งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ห้องแลปการคิดสร้างสรรค์

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ห้องแลปการคิดสร้างสรรค์"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ห้องแลปการคิดสร้างสรรค์
The Development of Constructivist Web-based Learning Environment Model to Enhance Creative Thinking for Higher Education Students. แหล่งการเรียนรู้ แหล่งการเรียนรู้ Context Diagram Data Flow Diagram กรณีใกล้เคียง Database Design เครื่องมือทางปัญญา Normalization ศูนย์ให้คำแนะนำ E-R Diagram แลกเปลี่ยนเรียนรู้ E-R Diagram to Relation ฐานการช่วยเหลือ e-Book e-Library Wiki pedia Search Link ห้องแลปการคิดสร้างสรรค์ กลับหน้าหลัก Copyright © 2008, All Rights Reserved.

2 Normalization แหล่งการเรียนรู้ ปุ่มนะ Normalization
e-Book e-Library Wiki pedia Search Link กลับหน้าหลัก Copyright © 2008, All Rights Reserved.

3 Normalization แหล่งการเรียนรู้ Normalization
คือ เป็นกระบวนการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่าง Attribute ในแต่ละ Relation เพื่อขจัดความซ้ำซ้อนในแต่ละ Relation ให้เหลือน้อยที่สุด หรือจนกระทั่งไม่มีความซ้ำซ้อน ความซ้ำซ้อนของข้อมูลในรีเลชันอาจจะทำให้เกิดความผิดปกติ ซึ่งแบ่งได้เป็น 3 ลักษณะคือ 1. ความผิดพลาดจากเพิ่มข้อมูล (Insertion Anomaly) 2. ความผิดพลาดจากลบข้อมูล (Deletion Anomaly) 3. ความผิดพลาดจากการแก้ไขข้อมูล (Update Anomaly) e-Book e-Library Wiki pedia Search Link กลับหน้าหลัก Copyright © 2008, All Rights Reserved.

4 Normalization แหล่งการเรียนรู้ Normalization
Normalization เป็นทฤษฎีที่ใช้ในการทำให้ Entity และ Attribute ที่ได้ออกแบบไว้ ถูกจัดกลุ่มเป็นตารางที่มีความสัมพันธ์ เพื่อ 1. ลดความซ้ำซ้อนของข้อมูลในตาราง เพื่อจะได้ไม่ต้องแก้ไขข้อมูลหลายๆที่ 2. ทำให้การเปลี่ยนแปลงแก้ไขโครงสร้างของตารางในภายหลังทำได้ง่าย 3. ทำให้การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างฐานข้อมูลมีผลกระทบต่อ Application ที่เข้าถึงข้อมูลในฐานข้อมูลน้อยที่สุด 4. ส่วนมากจะทำ Normal ในระดับ 1-3 ถ้าซ้ำซ้อนมากจะอยู่ระดับ 4-5 e-Book e-Library Wiki pedia Search Link กลับหน้าหลัก Copyright © 2008, All Rights Reserved.

5 Normalization แหล่งการเรียนรู้ กระบวนการของ Normalization
1. ในช่วงของการออกแบบจำลองเชิงแนวคิด ได้มีการ Normalization แผนภาพ E-R ในระหว่างการสร้างแผนภาพดังกล่าว 2. ในช่วงของการออกแบบฐานข้อมูลเชิงตรรกะ ซึ่งจะมีกระบวนการแปลงแผนภาพ E-R มาเป็น Relation ทั้งนี้เพื่อให้ Relation ที่ออกแบบมามีคุณภาพที่ดี ดังนั้นจึงสามารถ นำเทคนิคการ Normalization มาใช้เพื่อตรวจสอบโครงสร้าง Relation 3. ในการเปลี่ยนแปลงปรับปรุงระบบเดิม ซึ่งอาจมีจำนวนตารางหรือ Relation อยู่มากมาย ทั้งนี้อาจมีความซ้ำซ้อนของข้อมูลปนอยู่ตาม Relation ต่างๆ ซึ่งเป็นสาเหตุของ ข้อผิดพลาดในข้อมูลดังนั้นจึงต้องขจัดข้อผิดพลาดเหล่านี้ออกไปด้วยการ Normalization e-Book e-Library Wiki pedia Search Link กลับหน้าหลัก Copyright © 2008, All Rights Reserved.

6 Normalization แหล่งการเรียนรู้ กฎการ Normalization
กฎการนอร์มอลไลท์ (Normal Form:NF) เป็นการจัดแบ่งระดับรีเลชันตามคุณสมบัติ ของรีเลชันนั้น กฎการนอร์มอลไลท์ที่สำคัญมี ดังนี้ e-Book e-Library Wiki pedia Search Link กลับหน้าหลัก Copyright © 2008, All Rights Reserved.

