บทที่ 8 การบัญชีภาษีมูลค่าเพิ่ม

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
บทที่ 1 การรวมธุรกิจ.
Advertisements

มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 101 หนี้สงสัยจะสูญ และหนี้สูญ
การประเมินผลโครงการ บทที่ 9 ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ yalada.
1 ประกาศอธิบดีกรมสรรพากร เกี่ยวกับ ภาษีเงินได้ ( ฉบับที่ 183) เรื่อง กำหนด หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการลด อัตราภาษีเงินได้ของกิจการที่มีสถาน ประกอบกิจการตั้ง.
บทที่ 3 หลักฐานการสอบบัญชีและการตรวจสอบ
ณ ห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
นโยบายการดำเนินงานของ ส.ป.ก.
ดูแบบได้ ที่หน้า 2 เป็นต้นไป
เทคนิคการตรวจสอบภายใน
ผู้รับผิดชอบ ผลผลิต ฝ่ายบริหารทั่วไป
บทบาทภารกิจด้านกำกับดูแลและพัฒนาเศรษฐกิจการค้า
บทที่ 13 นโยบายและกลยุทธ์การตั้งราคาโดย ผู้ค้าคนกลาง
เอกสารแนะนำการใช้งานระบบจัดเก็บและบันทึกข้อมูลทะเบียนพาณิชย์ (เบื้องต้น) โดย นายพชร อินทรวรพัฒน์ กรมพัฒนาธุรกิจการค้า.
1.
โปรแกรมสต๊อกสินค้า และ โปรแกรมขายหน้าร้าน Nanosoft Smart INV.NET วิชาโปรแกรมสำเร็จรูปและการ ประยุกต์ใช้งาน อ. วิสุตร์ เพชรรัตน์
การจัดซื้อจัดจ้างตามระเบียบ พัสดุ ประกาศคณะรักษาความรักษา ความสงบแห่งชาติ การซื้อและ การจัดจ้างด้วยระบบ อิเล็กทรอนิกส์ (e – GP) และการบริหาร งบประมาณ ขององค์กรปกครองส่วน.
การกำหนด คุณลักษณะครุภัณฑ์ นาตอนงค์ จันทร์แจ่มแจ้ง นักวิชาการพัสดุชำนาญการพิเศษ.
บัญชีกลุ่มวิสาหกิจ ชุมชน. ประเด็นสำคัญ  การปฏิบัติการเบื้องต้นเกี่ยวกับ การเงินการบัญชี  ขั้นตอนการจัดทำบัญชี  การบันทึกบัญชีเกี่ยวกับ 1. การรับเงินค่าหุ้น.
โดย ปณิต มีแสง. ส่วนที่ 1 ลักษณะสำคัญขององค์กร ส่วนที่ 2 เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการ ภาครัฐ - การนำองค์กร - การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์ - การให้ความสำคัญกับผู้รับบริหารและ.
ภาษีอากร.
แนะนำรายวิชา การประกันภัยสินค้า Free Powerpoint Templates.
การบริหารจัดเก็บภาษีสินค้ายาสูบ
Strategy Map สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร 16
การจัดการธุรกิจขนาดย่อม
สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
หน่วยที่ 1 ข้อมูลทางการตลาด. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของข้อมูลทางการตลาด 2. ความสำคัญของข้อมูลทางการตลาด 3. ประโยชน์ของข้อมูลทางการตลาด 4. ข้อจำกัดในการหาข้อมูลทาง.
ระบบ ISO 9001:2015 สำหรับธุรกิจบริหารจัดการเรือ
การบัญชีภาษีอากร AC 316 อาจารย์ประจำวิชา อ.บุญผ่อง สายเพ็ชร
บทที่ 11 วงจรรายจ่าย.
การบันทึกรายการค้าในสมุดบัญชี
ระบบตัวแทนจำหน่าย/ ตัวแทนขายอิสระ
Strategy Map สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร12
พ.ร.ก.ยกเว้นและสนับสนุนฯ สำนักกฎหมาย กรมสรรพากร
การตรวจสอบผลิตภัณฑ์อาหาร ณ ด่านอาหารและยา
