การสร้างแบบทดสอบ อาจารย์ ปรีชา เครือวรรณ อาจารย์ สมพงษ์ พันธุรัตน์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การสร้างแบบทดสอบ อาจารย์ ปรีชา เครือวรรณ อาจารย์ สมพงษ์ พันธุรัตน์
Advertisements

สัมมนาทางการประกอบการธุรกิจ
การประเมินผลโครงการ บทที่ 9 ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ yalada.
ผู้วิจัย : นางสาวสุรีรัตน์ ขันคำ
การออกแบบหน่วยการเรียนรู้แบบย้อนกลับ (Backward Design)
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด1 12คำถาม.
ชื่อเรื่อง : ศึกษาผลการจัดการเรียนรู้ ในรายวิชาการบัญชีบริหาร ด้วยวิธีการเรียนรู้แบบกลุ่มคละผลสัมฤทธิ์ STAD ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยใช้สถานการณ์จำลองการวางแผนงบประมาณในธุรกิจการผลิตเฟอร์นิเจอร์
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ
อาจารย์อัครชัย ปัญญาคม
นางนุชจรินทร์ แก้ววงวาล วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่

กระบวนการถ่ายทอดความรู้
พยาบาลวิชาชีพชำนาญการพิเศษ
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการใช้โปรแกรมนำเสนอข้อมูล เรื่องการเชื่อมโยง ภาพนิ่ง ด้วยโปรแกรม Powerpoint2007 โดยใช้ สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอน CAI ของนักเรียนระดับชั้น.
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ วิชาคอมพิวเตอร์พื้นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเฉลิมราชประชาอุทิศ.
หลักสูตรการอบรมวิทยากรตัวคูณ ระดับจังหวัด ครั้งที่ 1 ภาคกลางตอนบน ( วันที่สอง ) ณ โรงแรมริชมอนด์ จังหวัดนนทบุรี ระหว่างวันที่ 9 – 11 มีนาคม 2558.
ความพึงพอใจต่อการบริหาร จัดการโครงการเรียนรู้จาก ประสบการณ์จริงด้วยวิธีการ เรียนรู้แบบศึกษาดูงาน บริหารธุรกิจสาขาการจัดการ / การตลาด ภาคเรียนที่ 2/2556.
การขอมีหรือขอเลื่อนวิทยฐานะโดยใช้รางวัล สูงสุดระดับชาติ ตามหลักเกณฑ์ ว 13 / 2556 ดร. ชูชาติ ทรัพย์มาก ที่ปรึกษาด้านการบริหารงานบุคคลและนิติ การ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้น.
ข้อที่เกณฑ์การประเมินการดำเนินงาน ข้อ 1 พัฒนาแผนกลยุทธ์จากผลการวิเคราะห์ SWOT โดยเชื่อมโยงกับวิสัยทัศน์ของคณะและ สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ของคณะ สถาบัน.
บทที่ 3 นักวิเคราะห์ระบบและการ วิเคราะห์ระบบ. 1. นักวิเคราะห์ระบบ (System Analysis) 1.1 ความหมายของนักวิเคราะห์ระบบ นักวิเคราะห์ระบบ (System Analysis:
จำลอง บุญเรืองโรจน์ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา สุพรรณบุรี เขต ๑วันที่ ๒ มิถุนายน พ. ศ. ๒๕๕๘.
1. ด้าน หลักสูตร. จุดเน้นกับหลักสูตรแกนกลางการศึกษา ขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ คุณภาพผู้เรียน “ คุณภาพผู้เรียน ที่ระบุในจุดเน้นมีอยู่ แล้วในหลักสูตร.
ปรานอม ประทีปทวี 25/09/591 หน้าที่ของครูผู้นิเทศ สพม.5.
ประเภทของ CRM. OPERATIONAL CRM เป็น CRM ที่ให้การสนับสนุนแก่กระบวนการธุรกิจ ที่เป็น “FRONT OFFICE” ต่างๆ อาทิ การขาย การตลาด และการ ให้บริการ SALES FORCE.
ง21101 การงานอาชีพและเทคโนโลยี ม. 1 เจตคติต่อการประกอบอาชีพ
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
ประเด็นที่เปลี่ยนแปลงจากปี 2560
การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ
กลุ่มคำและประโยค ภาษาไทย ม. ๓
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
