เทคนิคการเขียนบทความทางวิชาการ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การควบคุมโดยผู้ปกครอง parental control
Advertisements

มาตรฐานการบันทึกข้อมูลในสถานพยาบาล การให้รหัส และการส่งข้อมูล 43 แฟ้ม
มองไม่เห็นก็เรียนได้
ข้อดี และประสบการณ์ที่ควร ปรับปรุงเพื่อนำไปใช้ให้เกิด ประโยชน์จากการเข้าร่วมอบรม ให้สัมฤทธิ์ผลและสามารถ นำไปประยุกต์ใช้ในการทำงาน.
ส่วนประกอบของวงจรไฟฟ้า
1. STUDENTS:ATTENTION! ( อ๊ะ - เถน - ฮัท ) GOOD MORNING/ AFTERNOON TEACHER TEACHERS: GOOD MORNING/ AFTERNOON STUDENTS HOW ARE YOU ? ( ฮาว อาร์ ยู่ ) STUDENTS:
บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยคริสเตียน ภาคการศึกษาที่ 1 ปี การศึกษา 2559.
NOTE: To change the image on this slide, select the picture and delete it. Then click the Pictures icon in the placeholder to insert your own image. แนวทางการขับเคลื่อน.
Inelastic X-ray Scattering (IXS)
ความก้าวหน้าการพัฒนากฎหมาย ที่อยู่ในความรับผิดชอบของกรมอนามัย
การนำเสนอผลการจัดทำแผนและคำของบประมาณ
โครงการพัฒนารูปแบบการจัดบริการเชิงรุกเพื่อค้นหาโรคเอดส์ วัณโรค และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ในเรือนจำ นพ.สุเมธ องค์วรรณดี ผู้อำนวยการสำนักโรคเอดส์ วัณโรคและโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
โครงการเด็กไทยสายตาดี
ประกาศ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ระเบียบ ประกาศ คำสั่งกรมปศุสัตว์
Principle of Marketing
ยินดีต้อนรับ สู่ ห้องสืบค้นสารสนเทศ
พลังวัชร์ แพ่งธีระสุขมัย คณะวิศวกรรมศาสตร์
“แนวทางการเข้าสู่ตำแหน่งทางวิชาการ”
กรมบัญชีกลาง กองการพัสดุภาครัฐ
สำหรับธุรกิจบริหารจัดการเรือ
การดูแลผู้สูงอายุ ระยะยาว (Long Term Care )
สื่อการเรียนรู้ครูต้อม ประโยคควรรู้ในครอบครัว1 รายวิชาภาษาอังกฤษ ขั้นประถมศึกษาปีที่ 1-3 นางสาวลัดดาวัลย์ เขื่อนคำ ครูผู้สอน โรงเรียนสันมหาพนวิทยา อำเภอแม่แตง.
BUSINESS TAXATION รศ.ดร.กฤษฎา สังขมณี
แนวทางการเฝ้าระวังคุณภาพน้ำดื่ม และน้ำแข็งบริโภค ในสถานประกอบการ
Effective Child Development สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดแพร่
การควบคุมและตรวจสอบภายใน รองผู้ว่าการตรวจเงินแผ่นดิน
Buddy Happy Brain (Smart Kids) ศูนย์อนามัยที่ ๓
การพัฒนาระบบ การวินิจฉัยโรคจากการทำงาน รพ.ระยอง
โดย ภญ. ปิยะนาถ เชื้อนาค สำนักโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค
ชี้แจงการตอบคำถาม/ ค่าคะแนน แบบสำรวจ Evidence - based ปีงบประมาณ พ. ศ
รูปแบบมาตรฐานการเขียนโครงการ
5 ส. สุขใจ นาย วรพงศ์ พรหมณา
สิทธิประโยชน์การเป็นสมาชิกกองทุน สำรองเลี้ยงชีพ
4.8 พัฒนาการเด็กวัยเรียน
ส่วนส่งเสริมการกระจายอำนาจ สำนักพัฒนาระบบ รูปแบบ และโครงสร้าง
หลักการ แนวคิด เทคนิค และวิธีการ มีส่วนร่วมของประชาชน
พญ.ชีวนันท์ เลิศพิริยสุวัฒน์
โลกกว้างที่แพทย์ต้องเผชิญ
หนังสือคณะกรรมการว่าด้วยการพัสดุ ด่วนที่สุด ที่ กค (กวพ) 0405
การกำหนด STP Segmentation Target Positioning
ตัวชี้วัด : ร้อยละของการดำเนินงานให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงได้รับการดูแลสุขภาพ และการป้องกันโรคและภัยสุขภาพจากมลพิษสิ่งแวดล้อม.
วิลเลียม ฮาร์วีย์ (William Harvey) ด.ญ.กัณฐิกา จันแย้ ม.4.3 เลขที่ 1
การกำจัดขยะและสารเคมี
การสร้างประโยคง่ายๆจากคำศัพท์
บทที่ 4. ผศ.ดร.จันทร์เพ็ญ มีนคร
10 สถานที่ท่องเที่ยว ขอแนะนำ.
การประเมินค่างาน บทที่ 3. ดร.จันทร์เพ็ญ มีนคร.
หัวข้อในการบรรยาย 1. จำนวนบุคลากรสายสนับสนุน 2. เส้นทางความก้าวหน้า 3. องค์ประกอบของคณะกรรมการประเมินค่างาน 4. ขั้นตอนการแต่งตั้งบุคคลให้ดำรงตำแหน่งสูงขึ้น.
สำนักงานเกษตรอำเภอเมืองสมุทรสงคราม
ความสำคัญของโภชนาการสำหรับเด็กปฐมวัย
พลวัตความเหลื่อมล้ำเชิงพื้นที่ :
กลุ่มพัฒนาสุขภาพสัตว์
โครงการปรับระบบการเลี้ยงสุกรเพื่อป้องกันโรคและประเมินสถานภาพโรค PRRS ของกลุ่มผู้เลี้ยงสุกรรายย่อยปี 2559.
การจัดทำรายงาน ของผู้สอบบัญชีสหกรณ์ อาจารย์ ณัฐเสกข์ เทพหัสดิน
แบบฟอร์มการนำเสนอหลักสูตร มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย
ศูนย์ช่วยเหลือ SMEs (SME Rescue Center)
พระราชบัญญัติสุขภาพจิต พ.ศ สถาบันกัลยาณ์ราชนครินทร์
ผลการพัฒนาถุงรองรับน้ำย่อย จากกระเพาะอาหาร
ประเภทที่ 1 วิจัยในชั้นเรียน
การเขียนรายงานเชิงวิชาการ
เข้าใจและสามารถปฏิบัติตนตามหลักธรรม ที่เกี่ยวเนื่องกับอริยสัจ 4
หอผู้ป่วยศัลยกรรมระบบปัสสาวะ โรงพยาบาลราชบุรี
GREEN & CLEAN Hospital ประชุมชี้แจงรายละเอียดตัวชี้วัด (KPI Template)
จัดสวัสดิการผู้สูงอายุตามวิถีแว้ง
กลุ่มที่1 การจัดการข้อมูลการดำเนินงานโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส
งานการเงินนักศึกษา ส่วนการเงินและบัญชี
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ด้วยการสอนซ่อมเสริมร่วมกับ
การจัดทำและการบริหาร งบประมาณรายจ่ายประจำปี นางดรงค์รัตน์ กล้าหาญ
มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

