ขอต้อนรับ นายแพทย์ธงชัย กีรติหัตถยากร

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Happy 8 8 Boxes of Happiness
Advertisements

โครงการ สทส. (สุขที่สุด).
โครงการ สทส. “สุขที่สุด”.
จุดเน้นการพัฒนางานสาธารณสุขที่สำคัญ ปีงบประมาณ 2559.
สรุปผลการตรวจราชการติดตามและประเมินผล กระทรวงสาธารณสุข คณะที่ ๑ : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัยและระบบ ควบคุมโรค ภาพรวมเขต 8 ( รอบ 2/2558) กรมอนามัย กรมสุขภาพจิต.
การจัดการการดูแล (Care Management) นางอุไลวรรณ์ ไขสังเกต พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ.
การพัฒนาและจัดระบบบริการฯ หัวข้อ : ระบบบริการปฐมภูมิ
การพัฒนาระบบสุขภาพอำเภอหนองโดน
  การสนับสนุนการดำเนินงาน LTC ผ่าน "ศูนย์" ตามประกาศสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์การสนับสนุนและส่งเสริมศูนย์พัฒนาและฟื้นฟูคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุและคนพิการ.
พ.ท.หญิง ญาติมา คุณวัฒน์
สรุปผลการนิเทศ รอบที่ 1 คณะที่ 3 การบริหารทรัพยากรมนุษย์
ประเด็น สิ่งที่ชื่นชม แนวทางการพัฒนา
(P7S10P1G2) การประชุมถ่ายทอดนโยบายและตัวชี้วัดด้านสาธารณสุข
โดย ... ทีมนิเทศงานสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดน่าน
นิเทศและประเมินผลสัญจร โซนนาคราชซ้าย
นิเทศและประเมินผลสัญจร โซนนาคราชซ้าย
แผนการลงทุนด้านสุขภาพระยะ 5 ปี (Long Term Invesment Plan)
Child Project Manager : CPM
บริบทอำเภอเมือง ในเขตเทศบาลนครเชียงใหม่ ประชากร 131,091คน
การบริหารงบสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ปี งบประมาณ 2560
การดำเนินงาน คณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ
งานผู้สูงอายุ ตัวชี้วัดหลัก : ตำบลมีระบบส่งเสริมสุขภาพดูแลผู้สูงอายุ ผู้พิการและผู้ด้อยโอกาสและการดูแลระยะยาวในชุมชน (Long Term Care) ผ่านเกณฑ์ ตัวชี้วัดรอง.
การดูแลผู้สูงอายุ ระยะยาว (Long Term Care )
หมวด ๔ : การจัดการระบบบริการครอบคลุมประเภทและประชากรทุกกลุ่มวัย
Mindfulness in Organization : MIO
การบริหารงานส่งเสริมสุขภาพ และป้องกันโรคตามกลุ่มวัย
การจ่ายตามเกณฑ์คุณภาพผลงานบริการ (QOF) ปีงบประมาณ ๒๕๖๐
กลุ่มงานเทคโนโลยีสารสนเทศทางการพยาบาล กองการพยาบาลสาธารณสุข
การดูแลผู้สูงอายุพึ่งพิง
แผนบูรณาการพัฒนาสุขภาพกลุ่มวัยผู้สูงอายุ
ผลการดำเนินงาน ปีงบประมาณ 2560
ผลการดำเนินงานกรมอนามัย รอบ 6 เดือน (ตุลาคม 2558 – มีนาคม 2559)
Buddy Happy Brain (Smart Kids) ศูนย์อนามัยที่ ๓
ระบบดูแลระยะยาวด้านสาธารณสุขสำหรับ ผู้สูงอายุและบุคคลที่มีภาวะพึ่งพิง ในพื้นที่ตำบลดูแลสุขภาพผู้สูงอายุระยะยาว (L0ng Term Care)