แผนการขายลูกค้า SMEs พื้นที่ บน.3.1 ขบน ก.พ
ภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๐ ผู้สอน : คุณครูภาคภูมิ คล้ายทอง
Workshop Introduction
หมวดศึกษาทั่วไป ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556 ผู้สอน : อ.สำราญ ผลดี
การวิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
การพัฒนาระบบประเมินตนเอง
วิชา ภาษาไทย รหัสวิชา ท ๓๓๑๐๒ สาระการเรียนรู้ พื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ จำนวน ๑ หน่วยกิต Dr. Bualak Petchngam.
Aj.Dr. Bualak Naksongkaew
โดย นางสาวนิรมล บุรกรณ์
นางสาวปัณยตา หมื่นศรี
ผู้ช่วยศาสตราจารย์จุฑาวุฒิ จันทรมาลี
การนำเสนอผลงานการวิจัย
สัมมนาเชิงปฏิบัติการหลักสูตรการฝึกยกระดับฝีมือแรงงาน
เรียนอย่างไรให้ประสบความสำเร็จ
การวัดและประเมินผลด้านพุทธิพิสัย (ตามลำดับขั้นการเรียนรู้ของ Benjamin Bloom) รศ. บรรพต พรประเสริฐ.
การวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัด
ความหมาย ความสำคัญ และจุดมุ่งหมายของการศึกษา
ประวัติวิทยากร ปริญญาเอก ศึกษาศาสตร์ดุษฎีบัณฑิต ดร.วัชรศักดิ์ สงค์ปาน
เราคือ ‘One PPG’ We protect and beautify the world วัตถุประสงค์ของเรา
จุดมุ่งหมายทางการศึกษา และ จุดประสงค์การเรียนรู้
แนวคิดทฤษฎี ที่เกี่ยวกับการประเมินภาคปฏิบัติ
การวัดพฤติกรรมทางด้านทักษะพิสัย
การวิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
การวิจัยทางการท่องเที่ยว
การวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัด
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การกำหนดประเด็นปัญหา
โครงการยกระดับคุณภาพผู้เรียน ในการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ (NT/O-NET)
งานวิจัยในชั้นเรียน ผู้วิจัย นางสาวนนทกานต์ ลีอุดมวงษ์ .
การวัดและประเมินผลด้านพุทธิพิสัย (ตามลำดับขั้นการเรียนรู้ของ Benjamin Bloom) รศ. บรรพต พรประเสริฐ.
การสอนควบคู่กับการเรียน
02/08/62 การศึกษาพลังงานทางเลือกจากมูลช้างทำถ่านอัดแท่ง สู่ชุมชนท้องถิ่นในเขตจังหวัดสุรินทร์ The Study of Alternative Fuel From Elephant Dung Made Bar.
รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา Self – Assessment Report
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
การประเมินผลโครงการ บทที่ 9 ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ yalada.
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
การวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัด
คณะแพทยศาสตร์ ด้วยความยินดียิ่ง มหาวิทยาลัยขอนแก่น ขอต้อนรับทุกท่าน
หน่วยที่ 4 การสร้างเครื่องมือ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การสร้างแบบทดสอบ อาจารย์ ปรีชา เครือวรรณ อาจารย์ สมพงษ์ พันธุรัตน์ อาจารย์ ปรีชา เครือวรรณ อาจารย์ สมพงษ์ พันธุรัตน์ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

ขั้นตอนการสร้างแบบทดสอบ การกำหนดวัตถุประสงค์ของแบบทดสอบ การจัดทำตารางโครงสร้างแบบทดสอบ (Test Blueprint หรือ Test Specification) ทบทวนจุดประสงค์การเรียนรู้/ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง (Learning Objective / Learning Out come) เขียนข้อสอบ (Item Writing) (โดยเขียนข้อสอบให้วัดได้ตามจุดประสงค์การเรียนรู้ Objective-based) ทบทวน ตรวจทานความถูกต้อง เหมาะสมของข้อสอบ (Review) และปรับปรุงข้อสอบ