เทคนิคการเขียนบทความทางวิชาการ ศาสตราจารย์เกียรติคุณ ดร.มนัส สุวรรณ ภาคีสมาชิก สำนักธรรมศาสตร์และการเมือง ราชบัณฑิตยสภา

1. ความหมายและธรรมชาติของบทความ บทความ หมายถึง งานเขียนประเภทร้อยแก้ว ซึ่งผู้เขียน ต้องการถ่ายทอดความคิด และ/หรือ ข้อมูลข่าวสาร ไปยังผู้อ่านโดยใช้ตัวอักษรเป็นสื่อกลาง ประเภทของบทความ บทความทั่วไป บทความกึ่งวิชาการ บทความทางวิชาการ

1.) บทความทั่วไป บทความทั่วไป หมายถึง งานเขียนที่มิได้มุ่งเน้นการให้ความรู้หรือข้อเท็จจริงเชิงวิชาการ แต่มุ่งเน้นที่จะให้ความรู้-ทั่วไป ให้ความสนุกสนานเพลิดเพลิน หรือให้ข้อคิดแก่ผู้อ่าน เช่น บทความอัตชีวประวัติ บทความเล่าประสบการณ์การ-เดินทาง และ บทความที่ให้ข้อคิดหรือปรัชญาชีวิต เป็นต้น

2.) บทความกึ่งวิชาการ บทความกึ่งวิชาการ หมายถึง งานเขียนที่ผู้เขียนประสงค์จะให้ความรู้เชิงวิชาการ แต่ไม่ลึกซึ้งถึงระดับองค์ความรู้หรือทฤษฎี เช่น บทความที่เป็นบทวิเคราะห์/วิพากษ์ และบทความสนับสนุนหลักการหรือแนวคิด เป็นต้น

3.) บทความทางวิชาการ บทความทางวิชาการ หมายถึง งานเขียนหรือความ-เรียงที่ผู้เขียนประสงค์จะสื่อองค์ความรู้ หรือข้อค้นพบใหม่ๆ ทางวิชาการในสาขาวิชาใดวิชาหนึ่งเป็นการเฉพาะ เช่น บทความวิจัย บทความเสนอแนวคิด หลักการ และ/หรือ แบบจำลอง เป็นต้น