ประเด็นยุทธศาสตร์ : การสร้างระบบสุขภาพเพื่อประชาชนที่ทุกคนเป็นเจ้าของ
นโยบายการดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพ
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดตรัง
1 ภารกิจด้าน อำนวยการ โรงพยาบาลศูนย์/โรงพยาบาล ทั่วไป
ค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรม,การจัดงาน
งานส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุจังหวัดเชียงใหม่ ปีงบประมาณ 2561
ระบบการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข
การพัฒนาเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอ (DHS) จังหวัดเพชรบุรี ปี 2558
การพัฒนาระบบการดูแลผู้สูงอายุระยะยาวอำเภอบางละมุง จังหวัดชลบุรี
โครงการส่งเสริมสุขภาพช่องปากผู้สูงอายุ ชุมชนบ้านทุ่งโหลง อ. เมือง จ
สถานการณ์และการดำเนินงานวัณโรค จังหวัดเชียงใหม่
การจัดทำแผน และนำแผนไปใช้
การจัดทำแผน และนำแผนไปใช้
บริการจ่ายตามเกณฑ์คุณภาพผลงานบริการ
คณะที่ 3 : การบริหารทรัพยากรมนุษย์
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดตรัง
กลุ่มงานประกันสุขภาพ / สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดศรีสะเกษ
ผู้ทรงคุณวุฒิ สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.)
แนวทางการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข ปีงบประมาณ พ.ศ. 2561
คณะ 3 การพัฒนาระบบบริหารจัดการ เพื่อสนับสนุนการจัดบริการสุขภาพ
(เครื่องมือทางการบริหาร)
แนวทางการตรวจราชการ คณะที่ 1 การพัฒนาศักยภาพตามกลุ่มวัย
NCD W E C A N D O Long term care (LTC) Watbot Health Team.
กลุ่มงานควบคุมโรคไม่ติดต่อ สุขภาพจิตและยาเสพติด
แนวทางการดำเนินงาน ส่งเสริมสุขภาพและ อนามัยสิ่งแวดล้อม
Fully Participation ส่วนกลาง และ ศูนย์อนามัยเขต
เขตสุขภาพที่ 10 มุกศรีโสธรเจริญราชธานี
การดูแลผู้สูงอายุระยะยาว (Long Term Care: LCT ) จังหวัดกำแพงเพชร
สร้างเครือข่ายในชุมชน
ศูนย์อนามัยที่ 11 นครศรีธรรมราช
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล บ้านบัวงาม อ.ดำเนินสะดวก จ.ราชบุรี
Output ที่ต้องการ (คาดหวัง) ระบบงาน หรือ มาตรฐานการดำเนินงานที่ควรมี
อำเภอวาปีปทุม จังหวัดมหาสารคาม
สรุปผลการดำเนินงานการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุระยะยาว (Long Term Care)
สรุปผลการตรวจราชการฯ กรณีปกติ รอบที่ 2 ปี 2562 เขตสุขภาพที่ 3
การจัดทำแผน และนำแผนไปใช้ อยู่ระหว่างดำเนินการ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ขอต้อนรับ นายแพทย์ธงชัย กีรติหัตถยากร นายแพทย์ธงชัย กีรติหัตถยากร ผู้ตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข เขตสุขภาพที่ 10 ด้วยความยินดียิ่ง

วิสัยทัศน์ (VISION) “โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลกฤษณาเป็นหน่วยงานที่ให้ บริการแบบองค์รวมมีคุณภาพและมาตรฐาน ทุกภาคีมีส่วนร่วม ชุมชนพึ่งพาตนเองได้ เพื่อการมีสุขภาพที่ดี”

ค่านิยม (CORE VALUE) ยึดผู้รับบริการเป็นศูนย์กลาง ให้บริการดุจญาติมิตร มีการทำงานเป็นทีม ปฏิบัติตามมาตรฐานวิชาชีพและพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง ให้เกียรติและยอมรับความคิดเห็นของผู้อื่น ไม่กล่าวโทษซึ่งกันและกัน ๖. เคารพและรักษากฎระเบียบวินัยขององค์กร ๗. เป็นแบบอย่างที่ดีในด้านสุขภาพ ๘. สร้างและจัดองค์กรให้เป็นสถานที่น่าอยู่ น่าทำงาน

บุคลากร

อัตรากำลังแต่ละประเภทต่อประชากร สัดส่วนอัตรากำลัง : เจ้าหน้าที่ตามประเภทวิชาชีพ พยาบาลวิชาชีพ จำนวน 1 คน คิดเป็นอัตราส่วน 1 : 6503 นักวิชาการสาธารณสุข/ จำนวน 3 คน คิดเป็นอัตราส่วน 1 : 2,168 เจ้าพนักงานสาธารณสุข เจ้าพนักงานทันตสาธารณสุข จำนวน 1 คน คิดเป็นอัตราส่วน 1 : 6,503 ผู้ช่วยแพทย์แผนไทย จำนวน 1 คน คิดเป็นอัตราส่วน 1 : 6,503 (ข้อมูล ณ 31 พฤษภาคม 2562)

ข้อมูลรายรับจำแนกรายการ ปีงบประมาณ 2561 การเงินการคลัง ข้อมูลรายรับจำแนกรายการ ปีงบประมาณ 2561 รายการ จำนวนเงิน ร้อยละ Fixed cost 330,000 20.74 OPD 250,000 15.71 PP 450,000 28.28 จ่ายตรง 4,500 0.28 ใบเสร็จรับเงิน(ค่ารักษา/บริจาค/อื่น) 3,000 0.19 ดอกเบี้ยธนาคาร 2,800 0.18 ยอดยกมา 51,204.19 34.63 รวมรับ 1,591,504.19 100.00

การเงินการคลัง ข้อมูลรายจ่ายจำแนกรายการ ปีงบประมาณ 2561 รายการ จำนวน ข้อมูลรายจ่ายจำแนกรายการ ปีงบประมาณ 2561 รายการ จำนวน ร้อยละ หมวดเงินเดือน 226,800.00 14.81 ค่าตอบแทน 468,000.00 30.57 ค่าใช้สอย 469,120.00 30.64 วัสดุ 100,000.00 6.53 สาธารณูปโภค 67,200.00 4.39 ครุภัณฑ์ 200,000.00 13.06 อื่นๆ - รวม 1,531,120.00 100.00

การเงินการคลัง ตารางที่ 10 ประมาณการรายรับ ปีงบประมาณ 2562 รายการ จำนวนเงิน ร้อยละ Fixed cost 330,000.00 28.49 OPD 218,000.00 18.82 PP 310,000.00 26.76 QOF 102,000.00 8.81 ประกันสังคม 4,500.00 0.39 ใบเสร็จรับเงิน(ค่ารักษา/บริจาค/อื่น) 102,450.00 8.84 จ่ายตรง 0.00 แพทย์แผนไทย ดอกเบี้ยธนาคาร 3,000.00 0.26 ยอดยกมา 88,350.16 7.63 รวมรับ 1,158,300.16 100.00

การเงินการคลัง ตารางที่ 11 ประมาณการรายจ่าย ปีงบประมาณ 2562 รายการ จำนวน ร้อยละ หมวดเงินเดือน 305,532.00 20.25 ค่าตอบแทน 360,000.00 23.86 ค่าใช้สอย 476,170.00 31.56 วัสดุ 100,000.00 6.63 สาธารณูปโภค 67,200.00 4.45 ครุภัณฑ์ 200,000.00 13.25 อื่นๆ - รวม 1,508,902.00 100.00