ขั้นตอนการสร้างแบบทดสอบ (ต่อ) จัดเรียง / จัดชุด แบบทดสอบ จัดพิมพ์ / อัดสำเนา และ เย็บชุด/เล่ม แบบทดสอบ แล้วบรรจุ ซอง / กล่อง แบบทดสอบ เพื่อส่งไปยังสนามสอบ ดำเนินการสอบ ตรวจคำตอบเพื่อให้คะแนนผลการสอบ นำผลการสอบของนักศึกษามาทำการวิเคราะห์คุณภาพข้อสอบรายข้อ (ค่า p, ค่า r) และค่าความเชื่อมั่นของแบบทดสอบทั้งฉบับ (K-R 20) เก็บข้อสอบที่ดีๆ ไว้ในคลังข้อสอบ (Item Bank) และปรับปรุงข้อสอบที่ยังไม่เข้าเกณฑ์ข้อสอบที่ดี เก็บไว้เพื่อนำไปใช้ในโอกาสต่อไป

การกำหนดวัตถุประสงค์ของแบบทดสอบ รายวิชา ................................................. เพื่อวัดความรอบรู้ในเนื้อหาวิชาและความสามารถด้านพุทธิพิสัย ของนักศึกษา ใน รายวิชา ......................................................... จากวัตถุประสงค์ดังกล่าว บ่งชี้ว่าแบบทดสอบที่สร้างขึ้น เป็นแบบทดสอบปลายภาค (Final Test) ที่วัดประเมิน เพื่อสรุปผลการเรียน หรือ เพื่อประเมินผลรวม (Summative Evaluation) เพื่อนำคะแนนผลการสอบ ไปรวมกับคะแนนระหว่างภาค เพื่อตัดสินผลการเรียน ในรายวิชาดังกล่าว ลักษณะของแบบทดสอบ ครอบคลุมหัวข้อเนื้อหา / จุดประสงค์การเรียนรู้ / ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง ที่สำคัญๆ วัดครอบคลุมความสามารถ (ด้านพุทธิพิสัย) ที่ซับซ้อน หรือ ความคิดระดับสูง เป็นแบบ MCQ

การจัดทำตารางโครงสร้างแบบทดสอบ (Test Specification) (ตาราง 2 ทางที่แสดงความสัมพันธ์ระหว่างหัวข้อเนื้อหาวิชาและความสามารถด้านพุทธิพิสัย) หัวข้อเนื้อหา จำนวน ความจำ ความเข้าใจ การประยุกต์ การวิเคราะห์ ประเมินค่า คิดสร้างสรรค์ รวม คาบ Rem Und App Ana Eva Cre 1………….. 1 2………….. 2 3………….. 3 4………….. 1 5………….. 1 6………….. 4 7………….. 2 8………….. 4 9………….. 1 10…………. 1 รวม 20 5 10 15 20 10 30 30 20 10 -- 100

ตารางโครงสร้างแบบทดสอบปลายภาค วิชา 230 303 การวัดและประเมินผลการศึกษา หัวข้อเนื้อหา จำนวน คาบ ความจำ Rem ความเข้าใจ Und การประยุกต์ App การวิเคราะห์ Ana ประเมินค่า Eva คิดสร้างสรรค์ Cre รวม 1. พัฒนาการของการวัดและ ประเมินผลการศึกษา 2 3 6 2. การวัดและประเมินผล การศึกษาในกระบวนการเรียนรู้ 3. จุดมุ่งหมายของการศึกษาและ จุดประสงค์การเรียนรู้ 1 4. การวางแผนการวัดและประเมินผล รายวิชา 5. เครื่องมือและเทคนิคที่ใช้ในการวัด และประเมินผลรายวิชา 4 6. การสร้างเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนด้านพุทธิพิสัย 18 7. หลักและเทคนิคในการวัดด้าน จิตพิสัยและทักษะพิสัย 12 8. สถิติพื้นฐานที่ใช้ในการวัดและ 9. คุณลักษณะของเครื่องมือวัดที่ดี 10. การวิเคราะห์ข้อสอบและตรวจ สอบคุณภาพของแบบทดสอบ 11. คะแนนและการให้ระดับผล การเรียน 30 19 29 10 8 90

กำหนดจุดประสงค์การเรียนรู้/ ผลการเรียนรู้ที่คาดหวังที่จะนำไปออกข้อสอบ หัวข้อเนื้อหา ความสามารถด้านพุทธิพิสัย น้ำหนัก ความสำคัญ จุดประสงค์ การเรียนรู้ จำนวน ข้อสอบ

