การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ(PMQA) สำนักงานสาธารณสุขอำเภอเมืองมหาสารคาม สามัคคี มีวินัย ใฝ่คุณธรรม
หมวด P ลักษณะสำคัญขององค์การ หมวด 1 การนำองค์การ ลักษณะสำคัญขององค์การ: สภาพแวดล้อม, ความสัมพันธ์ และความท้าทาย 3. การให้ความสำคัญ กับผู้รับบริการ และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย การนำองค์การ 2. การวางแผนเชิง ยุทธศาสตร์ 6. การมุ่งเน้นระบบ การปฏิบัติการ 5. การมุ่งเน้น บุคลากร 7.ผลลัพธ์ การดำเนินการ 4. การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ หมวด P ลักษณะสำคัญขององค์การ หมวด 1 การนำองค์การ หมวด 5 การมุ่งเน้นบุคลากร สามัคคี มีวินัย ใฝ่คุณธรรม
สามัคคี มีวินัย ใฝ่คุณธรรม หมวด P ลักษณะสำคัญขององค์กร N เกิ้ง ตลาด ลาดพัฒนา ท่าสองคอน ท่าตูม แก่งเลิงจาน เขวา แวงน่าง ห้วยแอ่ง เขตเทศบาล หน่วยบริการปฐมภูมิ 4 แห่ง โคกก่อ หนองปลิง นอกเขตเทศบาล รพ.สต. 17 แห่ง หนองโน ประชากร 155,492 คน 14 ตำบล 185 หมู่บ้าน 30 ชุมชน 31,978 ครัวเรือน ดอนหว่าน บัวค้อ อสม. 2,036 คน สามัคคี มีวินัย ใฝ่คุณธรรม แหล่งข้อมูล http://mkm.hdc.moph.go.th
หมวด P ลักษณะสำคัญขององค์กร สำนักงานสาธารณสุขอำเภอเมืองจัดอยู่ในระดับขนาดใหญ่ วิสัยทัศน์ เป็นองค์กรหลักในการพัฒนาระบบสุขภาพ มีคุณภาพได้มาตรฐาน ภายในปี ๒๕๖๓ สามัคคี มีวินัย ใฝ่คุณธรรม
สามัคคี มีวินัย ใฝ่คุณธรรม หมวด P ลักษณะสำคัญขององค์กร ค่านิยมการทำงาน MUEANG Model M= Mastery, U= Unity, E = Excellence, A = Attitude, N = Natural Health, G = Goal) อัตลักษณ์ : สามัคคี มีวินัย ใฝ่คุณธรรม พันธกิจ ดำเนินงานตามพันธกิจร่วมกับโรงพยาบาลมหาสารคามในรูปแบบ คปสอ. ประสานงานร่วมกับ อปท.ตามประกาศ สปสช.พ.ศ. 2557 ทำหน้าที่เลขานุการ พชอ. สามัคคี มีวินัย ใฝ่คุณธรรม
สามัคคี มีวินัย ใฝ่คุณธรรม หมวด P ลักษณะสำคัญขององค์กร การวิเคราะห์ส่วนขาด การถ่ายทอดนโยบาย วิสัยทัศน์ พันธกิจค่านิยมถึง อสม. ความเข้าใจในกฎหมาย ระเบียบที่ถ่องแท้ การประเมินผลตามตัวชี้วัดองค์กรคุณธรรมและความโปร่งใส(ITA) ของ สสอ.เมือง ยังไม่ผ่านเกณฑ์ สามัคคี มีวินัย ใฝ่คุณธรรม
สามัคคี มีวินัย ใฝ่คุณธรรม หมวด 5 การมุ่งเน้นบุคลากร การวิเคราะห์ส่วนขาด ระบบการรักษาความปลอดภัย ไม่ได้มาตรฐาน ภาระงานของเจ้าหน้า ค่อนข้างมาก สามัคคี มีวินัย ใฝ่คุณธรรม