>> ชาย 3,303 คน >> หญิง 3,200 คน ข้อมูลทั่วไป ตำบลกฤษณา อำเภอขุขันธ์ จังหวัดศรีสะเกษ แบ่งเขตพื้นที่ปกครอง ออกเป็น 13 หมู่บ้าน - หลังคาเรือนจำนวน 1,34๗ หลังคาเรือน - ประชากรทั้งหมดจำนวน 6,๕๐๓ คน >> ชาย 3,303 คน >> หญิง 3,200 คน - อัตราเกิด 5.34 ต่อ 1,000 ประชากร - อัตราตาย 9.21 ต่อ 1,000 ประชากร - อัตรามารดาตาย 0 ต่อ 1,000 ประชากร - อัตราทารกตาย 0 ต่อ 1,000 ประชากร

แผนที่แสดงหมู่บ้านรับผิดชอบ รพ.สต.กฤษณา

ปิดรามิดประชากร

การพัฒนาสุขภาพกลุ่มสตรี ผลการดำเนินงาน การพัฒนาสุขภาพกลุ่มสตรี และเด็กปฐมวัย

ผลการดำเนินงานอนามัยแม่และเด็ก ปี 2562 ตัวชี้วัด ปี 2562 เป้าหมาย ผลงาน ร้อยละ  1. หญิงตั้งครรภ์ได้รับการฝากครรภ์ครั้งแรกก่อน 12 สัปดาห์ (มากกว่าหรือ เท่ากับ ร้อยละ 60) 12 10 83.3  2. หญิงตั้งครรภ์ได้รับการฝากครรภ์ครบ 5 ครั้ง ตามเกณฑ์ (มากกว่า หรือเท่ากับ ร้อยละ 60) 11 90.91  3. หญิงหลังคลอดได้รับการ ดูแลครบ 3 ครั้ง ตามเกณฑ์ (มากกว่า หรือเท่ากับ ร้อยละ 65) 91.67  4. อัตราเด็กแรกเกิด น้ำหนัก < 2,500 กรัม ไม่เกินร้อยละ 7

สรุปผลการคัดกรองพัฒนาการเด็กตามแบบประเมิน DSPM พ.ศ. คัดกรอง (ร้อยละ) สงสัยล่าช้า ติดตาม ส่งต่อ 2559 72.50 43.10 70 2560 95.65 45.45 100 2561 92.08 37.90 93.61 2.27 2562 96.62 19.58

ชั่งน้ำหนัก-วัดส่วนสูง ภาวะโภชนาการเด็ก 0-5 ปี ปีงบประมาณ 2559 – 2562 พ.ศ. ชั่งน้ำหนัก-วัดส่วนสูง (ร้อยละ) สูงดีสมส่วน 2559 83.00 2560 82.82 2561 80.00 2562 90.08 70.22

การพัฒนาสุขภาพกลุ่มวัยเรียน และวัยรุ่น ผลการดำเนินงาน การพัฒนาสุขภาพกลุ่มวัยเรียน และวัยรุ่น

จำนวนหญิงตั้งครรภ์ทั้งหมด จำนวนหญิงตั้งครรภ์อายุ 15-19 ปี อัตราการตั้งครรภ์และการคลอดมีชีพในหญิง อายุ 15 – 19 ปี ปีงบประมาณ 2559 – 2562 พ.ศ. จำนวนหญิงตั้งครรภ์ทั้งหมด จำนวนหญิงตั้งครรภ์อายุ 15-19 ปี คิดเป็นร้อยละ 2559 54 8 14.81 2560 44 6 13.63 2561 51 11.76 2562 22 4 18.18 ระหว่างปี 2559 - 256๒ มีพบปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น15 -19 ปี ร้อยละ 14.81 ,13.63 ,๑๑.๗๖ และ๑๘.๑๘ ตามลำดับ

โครงการ 3 ล้าน 3 ปีเลิกบุหรี่ทั่วไทย เทิดไท้องค์ราชัน ผลการดำเนินงาน โครงการ 3 ล้าน 3 ปีเลิกบุหรี่ทั่วไทย เทิดไท้องค์ราชัน