BUSINESS TAXATION รศ.ดร.กฤษฎา สังขมณี
การทำใบจัดซื้อ/จ้าง.
โครงสร้างแบบลำดับ (20 นาที 10 คะแนน)
ขั้นที่ 3 การเตรียมการจ่ายชำระค่าสินค้าหรือบริการ กระบวนการเตรียมจ่ายชำระค่าสินค้า โดยเริ่มจากการนำใบแจ้งหนี้หรือใบกำกับสินค้าที่ได้รับจากบริษัทผู้ขายมาตรวจสอบความถูกต้องกับข้อมูลในใบรับสินค้าและใบส่งสินค้าที่ได้รับจากฝ่ายคลังสินค้า.
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสุรา
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
หลักการวิทยุกระจายเสียงและ วิทยุโทรทัศน์
ขั้นตอนการออกแบบ ผังงาน (Flow Chart)
ผลงานทางวิชาการ ความหมาย ลักษณะ ประเภท
กลุ่มเกษตรกร.
นายทะเบียนแจ้งผลการจองชื่อ
ประเด็นปัญหาที่ตรวจพบจากการตรวจสอบ
ประกันภัยกับการพัฒนาเศรษฐกิจ
พิธีการส่งของออกทางบกที่ด่านศุลกากร
ภาษีธุรกิจเฉพาะ (SBT )
Strategy Map สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร 14
บทที่ 4 หลักทฤษฎีและปฏิบัติการธุรกิจ ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ
กฎหมายเอกเทศสัญญา 1 อาจารย์ สุรศักดิ์ มีบัว สาขานิติศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และ สังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา ครั้งที่ 13.
แนวปฏิบัติ การจัดสวัสดิการภายในส่วนราชการ
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
บทที่ 9 งบประมาณการลงทุน
ผู้ประกอบการโลจิสติกส์ในเขตปลอดอากร นักตรวจสอบภาษีชำนาญการพิเศษ
ระเบียบคณะกรรมการกำกับกิจการพลังงาน ว่าด้วยการจัดหาไฟฟ้าจากผู้ผลิตไฟฟ้ารายเล็ก โครงการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานหมุนเวียน ในรูปแบบ Feed-in Tariff พ.ศ
การเปลี่ยนแปลงประมาณการทางบัญชี และข้อผิดพลาด
Strategy Map สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร 15
ภาษีมูลค่าเพิ่ม (VAT) อาจารย์หุดา แม้นมินทร์.
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
บทที่ 10 วงจรรายได้.
การประเมินผลโครงการ บทที่ 9 ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ yalada.
มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
AGENDA การเลือกแบบฟอร์มใบขอซื้อขอจ้าง ขั้นตอนการค้นหา PR และ PO
โซ่อุปทานและโลจิสติกส์ ญาลดา พรประเสริฐ คณะวิทยาการจัดการ
บทที่ 9 สมุดรายวันเฉพาะและสมุดบัญชีแยกประเภทย่อย
บทที่ 7 การบัญชีภาษีมูลค่าเพิ่ม
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทที่ 8 การบัญชีภาษีมูลค่าเพิ่ม ภาษีมูลค่าเพิ่ม หมายถึง ภาษีที่เรียกเก็บจากมูลค่าของสินค้าหรือบริการเฉพาะส่วนที่เพิ่มขึ้นในแต่ละขั้นตอนการผลิตและการ จำหน่ายสินค้าหรือบริการที่ยังไม่เคยเสียภาษีมูลค่าเพิ่มโดยให้ผู้ประกอบการมีหน้าที่เก็บจากลูกค้าแล้วนำภาษีมูลค่าเพิ่ม ให้แก่รัฐบาล อ.อภิญญา ผู้จัดทำ powerpoint หลักการบัญชีเบื้องต้น.คณะวิทยาการจัดการ.มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา

ผู้มีหน้าที่เสียภาษีมูลค่าเพิ่ม 1. ผู้ประกอบการ 2. ผู้นำเข้า 3. ผู้ที่กฎมายกำหนดให้มีหน้าที่เสียภาษีมูลค่าเพิ่ม อ.อภิญญา ผู้จัดทำ powerpoint หลักการบัญชีเบื้องต้น.คณะวิทยาการจัดการ.มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา

ผู้ประกอบการที่ได้รับการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม 1. ผู้อยู่นอกระบบการจัดเก็บภาษีมูลค่าเพิ่ม 2. ผู้ประกอบการที่มีรายรับไม่ถึงเกณฑ์ที่กำหนด 3. ผู้ประกอบการที่ได้รับยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่มเป็นกรณีพิเศษ อ.อภิญญา ผู้จัดทำ powerpoint หลักการบัญชีเบื้องต้น.คณะวิทยาการจัดการ.มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา

ประเภทของภาษีมูลค่าเพิ่ม 1. ภาษีขาย 2. ภาษีซื้อ อ.อภิญญา ผู้จัดทำ powerpoint หลักการบัญชีเบื้องต้น.คณะวิทยาการจัดการ.มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา

ฐานภาษีมูลค่าเพิ่ม ฐานภาษี หมายถึง มูลค่าที่ได้รับหรือพึงได้รับจากการขายสินค้าโดยจะแสดงรายละเอียดเกี่ยวกับมูลค่าของสินค้าหรือบริการ ที่ขายและจำนวนภาษีมูลค่าเพิ่มที่เรียกเก็บ อ.อภิญญา ผู้จัดทำ powerpoint หลักการบัญชีเบื้องต้น.คณะวิทยาการจัดการ.มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา

อัตราภาษีมูลค่าเพิ่ม 1. อัตราภาษีมูลค่าเพิ่มตามประมวลรัษฎากรร้อยละ 10 2. อัตราภาษีมูลค่าเพิ่มร้อยละ 0 อ.อภิญญา ผู้จัดทำ powerpoint หลักการบัญชีเบื้องต้น.คณะวิทยาการจัดการ.มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา

การคำนวณภาษีมูลค่าเพิ่ม 1. การคำนวณภาษีขาย 2. การคำนวณภาษีซื้อ 3. การคำนวณภาษีมูลค่าเพิ่ม อ.อภิญญา ผู้จัดทำ powerpoint หลักการบัญชีเบื้องต้น.คณะวิทยาการจัดการ.มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา

หน้าที่ของผู้ประกอบการจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม 1. เรียกเก็บภาษีขายจากผู้ซื้อสินค้าหรือผู้รับบริการ 2. ยื่นแบบแสดงรายการเพื่อเสียภาษีมูลค่าเพิ่มทุกเดือนไม่ว่าจะมีการขายสินค้าหรือไม่ก็ตาม 3. จัดเก็บใบกำกับภาษีตามเดือนภาษีโดยแยกแฟ้มใบกำกับภาษีซื้อและขาย 4. จัดทำรายงานที่เกี่ยวข้อง อ.อภิญญา ผู้จัดทำ powerpoint หลักการบัญชีเบื้องต้น.คณะวิทยาการจัดการ.มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา

การยื่นแบบแสดงรายการและการชำระภาษีมูลค่าเพิ่ม 1. การชำระภาษีมูลค่าเพิ่ม 2. การขอคืนภาษีมูลค่าเพิ่ม อ.อภิญญา ผู้จัดทำ powerpoint หลักการบัญชีเบื้องต้น.คณะวิทยาการจัดการ.มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา

เอกสารที่ผู้ประกอบการจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่มต้องจัดทำ 1. ใบกำกับภาษี 2. ใบเพิ่มหนี้ 3. ใบลดหนี้ อ.อภิญญา ผู้จัดทำ powerpoint หลักการบัญชีเบื้องต้น.คณะวิทยาการจัดการ.มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา

ภาษีต้องห้าม 1. ภาษีซื้อตามใบกำกับภาษีอย่างย่อ 1. ภาษีซื้อตามใบกำกับภาษีอย่างย่อ 2. มีใบกำกับภาษีแต่ข้อความไม่ถูกต้อง 3. ภาษีซื้อที่เกิดจากการจ่ายเป็นค่ารับรอง 4. ภาษีซื้อที่เกิดจากการซื้อรถยนต์นั่ง อ.อภิญญา ผู้จัดทำ powerpoint หลักการบัญชีเบื้องต้น.คณะวิทยาการจัดการ.มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา

การจัดเก็บรักษาใบกำกับภาษี 1. ให้เรียงลำดับรายการให้ตรงตามรายงาน 2. จัดเก็บไว้ในสถานประกอบการอย่างน้อย 5 ปี 3. จัดเก็บแยกเป็นรายเดือน 4. เรียงลำดับ วัน เดือน ปีก่อนหลัง 5. ให้ออกเลขที่กำกับ อ.อภิญญา ผู้จัดทำ powerpoint หลักการบัญชีเบื้องต้น.คณะวิทยาการจัดการ.มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา

การจัดทำรายงานเกี่ยวกับภาษีมูลค่าเพิ่ม 1. รายงานภาษีขาย 2. รายงานภาษีซื้อ 3. รายงานสินค้าและวัตถุดิบ อ.อภิญญา ผู้จัดทำ powerpoint หลักการบัญชีเบื้องต้น.คณะวิทยาการจัดการ.มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา

การบันทึกบัญชีเกี่ยวกับภาษีมูลค่าเพิ่ม 1. การบันทึกบัญชีของธุรกิจให้บริการ 2. การบันทึกบัญชีของธุรกิจซื้อขายสินค้า อ.อภิญญา ผู้จัดทำ powerpoint หลักการบัญชีเบื้องต้น.คณะวิทยาการจัดการ.มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา