หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 พลเมืองดี
บทบาทและหน้าที่ของเยาวชนที่มีต่อสังคมและประเทศชาติ พลเมืองดี การเป็นพลเมืองดี บทบาทและหน้าที่ของเยาวชนที่มีต่อสังคมและประเทศชาติ
การเป็นพลเมืองดี 1. การเป็นพลเมืองดี 1 การเป็นพลเมืองดี 1. การเป็นพลเมืองดี 1.1 ความหมายและความสำคัญของเยาวชน พลเมืองดี หมายถึง บุคคลที่มีศิลธรรมและความรับผิดชอบต่อสังคม มีส่วนร่วมในกิจกรรมของชุมชน และรู้เรื่องการเมือง
เยาวชน คือ ผู้ที่มีอายุเกิน 14 ปี และยังไม่ถึง 25 ปีบริบูรณ์ เยาวชน คือ ผู้ที่มีอายุเกิน 14 ปี และยังไม่ถึง 25 ปีบริบูรณ์ * ดังพระราชดำรัสของสมเด็จพระเทพฯ ในหนังสือชื่อ รัตนพินิจทิศการศึกษา
สรุปแล้วคุณลักษณะเยาวชนไทย 3 ประการได้แก่ 1 สรุปแล้วคุณลักษณะเยาวชนไทย 3 ประการได้แก่ 1. การมีความเพียรบริสุทธิ์ ความขยันหมั่นเพียร 2. การมีปัญญาที่เฉียบแหลม ความฉลาดรู้ มีสติปัญญา มีความคิด 3. การมีกำลังกายที่สมบูรณ์ การมีสุขภาวะทั้งกายและจิต
องค์การอนามัยโลก ได้นิยามไว้ว่า “สุขภาพ หมายถึง สุขภาวะ ที่สมบูรณ์ทั้งทางกาย จิตใจ สังคม และปัญญา มิใช่เพียงการปราศจากโรคหรือความพิการเท่านั้น” (ตามนิยาม “สุขภาพ” ขององค์การอนามัยโลก และ พ.ร.บ. ... สุขภาวะทางกาย หมายถึง การมีร่างกายที่สมบูรณ์แข็งแรง มีเศรษฐกิจพอเพียง มีสิ่งแวดล้อมดี ไม่มีอุบัติภัย เป็นต้น
สุภาพ = สุขภาวะที่สมบูรณ์ สุขภาพกาย = ไม่เป็นโรค สุภาพ = สุขภาวะที่สมบูรณ์ สุขภาพกาย = ไม่เป็นโรค สุขภาพจิต = จิตที่มีความสุข สุขภาพสังคม = อยู่ร่วมกันด้วยดี , สังคมยุติธรรม , เสมอภาค , สันติภาพ สุขภาพจิตวิญญาณ = ไม่เห็นแก่ตัว เมตตา กรุณา
1.2 ความสำนึกต่อส่วนรวมหรือจิตสาธารณะ สำนึก = รู้สึกซาบซึ้ง, รู้สึกปีติปลาบปลื้ม จิตสาธารณะ = การแสดงออกถึงความรับผิดชอบต่อส่วนรวมเสียสระอุทิศตน เพื่อประโยชน์ต่อส่วนรวม
พฤติกรรมที่แสดงออกถึงลักษณะข้างต้นได้แก่ 1 พฤติกรรมที่แสดงออกถึงลักษณะข้างต้นได้แก่ 1. การรับผิดชอบต่อสาธารณะสมบัติและ ทรัพยากรธรรมชาติ
2. การทำกิจกรรมเพื่อสังคมที่เป็นประโยชน์ต่อส่วนรวมร่วมกัน
3. การรับรู้และตระหนักถึงปัญหาที่เกิดขึ้นในสังคมและมีการแก้ไขร่วมกัน 3. การรับรู้และตระหนักถึงปัญหาที่เกิดขึ้นในสังคมและมีการแก้ไขร่วมกัน
จบจ้า