โครงการ 3 ล้าน 3 ปี เลิกบุหรี่ทั่วไทย เทิดไท้องค์ราชัน การดำเนินงานในกลุ่มอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน จำนวน อสม. จำนวน อสม.ที่สูบบุหรี่ (ร้อยละ) อสม.สูบบุหรี่ที่เข้าร่วมโครงการ (ร้อยละ) ชักชวนผู้สูบบุหรี่เข้าร่วมโครงการ (เป้าหมาย 1:3) เป้าหมาย ผลงาน ร้อยละ ๖๕ ๐ ๑๙๕ ๑๐๐

โครงการ 3 ล้าน 3 ปี เลิกบุหรี่ทั่วไทย เทิดไท้องค์ราชัน การดำเนินงานในกลุ่มประชากรอายุ 15 ปีขึ้นไป ตัวชี้วัด ผลการดำเนินงาน เป้าหมาย(คน) ผลงาน(คน) ร้อยละ กลุ่มเป้าหมายได้รับการคัดกรอง ๔,๓๔๙ ๑,๖๖๙ ๓๘.๓๘ จำนวนผู้สูบบุหรี่ ๔๙๐ ๒๙.๓๖ ได้รับการบำบัด ๔๘๗ ๙๙.๓๙ เลิกบุหรี่ได้ 1 เดือน ๒

การพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิตามมาตรฐาน รพ.สต.ติดดาว ผลการดำเนินงาน การพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิตามมาตรฐาน รพ.สต.ติดดาว

ประสานงานดี ภาคีมีส่วนร่วม บริหารดี ประชาชนมีสุขภาพดี รพ.สต.กฤษณา ผ่านเกณฑ์ รพ.สต.ติดดาว ระดับ 5 ดาว พ.ศ. 2561 บริการดี บุคลากรดี

ประเมินมาตรฐาน รพ.สต.ติดดาว สรุปผลการประเมินตนเองตามแบบประเมิน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลติดดาว ปี 2562 หมวดที่ คะแนนเต็ม คะแนนประเมิน ร้อยละ ผลการประเมิน ระดับ 1 การนำองค์กรและการจัดการที่ดี 60 52 86.67 ผ่าน 5ดาว 2 การให้ความสำคัญกับประชากรกลุ่มเป้าหมายและผู้มีส่วนได้เสีย 5 4 80.0 3 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล 4 การจัดการระบบบริการครอบคลุมประเภทและประชากรทุกกลุ่มวัย 299 257 85.95 5 ผลลัพธ์ 41 36 87.8 รวม 410 353 86.1

ภาพกิจกรรมการดำเนินงาน รพ.สต.ติดดาว

ภาพกิจกรรมการดำเนินงาน รพ.สต.ติดดาว

อัตราความสำเร็จการรักษาผู้ป่วยวัณโรครายใหม่ ผลการดำเนินงาน อัตราความสำเร็จการรักษาผู้ป่วยวัณโรครายใหม่

อัตราความสำเร็จของการรักษา ผู้ป่วยวัณโรคปอดรายใหม่ รายการ ผลการดำเนินงาน ปีงบประมาณ 2559 ปีงบประมาณ 2560 ปีงบประมาณ 2561 จำนวน ร้อยละ รักษาหายรักษาครบ ๗ ๑๐๐ ๘๕.๗๑ ๖ ๘๓.๓๓ เสียชีวิตระหว่างการรักษา ๐ ๑ ๑๖.๖๗ ขาดยา รักษาล้มเหลว ๑๔.๒๙ รวม ๘