7 Normalization แหล่งการเรียนรู้ กฎการ Normalization
กฎการนอร์มอลไลท์ (Normal Form:NF) เป็นการจัดแบ่งระดับรีเลชันตามคุณสมบัติ ของรีเลชันนั้น รูปแบบนอร์มอลไลท์ที่สำคัญมี ดังนี้ รูปแบบนอร์มอลระดับที่หนึ่ง (First Normal Form : 1NF) รูปแบบนอร์มอลระดับที่สอง (Second Normal Form : 2NF) รูปแบบนอร์มอลระดับที่สาม (Third Normal Form : 3NF) รูปแบบนอร์มอลบอยส์-คอด(Boyce-Codd Normal Form : BCNF) รูปแบบนอร์มอลระดับที่สี่ (Fourth Normal Form : 4NF) รูปแบบนอลร์มอลระดับที่ห้า (Fifth Normal Form : 5NF) ฐานข้อมูลแบบรีเลชันจะเป็นฐานข้อมูลที่มีประสิทธิภาพถ้าทุกๆ รีเลชัน ในฐานข้อมูลอยู่ในรูปแบบนอร์มอลระดับที่สาม หรือรูปแบบ BCNF เป็นอย่างน้อย e-Book e-Library Wiki pedia Search Link กลับหน้าหลัก Copyright © 2008, All Rights Reserved.

8 ตัวอย่าง First Normal Form : 1NF
แหล่งการเรียนรู้ Normalization กฎการ Normalization รูปแบบนอร์มอล ระดับที่ 1 (First Normal Form : 1NF) นิยาม ...” รีเลชันใดๆ จะมีคุณสมบัติอยู่ในรูปแบบนอร์มอลระดับที่ 1 ก็ต่อเมื่อ ทุกแอตทริบิวต์ในแต่ละทูเพิลมีค่าของข้อมูลเพียงค่าเดียว คือต้องไม่ค่ากลุ่มข้อมูล ที่ซ้ำกัน (Repeating Group) “ เป็นปุ่ม Link ไปที่ EXNormalization.pdf ทุกปุ่มที่เป็นตัวอย่าง Link ไปที่เดียวกันเลย ตัวอย่าง First Normal Form : 1NF e-Book e-Library Wiki pedia Search Link กลับหน้าหลัก Copyright © 2008, All Rights Reserved.

9 ตัวอย่าง Second Normal Form : 2NF
แหล่งการเรียนรู้ Normalization กฎการ Normalization รูปแบบนอร์มอล ระดับที่ 2 (Second Normal Form : 2NF) นิยาม ...” รีเลชันใดๆ จะมีคุณสมบัติอยู่ในรูปแบบนอร์มอลระดับที่ 2 ก็ต่อเมื่อ 1. รีเลชันนั้นมีคุณสมบัติอยู่ในรูปแบบนอร์มอล ระดับที่ 1 2. ทุกแอตทริบิวต์ที่ไม่ใช่คีย์หลัก ต้องมีความสัมพันธ์กับแอตทริบิวต์ที่เป็นคีย์หลัก หรือ ทุกแอตทริบิวต์ที่ประกอบกันเป็นคีย์หลัก มิใช่ส่วนหนึ่งส่วนใดของคีย์หลัก (เป็นกรณีที่คีย์หลักนั้นมีคีย์ร่วม (Composition Key) คือ มีหลายแอตทริบิวต์ ประกอบกันเป็นคีย์หลัก) “ ตัวอย่าง Second Normal Form : 2NF e-Book e-Library Wiki pedia Search Link กลับหน้าหลัก Copyright © 2008, All Rights Reserved.

10 ตัวอย่าง Third Normal Form : 3NF
แหล่งการเรียนรู้ Normalization กฎการ Normalization รูปแบบนอร์มอล ระดับที่ 3 (Third Normal Form : 3NF) นิยาม ...” รีเลชันใดๆ จะมีคุณสมบัติอยู่ในรูปแบบนอร์มอลระดับที่ 3 ก็ต่อเมื่อ 1. รีเลชันนั้นมีคุณสมบัติอยู่ในรูปแบบนอร์มอล ระดับที่ 2 แล้ว 2. ทุกแอตทริบิวต์ที่ไม่ใช่คีย์หลัก จะต้องไม่ขึ้นกับแอตทริบิวต์อื่นๆ ที่ไม่ใช่คีย์หลัก หรือ อาจกล่าวว่า ทุกแอตทริบิวต์ที่ไม่ใช่คีย์หลัก ไม่มีสิทธิในการระบุค่าของ แอตทริบิวต์อื่นที่มิใช่คีย์หลัก หรืออาจกล่าวอีกนัยหนึ่งว่า รีเลชันนั้นต้องไม่มี ความสัมพันธ์ระหว่างแอตทริบิวต์เป็นแบบ Transitive เกิดขึ้น ตัวอย่าง Third Normal Form : 3NF e-Book e-Library Wiki pedia Search Link กลับหน้าหลัก Copyright © 2008, All Rights Reserved.

