Database Design & Development

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โปรแกรมขึ้นทะเบียนเกษตรกร ผู้ปลูกข้าวนาปี ปี 2557/58
Advertisements

Chapter3 : Data Model Class on 23 and 24 Nov 10
แบบจำลองฐานข้อมูล คือ เครื่องมือในเชิงแนวคิดที่ใช้ในการอธิบาย ข้อมูล
ชื่อผู้สอน : นางฐิติมา พิริยะ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
จัดทำโดย น. ส. ดวงกมล งามอยู่เจริญ เลขที่ 8 น. ส. ณัชชา เชื้อตา เลขที่ 6 เตรียมบริหารธุรกิจปี 1.
System Database Semester 1, 2009 Worrakit Sanpote 1.
การใช้งานโปรแกรม SPSS
Entity-Relationship Model E-R Model
ซอฟต์แวร์ระบบที่รู้จักกันดี คือซอฟต์แวร์ควบคุมการปฏิบัติการ ของคอมพิวเตอร์ที่เรียกว่า ระบบปฏิบัติการ ระบบปฏิบัติการเป็นชุดคำสั่งที่ใช้ควบคุมระบบฮาร์ดแวร์และ.
หลักการออกแบบฐานข้อมูล
Computer in Business เรื่อง การใช้งาน Access เบื้องต้น.
1. Select query ใช้สำหรับดึงข้อมูลที่ต้องการ
(กล้องจับที่วิทยากร)
MS-Access. SQL สามารถเรียกใช้ฐานข้อมูล ได้ทุกค่าย Access MySQL Foxpro DBF DB2Oracle MS SQL.
Intro Excel 2010 ข้อมูลจาก... ellession1.htm.
เรื่อง หลักการเขียนโปรแกรม เบื้องต้น จัดทำโดย นางสาวชาดา ศักดิ์บุญญารัตน์
การจัดเก็บข้อมูลในแฟ้มข้อมูลธรรมดา นั้น อาจจำเป็นที่ใช้แต่ละคน จะต้องมีแฟ้มข้อมูลของตนไว้เป็นส่วนตัว จึง อาจเป็นเหตุให้มีการเก็บข้อมูล ชนิดเดียวกันไว้หลาย.
Microsoft Access 2007 ทำความรู้จักและใช้งาน. รู้จักกับฐานข้อมูล (Database) ฐานข้อมูล (Data base) คือ ? Bit Byte Field/Word Record Table/File.
การออกแบบโครงสร้างข้อมูล การออกแบบโครงสร้างข้อมูล หมายถึง กรณีสร้างตารางใหม่ด้วย ออกแบบตาราง (Table Design) เพื่อต้องการกำหนด โครงสร้างด้วยตนเอง โดยมีขั้นตอนการ.
ซอร์ฟแวร์ ( Software ). Microsoft excel Microsoft excel Microsoft power point.. Link Link.
ฐานข้อมูล.
“วิธีการใช้งาน PG Program New Version สำหรับ PGD”
Microsoft Access 2007 การสร้างฟอร์ม
SQL Structured Query Language.
การทำ Normalization 14/11/61.
โดย อ.อภิพงศ์ ปิงยศ รายวิชา สธ312 ระบบการจัดการฐานข้อมูลทางธุรกิจ
สถาปัตยกรรมของระบบฐานข้อมูล
หน่วยการเรียนที่ 6 เรื่อง การจัดการฐานข้อมูลด้วย PHP Function
บทสรุป ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
บทที่ 11 การเขียนแผนผังข้อมูลแบบสัมพัทธ์.
ฐานข้อมูลและ ระบบจัดการฐานข้อมูล
บทที่ 1 สถาปัตยกรรมของระบบฐานข้อมูล (Database Architecture)
การจัดการระบบฐานข้อมูล ภาษาที่ใช้ในระบบจัดการฐานข้อมูล
ห้องแลปการคิดสร้างสรรค์
Chapter 4 : ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ (Relational Database)
บทที่ 3 แบบจำลองข้อมูล Data Models
บทที่ 5 ระบบจัดการฐานข้อมูล
เซต (SET) ประวัติย่อของวิชาเซต ความหมายของเซต การเขียนแทนเซต
คำสั่ง Create , Insert, Delete, Update
บทที่ 3 แฟ้มข้อมูลและฐานข้อมูล
บทที่ 4 ความรู้เกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
ภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๐ ผู้สอน : คุณครูภาคภูมิ คล้ายทอง
CIT2205 โปรแกรมประยุกต์ด้านการจัดการฐานข้อมูล
การสร้างโมเดลจำลองความสัมพันธ์ ระหว่างข้อมูล E-R Model
วิธีการกำหนดค่า Microsoft SharePoint ของคุณ เว็บไซต์ออนไลน์
หน่วยที่ 3 การประมวลผลข้อมูลให้เป็นสารสนเทศ
บทที่ 6 แนวคิดเทคโนโลยีเสมือนจริง
บทสรุป ระดับของข้อมูล มีการจัดแบ่งระดับของข้อมูลเป็น 3 ระดับ
Application of Software Package in Office
อาจารย์ณัฐภัทร แก้วรัตนภัทร์ วท.ม.,วท.บ.เกียรตินิยมอันดับ1
SMS News Distribute Service
แบบจำลอง อะตอมของจอห์นดาลตัน
ทำความรู้จักและใช้งาน
การสร้างแบบสอบถาม และ การกำหนดเงื่อนไข.
การแก้ไขข้อมูล ความสัมพันธ์ระหว่างตาราง
สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ โดย อาจารย์กิตติพงษ์ ภู่พัฒน์วิบูลย์
บทสรุป ความหมายของ Query ความหมายของ Query
สถาปัตยกรรมของฐานข้อมูล
การเปลี่ยนแปลงประมาณการทางบัญชี และข้อผิดพลาด
Introduction to Database System
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ Relational Database
ตัวแบบข้อมูล (Data Modeling)
Array: One Dimension Programming I 9.
บทที่ 4 การจำลองข้อมูลและกระบวนการ (Data and Process Modeling)
Chapter 7 : ขั้นตอนการแปลงแผนภาพ ER มาเป็นรีเลชั่น ( ER-to-Relational Mapping Algorithm ) อ.คเชนทร์ ซ่อนกลิ่น.
การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาไพทอน การเขียนโปรแกรมแบบทางเลือก
กิจกรรมที่ 12 รวบรวมข้อมูลอย่างไรกันดี
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

204204 Database Design & Development Relational Database 204204 Database Design & Development

วัตถุประสงค์รายครั้ง อธิบายแนวคิดของฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ได้อย่างถูกต้อง บอกความหมายของคำที่เกี่ยวข้องกับฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ได้อย่างถูกต้อง

หัวข้อการบรรยาย คำศัพท์เกี่ยวกับโมเดลเชิงสัมพันธ์ คุณสมบัติของ Relation แนวคิดของ E.F Codd ค่าว่าง (Null Value) Redundant & Duplicate Data ชนิดของ Relation ประเภทของ Key ภาษาของฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ เหตุผลในการใช้ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์

คำศัพท์เกี่ยวกับโมเดลเชิงสัมพันธ์ รีเลชั่น (Relation) ทูเปิล (Tuple) แอททริบิวท์ (Attribute) คาร์ดินัลลิติ้ (Cardinality) ดีกรี (Degree) คีย์หลัก (Primary key) โดเมน (Domain)

ศัพท์เฉพาะ ศัพท์ทั่วไป รีเลชั่น (Relation) ตาราง (Table) ทูเปิล (Tuple) แถว (Row) หรือ เรคคอร์ด (Record) หรือ ระเบียน แอททริบิวท์ (Attribute) คอลัมน์ (Column) หรือฟิลด์ (Field) คาร์ดินัลลิติ้ (Cardinality) จำนวนแถว (Number of rows) ดีกรี (Degree) จำนวนแอททริบิวท์ (Number of attribute) คีย์หลัก (Primary key) ค่าเอกลักษณ์ (Unique identifier) โดเมน (Domain) ขอบข่ายของค่าของข้อมูล (Pool of legal values)

R(รหัสประจำตัวประชาชน,ชื่อ,นามสกุล,วันเกิด:Datetime) ลูกค้า(รหัสประจำตัวประชาชน,ชื่อ,นามสกุล,วันเกิด) แอททริบิวท์ (Attribute) รหัสประจำตัวประชาชน ชื่อ นามสกุล วันเกิด 3102401250111 ชนวัฒน์ ศรีสอ้าน 16/04/2514 3102401250112 สมชาย รักไทย 6/11/2514 3102401250113 ไอรดา สืบสาย 12/06/2514 เรคคอร์ด (Record) ตาราง (Table) หรือ รีเลชั่น (Relation)

คุณสมบัติของ Relation ไม่มี Tuples คู่ใด ๆ เลยที่ซ้ำกัน ลำดับที่ของ Tuples ไม่มีความสำคัญ ลำดับที่ของ Attributes ไม่มีความสำคัญ ค่าของ Attribute จะเป็นค่าเดี่ยว ๆ (Atomic) ค่าของข้อมูลในแต่ละ Attribute จะบรรจุค่าของข้อมูลประเภทเดียวกัน

คุณสมบัติของ Relation ไม่มี Tuples คู่ใด ๆ เลยที่ซ้ำกัน ลำดับที่ของ Tuples ไม่มีความสำคัญ ลำดับที่ของ Attributes ไม่มีความสำคัญ ค่าของ Attribute จะเป็นค่าเดี่ยว ๆ (Atomic) ค่าของข้อมูลในแต่ละ Attribute จะบรรจุค่าของข้อมูลประเภทเดียวกัน

คุณสมบัติของ Relation ไม่มี Tuples คู่ใด ๆ เลยที่ซ้ำกัน ลำดับที่ของ Tuples ไม่มีความสำคัญ ลำดับที่ของ Attributes ไม่มีความสำคัญ ค่าของ Attribute จะเป็นค่าเดี่ยว ๆ (Atomic) ค่าของข้อมูลในแต่ละ Attribute จะบรรจุค่าของข้อมูลประเภทเดียวกัน รหัสประจำตัวประชาชน ชื่อ นามสกุล วันเกิด 3102401250111 ชนวัฒน์ ศรีสอ้าน 16/04/2514 3102401250112 สมชาย รักไทย 6/11/2514 3102401250113 ไอรดา สืบสาย 12/06/2514

คุณสมบัติของ Relation ไม่มี Tuples คู่ใด ๆ เลยที่ซ้ำกัน ลำดับที่ของ Tuples ไม่มีความสำคัญ ลำดับที่ของ Attributes ไม่มีความสำคัญ ค่าของ Attribute จะเป็นค่าเดี่ยว ๆ (Atomic) ค่าของข้อมูลในแต่ละ Attribute จะบรรจุค่าของข้อมูลประเภทเดียวกัน

คุณสมบัติของ Relation ไม่มี Tuples คู่ใด ๆ เลยที่ซ้ำกัน ลำดับที่ของ Tuples ไม่มีความสำคัญ ลำดับที่ของ Attributes ไม่มีความสำคัญ ค่าของ Attribute จะเป็นค่าเดี่ยว ๆ (Atomic) ค่าของข้อมูลในแต่ละ Attribute จะบรรจุค่าของข้อมูลประเภทเดียวกัน รหัสประจำตัวประชาชน ชื่อ นามสกุล วันเกิด 3102401250113 ไอรดา สืบสาย 12/06/2514 3102401250111 ชนวัฒน์ ศรีสอ้าน 16/04/2514 3102401250112 สมชาย รักไทย 6/11/2514

คุณสมบัติของ Relation ไม่มี Tuples คู่ใด ๆ เลยที่ซ้ำกัน ลำดับที่ของ Tuples ไม่มีความสำคัญ ลำดับที่ของ Attributes ไม่มีความสำคัญ ค่าของ Attribute จะเป็นค่าเดี่ยว ๆ (Atomic) ค่าของข้อมูลในแต่ละ Attribute จะบรรจุค่าของข้อมูลประเภทเดียวกัน

คุณสมบัติของ Relation ไม่มี Tuples คู่ใด ๆ เลยที่ซ้ำกัน ลำดับที่ของ Tuples ไม่มีความสำคัญ ลำดับที่ของ Attributes ไม่มีความสำคัญ ค่าของ Attribute จะเป็นค่าเดี่ยว ๆ (Atomic) ค่าของข้อมูลในแต่ละ Attribute จะบรรจุค่าของข้อมูลประเภทเดียวกัน ชื่อ รหัสประจำตัวประชาชน นามสกุล วันเกิด ไอรดา 3102401250113 สืบสาย 12/06/2514 ชนวัฒน์ 3102401250111 ศรีสอ้าน 16/04/2514 สมชาย 3102401250112 รักไทย 6/11/2514

คุณสมบัติของ Relation ไม่มี Tuples คู่ใด ๆ เลยที่ซ้ำกัน ลำดับที่ของ Tuples ไม่มีความสำคัญ ลำดับที่ของ Attributes ไม่มีความสำคัญ ค่าของ Attribute จะเป็นค่าเดี่ยว ๆ (Atomic) ค่าของข้อมูลในแต่ละ Attribute จะบรรจุค่าของข้อมูลประเภทเดียวกัน

คุณสมบัติของ Relation ไม่มี Tuples คู่ใด ๆ เลยที่ซ้ำกัน ลำดับที่ของ Tuples ไม่มีความสำคัญ ลำดับที่ของ Attributes ไม่มีความสำคัญ ค่าของ Attribute จะเป็นค่าเดี่ยว ๆ (Atomic) ค่าของข้อมูลในแต่ละ Attribute จะบรรจุค่าของข้อมูลประเภทเดียวกัน ชื่อ รหัสประจำตัวประชาชน นามสกุล วันเกิด ไอรดา 3102401250113 3102401250112 3102401250111 สืบสาย 12/06/2514 ชนวัฒน์ ศรีสอ้าน 16/04/2514 สมศรี สมชาย 3102401250112 รักไทย 6/11/2514

คุณสมบัติของ Relation ไม่มี Tuples คู่ใด ๆ เลยที่ซ้ำกัน ลำดับที่ของ Tuples ไม่มีความสำคัญ ลำดับที่ของ Attributes ไม่มีความสำคัญ ค่าของ Attribute จะเป็นค่าเดี่ยว ๆ (Atomic) ค่าของข้อมูลในแต่ละ Attribute จะบรรจุค่าของข้อมูลประเภทเดียวกัน

คุณสมบัติของ Relation ไม่มี Tuples คู่ใด ๆ เลยที่ซ้ำกัน ลำดับที่ของ Tuples ไม่มีความสำคัญ ลำดับที่ของ Attributes ไม่มีความสำคัญ ค่าของ Attribute จะเป็นค่าเดี่ยว ๆ (Atomic) ค่าของข้อมูลในแต่ละ Attribute จะบรรจุค่าของข้อมูลประเภทเดียวกัน ชื่อ รหัสประจำตัวประชาชน นามสกุล วันเกิด ไอรดา สามหนึ่งศูนย์สองสี่ สืบสาย 99999 ชนวัฒน์ 3102401250111 ศรีสอ้าน 16/04/2514 สมชาย 3102401250112 รักไทย สวัสดี

ชื่อ รหัสประจำตัวประชาชน นามสกุล วันเกิด ไอรดา สามหนึ่งศูนย์สองสี่ สืบสาย 99999 ชนวัฒน์ 3102401250111 ศรีสอ้าน 16/04/2514 สมชาย 3102401250112 รักไทย สวัสดี

หัวข้อการบรรยาย คำศัพท์เกี่ยวกับโมเดลเชิงสัมพันธ์ คุณสมบัติของ Relation แนวคิดของ E.F Codd ค่าว่าง (Null Value) Redundant & Duplicate Data ชนิดของ Relation ประเภทของ Key ภาษาของฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ เหตุผลในการใช้ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์

แนวคิดของ E.F Codd กฎข้อที่ 1 กฎข่าวสาร (The Information Rule) กฎข้อที่ 2 กฎการการันตีการเข้าถึงข้อมูล (Guaranteed Access Rule) กฎข้อที่ 3 วิธีแสดงว่าข้อมูลบางรายการยังไม่พร้อม หรือยังไม่มีค่า ให้ใช้ค่า null กฎข้อที่ 4 โครงสร้าง จะต้องมีสภาพ โมเดลแบบรีเลชั่นนอล กฎข้อที่ 5 กฎของภาษา (Comprehensive data sublanguage rule) กฎข้อที่ 6 กฎการแก้ไขข้อมูลผ่านทางวิว (View update rule)

แนวคิดของ E.F Codd กฎข้อที่ 7 ความสามารถในการเพิ่ม ลด และแก้ไขข้อมูล กฎข้อที่ 8 ความเป็นอิสระของข้อมูลในระดับกายภาพ (Physical data independence) กฎข้อที่ 9 ความเป็นอิสระของข้อมูลในระดับตรรก (Logical data independence) กฎข้อ 10 ความเป็นอิสระของ DBMS กฎข้อ 11 ความเป็นอิสระของการกระจาย กฎข้อ 12 การไม่ยอมให้ภาษาอื่นทำลายกฎ

ค่าว่าง (Null Value) ค่าของ Attribute อาจจะเป็นค่าว่าง (Null) คือ ไม่มีค่าหรือยังไม่ทราบค่าได้ ตัวอย่างเช่น จำนวนไข่ของนกกระจอกเทศ จะสามารถบอกได้เมื่อนกกระจอกเทศออกไข่แล้ว แต่ยังไม่ทราบค่า ในขณะที่จำนวนไข่ของช้างนั้นไม่มีค่า เป็นต้น

Redundant & Duplicate Data Duplicate data จะเกิดขึ้นก็ต่อเมื่อ Attribute หนึ่งมีค่าของข้อมูลที่เหมือนกันตั้งแต่สองค่าขึ้นไป ข้อมูลจะซ้ำซ้อน (Redundant) ก็ต่อเมื่อเราสามารถตัดข้อมูลที่ซ้ำซ้อนนั้นออกไปได้ โดยไม่ทำให้สูญเสียข้อมูล อาจกล่าวได้ว่า ความซ้ำซ้อน (Redundancy) คือ Duplication ที่ไม่จำเป็น

Part Part-description P2 Nut - P1 Bolt P3 Washer P4 (a) (b)

Supplier-part Supplier Part Part-description S2 P1 Bolt S7 P6 P4 Nut S5 - (a) (b)

Supplier-Part-1 Part Supplier# Part-description Part# S2 P1 Bolt S7 P6 P4 Nut S5 (a) (b)

หัวข้อการบรรยาย คำศัพท์เกี่ยวกับโมเดลเชิงสัมพันธ์ คุณสมบัติของ Relation แนวคิดของ E.F Codd ค่าว่าง (Null Value) Redundant & Duplicate Data ชนิดของ Relation ประเภทของ Key ภาษาของฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ เหตุผลในการใช้ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์

ชนิดของ Relation Relation หลัก (Base Relation) เป็น Relation ที่ถูกกำหนดขึ้นเพื่อเก็บข้อมูลและเพื่อนำข้อมูลไปใช้เมื่อมีการสร้าง Relation โดยใช้ Data Definition Language เช่น ใน SQL คำสั่ง CREATE TABLE เป็นการสร้าง Relation หลัก วิว (View) หรืออาจเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า Relation สมมติ (Virtual Relation) เป็น Relation ที่ถูกสร้างขึ้นตามความต้องการใช้ข้อมูลของผู้ใช้แต่ละคน เนื่องจากผู้ใช้แต่ละคนอาจต้องการใช้ข้อมูลในลักษณะที่แตกต่างกัน จึงทำการกำหนดวิวของตัวเองขึ้นมาจาก Relation หลัก

หัวข้อการบรรยาย คำศัพท์เกี่ยวกับโมเดลเชิงสัมพันธ์ คุณสมบัติของ Relation แนวคิดของ E.F Codd ค่าว่าง (Null Value) Redundant & Duplicate Data ชนิดของ Relation ประเภทของ Key ภาษาของฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ เหตุผลในการใช้ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์

ประเภทของ Key Simple key หมายถึง key ที่ประกอบด้วย attribute เดียว Combine key (Composite key หรือ Concatenated key) Combine key หรือ คีย์ประกอบ หมายถึง key ที่ประกอบด้วย attribute มากกว่า 1 attribute Candidate key Candidate key หรือ คีย์คู่แข่งหมายถึง key ที่สามารถจะเป็นคู่แข่งซึ่งจะถูกเลือกให้เป็นคีย์หลัก

Primary key Foreign key Primary key หรือ คีย์หลัก หมายถึง candidate key ตัวหนึ่งที่ถูกเลือกขึ้นมาเป็นคีย์หลัก สำหรับ primary key เราจะใช้สัญลักษณ์ขีดเส้นใต้กำกับไว้ใต้ attribute ตัวนั้น Foreign key หมายถึง nonkey attribute ใน relation หนึ่งที่เป็น primary key ใน relation อื่น

Secondary key (Alternate key) คีย์รอง หมายถึง candidate key ที่ไม่ได้ถูกเลือกเป็นคีย์หลัก (primary key) Superkey attribute หรือ เซ็ทของ attribute ที่สามารถบ่งบอกว่าแต่ละแถว (Tuple) แตกต่างกัน ในทุก ๆ ความสัมพันธ์ จะต้องมีอย่างน้อย หนึ่ง Super key ในเซ็ทของ attributes

หัวข้อการบรรยาย คำศัพท์เกี่ยวกับโมเดลเชิงสัมพันธ์ คุณสมบัติของ Relation แนวคิดของ E.F Codd ค่าว่าง (Null Value) Redundant & Duplicate Data ชนิดของ Relation ประเภทของ Key ภาษาของฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ เหตุผลในการใช้ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์

Data Manipulation Language ต้องเป็นภาษา Relational Complete Language ตามแนวคิดของ Codd มี 2 สาย ดังนี้ Relational Calculus (R.C) Relational Algebra (R.A)

เหตุผลในการใช้ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ ผลงานที่ได้จากการพัฒนาระบบงานสูงสุด (Productivity สูงมาก) โครงสร้างข้อมูลเรียบง่าย ทำให้ง่านต่อการใช้งานและการเขียนโปรแกรม ภาษาที่ใช้เหมาะสม เป็นภาษาที่เรียกว่า “relational complete language” เป็น concept ของ set theory เช่น ภาษา SQL, QBE เป็นต้น

หัวข้อการบรรยาย คำศัพท์เกี่ยวกับโมเดลเชิงสัมพันธ์ คุณสมบัติของ Relation แนวคิดของ E.F Codd ค่าว่าง (Null Value) Redundant & Duplicate Data ชนิดของ Relation ประเภทของ Key ภาษาของฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ เหตุผลในการใช้ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์

วัตถุประสงค์รายครั้ง อธิบายแนวคิดของฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ได้อย่างถูกต้อง บอกความหมายของคำที่เกี่ยวข้องกับฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ได้อย่างถูกต้อง

204204 Database Design & Development Relational Database 204204 Database Design & Development