กำหนดจุดประสงค์การเรียนรู้/ ผลการเรียนรู้ที่คาดหวังที่จะนำไปออกข้อสอบ หัวข้อเนื้อหา ความสามารถ ด้านพุทธิพิสัย น้ำหนัก ความสำคัญ จุดประสงค์ การเรียนรู้ จำนวน ข้อสอบ 6. การสร้าง เครื่องมือวัด ผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียน ความจำ 2 บอกขั้นตอนการสร้างเครื่องมือ วัดผลสัมฤทธิ์ด้านพุทธิพิสัยได้ 2 (MC) ความเข้าใจ ยกตัวอย่างข้อสอบที่ดีและข้อสอบที่ ไม่ดีตามเกณฑ์การสร้างข้อสอบ แต่ละชนิดได้ ประยุกต์ใช้ บอกวิธีปฏิบัติในสถานการณ์จริงที่ต้องสร้างเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนด้านพุทธิพิสัย วิเคราะห์ 4 ระบุจุดเด่น และ/หรือ จุดบกพร่อง ของข้อสอบที่กำหนดให้ได้ 4 (MC) ประเมินค่า วิจารณ์ข้อสอบที่กำหนดให้โดยใช้เกณฑ์คุณลักษณะของข้อสอบที่ดี 1 (E) คิดสร้างสรรค์ เขียนข้อสอบที่วัดความสามารถด้านพุทธิพิสัยระดับต่างๆ เมื่อกำหนดเนื้อหาวิชาให้

แบบเขียนข้อสอบ การเขียนข้อสอบ รายวิชา ......................................... ชั้นปีที่ ......................................... หัวข้อเนื้อหา ......................................... ระดับความสามารถ ......................................... จุดประสงค์การเรียนรู้/ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง .......................................................................................................... ประเด็นเนื้อหาวิชา/ความคิดรวบยอด/กระบวนการ ที่นำมาออกข้อสอบ .......................................................................................................... .......................................................................................................... .......................................................................................................... ข้อสอบ .......................................................................................................... .......................................................................................................... .......................................................................................................... .......................................................................................................... เฉลยคำตอบ ..........................................................................................................

แบบเขียนข้อสอบ การเขียนข้อสอบ รายวิชา 230 303 ชั้นปีที่ 3 หัวข้อเนื้อหา การสร้างเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนด้านพุทธิพิสัย ระดับความสามารถ วิเคราะห์ การเขียนข้อสอบ แบบเขียนข้อสอบ จุดประสงค์การเรียนรู้/ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง ระบุจุดเด่น และ/หรือ จุดบกพร่องของข้อสอบที่กำหนดให้ได้ ประเด็นเนื้อหาวิชา/ความคิดรวบยอด/กระบวนการ ที่นำมาออกข้อสอบ คำแนะนำในการสร้างข้อสอบแบบเลือกตอบ 1) ตอนนำ (stem) ของข้อสอบอาจจะใช้เป็น “คำถาม” หรือ “ประโยค” ที่ไม่สมบูรณ์ ก็ได้ แต่ต้องได้ใจความชัดเจน 2) ตัวเลือกทุกข้อต้องมีความเหมาะสมและสอดคล้องกับ “ตอนนำ” 3) ตัวลวงทุกตัวมีความเป็นไปได้ และน่าจะถูกเลือกโดยผู้เรียนที่เรียนอ่อน ข้อสอบ จงพิจารณาข้อสอบต่อไปนี้แล้วตอบคำถามข้อ 1-2 จังหวัดเชียงใหม่ ก. เป็นที่ราบเชิงเขา ข. อากาศหนาวเย็น ค. ปลูกลำไยมาก ง. ประชาชนมีความงามทั้งกายและใจ 1. ข้อสอบมีจุดบกพร่องในเรื่องใด เด่นชัดที่สุด ? (1) ประเด็นที่ถามไม่ชัดเจน (2) ตัวถูก ไม่ได้ถูกต้องตามหลักวิชา (3) ตัวเลือก บางข้อ ไม่สอดคล้องกับ “ตอนนำ” (4) “ตอนนำ” เป็นประโยคที่ไม่สมบูรณ์ เฉลยคำตอบ (1)

เวลาสำหรับการซักถาม และร่วม อภิปราย จบการ นำเสนอ เวลาสำหรับการซักถาม และร่วม อภิปราย