2. องค์ประกอบในการเขียนบทความทางวิชาการ ผู้เขียน สิ่งที่จะเขียน ผู้อ่าน 1.) ผู้เขียน : ศักยภาพและความพร้อมในการเขียนบทความทาง- วิชาการ - ปัจจัยภายใน : ปัญญา สมาธิ แรงขับ/แรงกระตุ้น เวลา

- ปัจจัยภายนอก : บรรยากาศทางวิชาการ ภาระงาน (ที่ทำงาน ที่บ้าน และที่อื่นๆ) ปัจจัยทางการเงิน แหล่งและบุคคลที่จะช่วยเหลือสนับสนุน

2.) สิ่งที่จะเขียน : - มีความแปลกใหม่ ทันสมัย อยู่ในความสนใจของวงวิชาการ - ผู้เขียนมีความรู้ ความสามารถ ประสบการณ์ ความชำนาญ และ/หรือ ผลที่เกิดจากการศึกษาวิจัย - มีประโยชน์ต่อสังคม และ/หรือ ประเทศชาติ - เนื้อหาสาระมีความถูกต้อง เชื่อถือได้ในทางวิชาการ - อยู่บนพื้นฐานของจริยธรรม และจรรยาบรรณของ นักวิชาการ

3.) ผู้อ่าน : - ใครคือกลุ่มเป้าหมาย ? - ความสามารถในการรับรู้สิ่งที่เขียน (ระดับความรู้ ความสามารถ และความสนใจ) - ความสามารถในการเข้าถึง (Accessibility) สิ่งที่เขียน (ชนิดของสื่อ แหล่งที่เผยแพร่)

3. โครงสร้างของบทความทางวิชาการ มี 4 องค์ประกอบที่สำคัญดังนี้ ชื่อบทความ คำนำ / ความนำ / บทนำ เนื้อเรื่อง บทสรุป / บทส่งท้าย

ชื่อบทความ คำนำ / ความนำ / บทนำ สั้นกะทัดรัด ได้ความหมาย ใช้ภาษาที่ง่ายแก่การเข้าใจ สื่อให้ผู้อ่านคาดเดาและอยากติดตามเนื้อหาสาระ อาจใช้คำขยาย เพื่อให้ทราบคุณลักษณะของบทความ คำนำ / ความนำ / บทนำ เป็นส่วนของการเขียนเปิดประเด็นก่อนเข้าสู่สาระ/เนื้อหา บอกที่มา ความสำคัญ วัตถุประสงค์ หรือเค้าโครงของบทความ มีความสำคัญ สามารถทำให้ผู้อ่านเลือกที่จะอ่านหรือไม่อ่านบทความ ต้องอาศัยทักษะในการใช้ภาษาเพื่อจูงใจผู้อ่าน

เนื้อเรื่อง บทสรุป / บทส่งท้าย แสดงองค์ความรู้ ข้อค้นพบ สาระที่เป็นจริงในเรื่องที่เขียน อยู่บนฐานของข้อมูล หรือสถิติที่ทันสมัย มีหลักฐานอ้างอิง หรือมีที่มาชัดเจน มีความเป็นเหตุ เป็นผล และเป็นไปตามลำดับขั้นตอน มีภาพ และ/หรือ ตารางประกอบตามความเหมาะสม บทสรุป / บทส่งท้าย เป็นการสรุปเชิงพรรณนาจากส่วนของเนื้อเรื่อง อาจอภิปรายเปรียบเทียบ หรือ วิเคราะห์สาระที่เขียนกับแนวคิด / ทฤษฎีที่ได้ทบทวนไว้ การใช้สุภาษิต หรือ ปรัชญา มากล่าวอ้างในส่วนนี้เป็นเสน่ห์ที่วิเศษ! ต้องไม่ยืดยาว เยิ่นเย้อ!

นอกเหนือจากองค์ประกอบหลักของบทความทางวิชาการดังกล่าวแล้ว องค์ประกอบเสริมที่ควรใส่ใจด้วยเช่นกัน คือ บทคัดย่อ / Abstract แผนที่ / ภาพ / ตารางประกอบ บรรณานุกรม ภาคผนวก

4. ข้อเสนอแนะในการเขียนบทความทางวิชาการ 1.) กำหนดเป้าหมาย หรือ วัตถุประสงค์ในการเขียนให้แน่ชัด 2.) เลือกเรื่องที่จะเขียน 3.) รวบรวมข้อมูล / ประมวลแนวคิด-ทฤษฎี-หลักการ 4.) วางเค้าโครง 5.) ลงมือเขียน 6.) ทบทวนเนื้อหาสาระที่เขียนว่าเป็นไปตามเป้าหมาย/วัตถุประสงค์ หรือไม่ 7.) ปรับแก้ 8.) อ่านตรวจทาน 9.) หาที่ลงตีพิมพ์เผยแพร่ 10.) เก็บสำเนาหรือต้นฉบับบทความไว้เป็นที่ระลึก

