนดที่ตกลงกัน คำนวณราคาสินค้าหรือค่าบริการผิดพลาดสูงกว่าความเป็นจริง - ได้รับสินค้าที่ขายไปแล้วคืนกลับมาเนื่องจากบกพร่อง หรือเหตุอื่น - มีการบอกเลิกสัญญาการซื้อขายสินค้าหรือบริการ ผศ.อัจฉราพร โชติพฤกษ์

ภาษีขาย คือ ภาษีมูลค่าเพิ่มที่ผู้ประกอบการจดทะเบียนได้เรียกเก็บ หรือพึ่งเรียกเก็บจากผู้ซื้อสินค้าหรือรับบริการ เมื่อมีการขายสินค้าหรือรับ ค่าบริการ หรือ คือ ภาษีมูลค่าเพิ่มที่ผู้ประกอบการจดทะเบียนมีหน้าที่ เสียในการขายสินค้า หรือในกรณีที่เป็นการให้บริการ ตัวอย่าง1 บริษัท เอส บี จำกัด เป็นผู้ประกอบการจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม ในเดือนสิงหาคม 2547 ขายสินค้าให้แก่ลูกค้าในราคา 8,000 บาท และได้เรียกเก็บภาษีมูลค่าเพิ่ม 7% ผศ.อัจฉราพร โชติพฤกษ์

การคำนวณ ภาษีขาย = 8,000 x 7% = 560 บาท การบันทึกบัญชี สมุดรายวันทั่วไป หน้า 1 พ.ศ. 25x1 รายการ เลขที่บัญชี เดบิต เครดิต เดือน วันที่ ส.ค. เงินสด 8,560 - ขาย 8,000 ภาษีขาย 560 ขายสินค้าเป็นเงินสด ผศ.อัจฉราพร โชติพฤกษ์

ภาษีซื้อ คือ ภาษีมูลค่าเพิ่มที่ผู้ประกอบการจดทะเบียนถูกผู้ประกอบการจดทะเบียนอื่นเรียกเก็บ เนื่องจากการซื้อหรือรับบริการมาเพื่อใช้ในการประกอบกิจการของตน เมื่อความรับผิดในการเสียภาษีมูลค่าเพิ่มเกิดขึ้น ตัวอย่าง2 บริษัท เอส บี จำกัด เป็นผู้ประกอบการจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม ได้ซื้อสินค้ามาเพื่อขายในเดือนสิงหาคม 2547 จำนวน 20,000 บาท และได้ ถูกผู้ขายเรียกเก็บภาษีมูลค่าเพิ่ม 7% ผศ.อัจฉราพร โชติพฤกษ์

การคำนวณ ภาษีซื้อ = 20,000 x 7% = 1,400 บาท การบันทึกบัญชี สมุดรายวันทั่วไป หน้า 1 พ.ศ. 25x1 รายการ เลขที่บัญชี เดบิต เครดิต เดือน วันที่ ส.ค. ซื้อ 20,000 - ภาษีซื้อ 1,400 เงินสด 21,400 ซื้อสินค้าเป็นเงินสด ผศ.อัจฉราพร โชติพฤกษ์

ภาษีมูลค่าเพิ่ม = ภาษีขาย – ภาษีซื้อ = 560 – 1,400 = (840) จากตัวอย่างที่ 1 และ 2 สมมติในระหว่างเดือนสิงหาคมไม่มีรายการค้าเกิดขึ้น ดังนั้น สิ้นเดือนสิงหาคมกิจการจะต้องสรุปโดยจัดทำรายงานภาษีซื้อ และรายงานภาษีขาย เพื่อเก็บรวบรวมรายการที่เกี่ยวกับภาษีซื้อและภาษีขาย ทั้งหมดที่เกิดขึ้นในระหว่างเดือนสิงหาคม ภาษีมูลค่าเพิ่ม = ภาษีขาย – ภาษีซื้อ = 560 – 1,400 = (840) จากการคำนวณภาษีมูลค่าเพิ่มในกรณีนี้ กิจการมีสิทธิได้รับคืนภาษี ในจำนวน 840 บาท ผศ.อัจฉราพร โชติพฤกษ์

การยื่นแบบแสดงรายการและชำระภาษีมูลค่าเพิ่ม ผู้ประกอบการจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม มีหน้าที่คำนวณภาษีและ ยื่นแบบแสดงรายการชำระภาษีมูลค่าเพิ่มหรือขอรับคืนตามแบบ ภ.พ. 30 ภายในวันที่ 15 ของเดือนถัดไป ณ สำนักงานสรรพากรเขตในท้องที่ที่สถานประกอบการตั้งอยู่ ระบบภาษีมูลค่าเพิ่มได้กำหนดให้ผู้ประกอบการจดทะเบียนต้องจัดทำ รายงานเกี่ยวกับการเสียภาษีมูลค่าเพิ่มดังต่อไปนี้ 1. รายงานภาษีขาย 2. รายงานภาษีซื้อ 3. รายงานสินค้าและวัตถุดิบ ผศ.อัจฉราพร โชติพฤกษ์

รายงานภาษีขาย รายงานภาษีซื้อ รายงานภาษีขาย เป็นแบบรายงาน เพื่อทำการสรุปภาษี ซึ่งทำให้ทราบรายละเอียดเกี่ยวกับมูลค่าสินค้า หรือบริการและจำนวนภาษีขายที่ผู้ประกอบการได้เรียกเก็บจากลูกค้าไว้ทั้งสิ้นในเดือนภาษีนั้น ตามหลักฐานในเอกสารใบกำกับภาษี รายงานภาษีซื้อ รายงานภาษีซื้อ เป็นแบบรายงาน เพื่อทำการสรุปภาษีซื้อ ซึ่งทำให้ทราบรายละเอียดเกี่ยวกับมูลค่าสินค้า หรือบริการและจำนวนภาษีซื้อที่ผู้ประกอบการรายอื่นได้เรียกเก็บไปทั้งสิ้นในเดือนภาษีนั้น ตามหลักฐานในเอกสารใบกำกับภาษี ผศ.อัจฉราพร โชติพฤกษ์

รายงานสินค้าและวัตถุดิบ รายงานสินค้าและวัตถุดิบ เป็นแบบรายงานเพื่อแสดงปริมาณสินค้าหรือวัตถุดิบที่รับมาหรือจ่ายไปจริง และปริมาณสินค้าที่คงเหลือยู่ การจัดทำรายงานต้องมีเอกสารประกอบเป็นใบสำคัญรับหรือจ่ายสินค้า ซึ่งควรแยกออกเป็นแต่ละประเภท ชนิดและขนาด ผศ.อัจฉราพร โชติพฤกษ์