PA Mother & Child Health กรมอนามัย ศูนย์อนามัยที่ 11
สถานการณ์การตายมารดาเขต 11
ในปี 2561 มารดาตาย 8 ราย *เกิดจาก Embolism 2 ราย ซึ่งเป็นหลังคลอด รอเวลาที่จะกลับบ้าน *เกิดจากภาวะหัวใจล้มเหลว จากลิ้น หัวใจรั่ว และThal. no ANC *อื่นๆ ภาวะเกิดขึ้นหลังคลอด 13 ชม. หายใจเหนื่อยหอบ BP มีผื่นทั่วร่างกาย Dengue Shock Syndrome
วิเคราะห์ความเสี่ยงThree Delays Model Delay in reaching care Delay in receiving care (ความล่าช้าในการได้รับบริการที่ถูกต้องและเหมาะสม) - ขาดความรู้ ทักษะประเมินภาวะเสี่ยง ANC ,LR - Under Estimate blood loss - Delay Dx / Delay Rx - ขาดยาที่จำเป็น LR คลังเลือด ถุงตวงเลือด - ANC,LR ภาระงานที่มากแต่คนน้อย วิเคราะห์ความเสี่ยงThree Delays Model (Thaddeus S., Maine D) Delay in decision to seek care (ล่าช้าการเดินทาง/เข้าถึงบริการ) (หญิงตั้งครรภ์และสามี) ขาดความรู้ ความเข้าใจในภาวะเสี่ยง การรักษาไม่ต่อเนื่อง ปฏิเสธการรักษา ตัดสินใจเองไม่ได้ Delay in reaching care (ล่าช้าการเดินทาง/ เข้าถึงบริการ) -ขาดการจัดระบบโซนส่งต่อ ที่เข้าถึงง่าย สะดวก รวดเร็ว
ปัจจัยความสำเร็จ ปัญหา อุปสรรค What Next ตัวชี้วัดระดับประเทศ ผู้บริหารทุกระดับให้ความสำคัญ ขับเคลื่อนนโยบายผ่าน MCH board อย่าง เข้มแข็ง มีระบบการเฝ้าระวัง/กำกับ การรายงานข้อมูล มีการสอบสวนการตายมารดาทุกราย ปัจจัยความสำเร็จ การดำเนินงานเชิงรุกผ่าน MCH board ในบางแห่งขาดความต่อเนื่อง ทักษะการคัดกรองความสี่ยงที่ ANC ค้นไม่เจอ จัดการไม่ได้ การส่งต่อเพื่อการดูแลกรณีหญิงวัยเจริญพันธุ์ มีโรคที่อาจรุนแรงขึ้นเมื่อตั้งครรภ์ ปัญหา อุปสรรค What Next มาตรการในพท.ที่มีการตายสูงเน้นHigh Riskการเฝ้าระวังโดยครอบครัว/ชุมชน พัฒนาระบบเฝ้าระวังชี้เป้า/กำกับติดตาม/คัดกรองโดยเฉพาะสาเหตุ การตายที่ป้องกันได้ สร้างเครือข่ายสุขภาพ เพื่อลดมารดาตายให้ครอบคลุมทุกจังหวัด(PNC)
ประเด็นที่ควรติดตามในปี งบประมาณ 2562 KPI Proxy : การตายจากสาเหตุ PPH,PIH โรคทางอายุรกรรมที่เสี่ยงมากขึ้นเมื่อตั้งครรภ์ ลดลง ร้อยละ30 1.แผนการดำเนินงานร่วมกันของ Service Plan สูติฯ,MCH board เขต 2.Set Zero MMR จาก PPH พร้อมทั้งการผลักดันและขับเคลื่อนสู่การปฏิบัติ 3.ระบบการดูแลร่วมกันระหว่างสูติแพทย์ อายุรแพทย์ เพื่อวางแผนการดูแล ร่วมกันในระยะตั้งครรภ์ คลอด หลังคลอด 4.การบริหารเชิงรุกและการเยี่ยมบ้าน “ค้นให้เจอ จัดการให้ได้” 5.เยี่ยมเสริมพลัง ติดตามให้ได้มาตรฐานแม่และเด็ก ในทุกระดับเพื่อสร้าง สัมพันธภาพและการพัฒนาระบบบริการของเครือข่าย 6.บูรณาการ การมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน ครอบครัว โรงเรียน อปท. ชุมชน
ร้อยละเด็กแรกเกิดถึงต่ำกว่า 6 เดือน กินนมแม่อย่างเดียว เป้าหมายร้อยละ50 ร้อยละเด็กแรกเกิดถึงต่ำกว่า 6 เดือน กินนมแม่อย่างเดียว HDC 26/10/61 HDC 30/10/61
ปัญหาและอุปสรรค ข้อเสนอแนะ แม่ทำงานนอกบ้าน&ขาดการสนับสนุนจากรพ. “นโยบายการส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ในรพ.ตามมาตรฐาน BFHI” Governance ไม่ได้เป็นนโยบายหลักของโรงพยาบาล ไมมีตัวชี้วัด HR&Financing&Technologies พยาบาลนมแม่มีไม่ครอบคลุม Service delivery การให้บริการแก้ปัญหาและให้คำแนะนำไม่เพียงพอ Revise BFHI policy เน้นหนักการให้บริการเชิงรุก(คลินิกนมแม่-พยาบาลนมแม่-online )และเชื่อมต่อการทำงานถึงชุมชน(service delivery through networking) เชื่อมต่อการทำงานถึงสถานประกอบการ M&E การบังคับใช้ พ.ร.บ.นมแม่(Milk Code)
สถานการณ์การเฝ้าระวังพัฒนาการเด็ก 0-5 ปี เขต 11 ปัจจัยความสำเร็จ : โดยการใช้เครื่องมือ Happen scoring เป็นเครื่องมือในการเฝ้าระวังและชี้เป้าในระดับจังหวัด อำเภอ รพสต. ในเขตพื้นที่ศูนย์อนามัยที่ 11 ได้อย่างชัดเจนในการตรวจราชการ ปัญหา อุปสรรค 1.การนำเข้า/การเฝ้าระวังข้อมูล 2.การใช้เครื่องมือDSPM/ระบบการส่งต่อ สถานการณ์การเฝ้าระวังพัฒนาการเด็ก 0-5 ปี เขต 11