5. บทความวิจัย 1.) ธรรมชาติของบทความวิจัย - มีความยาวจำกัด จัดทำขึ้นเพื่อนำเสนอต่อที่ประชุม วิชาการหรือลงพิมพ์ในวารสารวิชาการ - เป็นเอกสารที่มีความทันสมัยและทันต่อเหตุการณ์ มากกว่ารายงานการวิจัย ทั้งนี้เพราะผู้วิจัยสามารถ เพิ่มเติมหรือตัดทอนบางส่วนของรายงานการวิจัยเพื่อ การเผยแพร่ได้ - มีคุณภาพที่เป็นมาตรฐานมากกว่ารายงานการวิจัย เพราะต้องทำให้อยู่ใน format ที่เป็นที่ยอมรับตามหลัก สากล (นงลักษณ์ วิรัชชัย และ สุวิมล ว่องวานิช)

2.) องค์ประกอบของบทความวิจัย ไม่มีกฎเกณฑ์ตายตัวว่าในบทความวิจัยจะต้องประกอบไปด้วยหัวข้ออะไรบ้าง ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับว่าผู้จะขียนบทความวิจัยนั้นอยู่ภายใต้บริบทของอะไรและของใคร อย่างไรก็ตาม บทความวิจัยที่ดีควรมีส่วนประกอบ ดังนี้ - ชื่อบทความ - บทคัดย่อ / ABSTRACT - ความนำ / บทนำ - วิธีดำเนินการวิจัย - ผลการศึกษาวิจัย - สรุป และอภิปรายผล (อาจรวมข้อเสนอแนะด้วยก็ได้) - บรรณานุกรม

3.) แนวทางในการเขียนบทความวิจัย - ถามตัวเองก่อนว่าจะเขียนไหม (ทำวิจัยแล้วหรือยัง) - ทำความเข้าใจในธรรมชาติของบทความวิจัยให้ดีก่อน - กำหนดเค้าโครงที่จะเขียน - อ่านทบทวนงานวิจัยที่ทำให้ซาบซึ้ง กี่เที่ยวก็ได้ - พยายาม condence & digest เนื้อหาจากรายงานการ วิจัยมาเรียบเรียงเป็นบทความ (หลีกเลี่ยงการตัดแปะ) - เขียนตามลำดับขั้นตอน (sequences) ที่เป็นที่ยอมรับ - ตระหนักในเรื่องการใช้ภาษา และถูกหลักไวยากรณ์ - อย่าคิดหรือนึกว่าคนอื่นจะตรวจภาษาหรือพิสูจน์อักษรให้

4.) ปัญหาที่มักพบเสมอๆในการเขียนบทความวิจัย - ผู้วิจัยคัดเอาบทสุดท้ายมาเป็นบทความ หรือใช้การตัดแปะ - ใช้ format ไม่ตรงกับที่วารสาร หรือการประชุมกำหนด - สาระไม่เหมาะสม (บทคัดย่อยาวเกินไป ขาดข้อมูลเชิงประจักษ์ การนำเสนอผลด้วยตาราง หรือแผนภูมิโดยขาดคำอธิบาย) - ใช้ภาษาไม่ถูกหลักวิชาการ และหลักไวยากรณ์ - บทสรุปไม่เป็นไปตามวัตถุประสงค์/ ใช้ตัวเลขมากเกินไป - ขาดการอภิปรายผล หรือมี แต่อภิปรายไม่ถูกหลักการ - ข้อเสนอแนะไม่ได้เกิดจากการศึกษาวิจัย แต่มาจากผู้วิจัยเอง - บรรณานุกรมเขียนไม่ครบ และ/หรือเขียนไม่ถูกต้องตามหลักการ

ประเด็นร้อน เกี่ยวเนื่องกับการขอกำหนดตำแหน่งทางวิชการในระดับผู้ช่วยศาสตราจารย์ ที่ให้ส่งผลงานทางวิชาการเพียงอย่างใดอย่างหนึ่งได้นั้น จากประสบการณ์ ทำให้ทราบว่าการส่งผลงานวิจัยในรูปของบทความวิจัย มีโอกาสผ่านการประเมินค่อนข้างยาก เนื่องจากความเข้าใจคลาดเคลื่อนในคุณสมบัติของงานวิจัยในฐานะผลงานทางวิชาการเพื่อขอกำหนดตำแหน่ง กับ ผลงานวิจัยโดยทั่วไป

That’s it. Thank you for your kind attention!!!!!