สามัคคี มีวินัย ใฝ่คุณธรรม S – I – I – I - M Structure การขับเคลื่อนงาน PMQA 1. ประชุมรับนโยบาย 2. แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงาน สสอ. ประธานกรรมการ จนท.สสอ.ทุกคน ผอ.รพ.สต. นวก./จพ. พยาบาลวิชาชีพ ผช.สสอ. เลขานุการ สามัคคี มีวินัย ใฝ่คุณธรรม
สามัคคี มีวินัย ใฝ่คุณธรรม S – I1 – I2 – I3 - M Information สถานการณ์การขับเคลื่อนงาน PMQA การใช้ข้อมูลจากผลการประเมินการปฏิบัติราชการ ของสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดมหาสารคาม (SAR ๖๐) มาใช้ในการวิเคราะสถานการณ์ ซึ่งในปี ๒๕๖๐ อำเภอเมือง มีผลการปฏิบัติราชการ ได้ ลำดับที่ ๑๐ จาก ๑๓ อำเภอ ซึ่งเป็นผลมาจากสภาพพื้นที่ เป็นชุมชนเมือง มีการเคลื่อนย้ายประชากรบ่อย ทำให้เป้าหมายในการทำงานไม่อยู่ในพื้นที่ สามัคคี มีวินัย ใฝ่คุณธรรม
สามัคคี มีวินัย ใฝ่คุณธรรม S – I1 – I2 – I3 - M Intervention&Innovation แผนการขับเคลื่อนงาน PMQA กิจกรรมที่ดำเนินการในปี ๒๕๖๑ จะมีการบูรณาการแก้ไขปัญหาสุขภาพในพื้นที่ โดยกำหนดประเด็นที่จะใช้ขับเคลื่อน ได้แก่ พัฒนาการเด็ก ,นักเรียนอ้วน,ตั้งครรภ์วัยรุ่น,น้ำหนักทารกแรกเกิดน้อย ,อาหารปลอดภัย ตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง และเกษตรอินทรีย์,พัฒนาคุณภาพชีวิต เพื่อควบคุมโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยทีมหมอครอบครัว โดยใช้งบประมาณจาก งบ PPE,งบกองทุนสุขภาพตำบล,งบหมู่บ้านละ ๒๐,๐๐๐ บาท (โครงการตามพระราชดำริ) สามัคคี มีวินัย ใฝ่คุณธรรม
สามัคคี มีวินัย ใฝ่คุณธรรม S – I1 – I2 – I3 - M Integration การบูรณาการ PMQA กับงานอื่น/กก.อื่น อำเภอเมืองใช้กลไกการขับเคลื่อนงาน โดย คณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตอำเภอเมือง (พชอ.) โดยมีนายอำเภอเป็นประธาน สาธารณสุขอำเภอเป็นกรรมการเลขานุการ ทำให้สามารถบูรณาการทำงานร่วมกับหน่วยงานอื่นได้ สามัคคี มีวินัย ใฝ่คุณธรรม
สามัคคี มีวินัย ใฝ่คุณธรรม S – I1 – I2 – I3 - M Mornitoring&Evaluation ควบคุมกำกับ/ประเมินผล การประเมินผลจะใช้การประเมินผลการปฏิบัติราชการของ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดมหาสารคาม เพื่อเปรียบเทียบผลงานกับปีที่ผ่านมา และมีการควบคุมกำกับโดย คกก.พชอ. ,และคปสอ. สามัคคี มีวินัย ใฝ่คุณธรรม
สามัคคี มีวินัย ใฝ่คุณธรรม ข้อเสนอแนะ การจัดทำ PMQA เนื่องจากเป็นเรื่องใหม่สำหรับบุคลากร สสอ. ควรมีการเรียนรู้ไปและทำไปพร้อมๆกัน สามัคคี มีวินัย ใฝ่คุณธรรม
สามัคคี มีวินัย ใฝ่คุณธรรม