11 ตัวอย่าง Boyce/Codd Normal Form : BCNF
แหล่งการเรียนรู้ Normalization กฎการ Normalization รูปแบบนอร์มอล ของบอยส์และคอดด์ (Boyce/Codd Normal Form : BCNF) นิยาม ...” รีเลชันใดๆ จะมีคุณสมบัติอยู่ในรูปแบบบอยส์และคอดด์ ก็ต่อเมื่อ 1. ทุกแอตทริบิวต์ที่เป็นตัวระบุค่า (Determinant) ในรีเลชันนั้น ต้องเป็นคีย์หลัก 2. ต้องไม่มีแอตทริบิวต์ใดในรีเลชัน ที่ใช้ระบุค่าของแอตทริบิวต์ที่เป็นคีย์หลัก หรือ ส่วนหนึ่งส่วนใดของแอตบริบิวต์ที่ประกอบกันเป็นคีย์หลักได้”.. ตัวอย่าง Boyce/Codd Normal Form : BCNF e-Book e-Library Wiki pedia Search Link กลับหน้าหลัก Copyright © 2008, All Rights Reserved.

12 ตัวอย่าง Fourth Normal Form : 4NF
แหล่งการเรียนรู้ Normalization กฎการ Normalization รูปแบบนอร์มอล ระดับที่ 4 (Fourth Normal Form : 4NF) นิยาม ...” รีเลชันใดๆ จะมีคุณสมบัติอยู่ในรูปแบบนอร์มอลระดับ 4 ก็ต่อเมื่อ 1. รีเลชันนั้นมีคุณสมบัติอยู่ในรูปแบบนอร์มอล ของบอยส์และคอดด์แล้ว 2. รีเลชันนั้นต้องไม่มีการขึ้นต่อกันเป็นเชิงกลุ่ม (Multivalued Dependency) หรือ อาจกล่าวได้ว่าเป็นรีเลชันที่ไม่มีความสัมพันธ์ในการระบุค่าของแอตทริบิวต์เป็น แบบหลายค่า โดยที่แอตทริบิวต์ที่ถูกระบุค่าเหล่านี้ ไม่มีความสัมพันธ์กัน (Independently Multivalued Dependency)” ตัวอย่าง Fourth Normal Form : 4NF e-Book e-Library Wiki pedia Search Link กลับหน้าหลัก Copyright © 2008, All Rights Reserved.

13 ตัวอย่าง Fifth Normal Form : 5NF
แหล่งการเรียนรู้ Normalization กฎการ Normalization รูปแบบนอร์มอล ระดับที่ 5 (Fifth Normal Form : 5NF) นิยาม ...” รีเลชันใดๆ จะมีคุณสมบัติอยู่ในรูปแบบนอร์มอลระดับ 5 ก็ต่อเมื่อ 1. รีเลชันนั้นมีคุณสมบัติอยู่ในรูปแบบนอร์มอล ระดับที่ 4 แล้ว 2. ต้องไม่มีการขึ้นต่อกันเชิงร่วม (Join Dependency)” ตัวอย่าง Fifth Normal Form : 5NF e-Book e-Library Wiki pedia Search Link กลับหน้าหลัก Copyright © 2008, All Rights Reserved.

14 Normalization แหล่งการเรียนรู้ สรุปขั้นตอนการ Normalization e-Book
ตารางที่มีกลุ่มข้อมูลซ้ำ (Repeating Group) รูปแบบนอร์มอลระดับที่หนึ่ง First Normal Form:1NF รูปแบบนอร์มอลระดับที่สอง Second Normal Form:2NF รูปแบบนอร์มอลระดับที่สาม Third Normal Form:3NF รูปแบบนอร์มอลระดับที่สี่ Fourth Normal Form:4NF รูปแบบนอร์มอลบอยส์-คอด Boyce-Code Normal Form กำจัดกลุ่มข้อมูล กำจัดการขึ้นต่อกันเพียงบางส่วน Partial Function Dependency กำจัดการขึ้นต่อกับแบบทรานซิทีพ Transitive Function Dependency กำจัดความผิดปกติจากกรณีคีย์ คู่แข่งมีแอททริบิวท์ร่วมกัน กำจัดความผิดปกติจาก ฟังก์การขึ้นต่อกันแบบกลุ่ม e-Book e-Library Wiki pedia Search Link กลับหน้าหลัก Copyright © 2008, All Rights Reserved.


ดาวน์โหลด ppt ห้องแลปการคิดสร้างสรรค์

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google