ผลการดำเนินงานควบคุมป้องกันโรควัณโรค เป้าหมาย ปีงบประมาณ 2562 จำนวน (ราย) ร้อยละ 1. ขึ้นทะเบียนรักษาและอยู่ระหว่างการรักษา ๗ ๑๐๐ 2. อัตราการกำกับกินยาแบบมีพี่เลี้ยง(dot)โดย จนท. /อสม./ญาติ 3 .การคัดกรองกลุ่มเสี่ยงวัณโรคในผู้ป่วยเสมหะบวกรายเก่า 5 ปี ย้อนหลัง ๖๐๔ ๔๖๓ ๗๖.๖๕ 4. การส่งตรวจ AFB ในผู้ป่วยเสมหะบวกรายเก่า 5 ปี ย้อนหลัง ๕๖ 5. การคัดกรองวัณโรคในผู้สัมผัสโรคร่วมบ้านผู้ป่วยวัณโรคเสมหะบวกรายเก่า 5 ปี ย้อนหลัง ๙๕ ๙๐ ๙๔.๗๓

โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ผลการดำเนินงาน โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง

งานโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ประชากรอายุ 35 ปี ขึ้นไป ที่ป่วยเป็นเบาหวานรายใหม่จาก Pre-diabetes ในเขตรับผิดชอบ รพ.สต.กฤษณา (แยกรายหมู่บ้าน) ปีงบประมาณ 2559-2561) Pre DM  (คน) New DM (คน)  ร้อยละ 2558 2559 2560 2561 ๕๙๘ ๕๖๙ ๑,๓๐๓ ๓ ๘ ๑๐ ๐.๕๐ ๑.๔๑ ๐.๗๗

งานโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง อัตราผู้ป่วย DM รายใหม่จากกลุ่มเสี่ยงเบาหวาน ในเขตรับผิดชอบ รพ.สต.กฤษณา ปีงบประมาณ 2562 Pre DM  (คน) New DM (คน)  ร้อยละ 2561 2562 ๔๖๔ ๔ ๐.๘๖

ประชากรอายุ 35 ปี ขึ้นไป ที่ป่วยเป็นความดันโลหิตสูง งานโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ประชากรอายุ 35 ปี ขึ้นไป ที่ป่วยเป็นความดันโลหิตสูง รายใหม่จาก Pre-diabetes ในเขตรับผิดชอบ รพ.สต.กฤษณา (แยกรายหมู่บ้าน) ปีงบประมาณ 2559-2561 Pre HT  (คน) New HT (คน)  ร้อยละ 2558 2559 2560 2561 162 65 86 5 1 2 3.09 1.54 2.33

งานโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง อัตราผู้ป่วย HT รายใหม่จากกลุ่มเสี่ยงความดันโลหิตสูง ในเขตรับผิดชอบ รพ.สต.กฤษณา ปีงบประมาณ 2562 Pre HT  (คน) New HT (คน)  ร้อยละ 2562 ๑๔๗ ๕๑ ๓๔.๖๙

ดัชนีความสุขของคนทำงาน (Happinometer) ผลการดำเนินงาน ดัชนีความสุขของคนทำงาน (Happinometer)

ที่มา http://happinometer.moph.go.th/ วันที่ 27 กุมภาพันธ์ 2562 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคลขององค์กร ด้าน Happy Body Relax Heart Soul Family Society Brain Money WorkLife WorkSum สุขภาพกายดี ผ่อนคลายดี น้ำใจดี จิตวิญญาณดี ครอบครัวดี สังคมดี ใฝ่รู้ดี สุขภาพเงินดี การงานดี รวม ร้อยละ 67.86 63.57 80.71 73.57 72.62 70.24 50 71.22 68.63 แปลผล มีความสุข มีความสุขอย่างยิ่ง ที่มา http://happinometer.moph.go.th/ วันที่ 27 กุมภาพันธ์ 2562

ระบบการส่งเสริมสุขภาพดูแลผู้สูงอายุระยะยาว ผลการดำเนินงาน ระบบการส่งเสริมสุขภาพดูแลผู้สูงอายุระยะยาว (Long Term Care)

ผู้สูงอายุเขตรับผิดชอบ 3 ปีย้อนหลัง ปี พ.ศ จำนวนประชากร จำนวนผู้สูงอายุ (คน ) คิดเป็นร้อยละ 2560 5,463 751 13.75 2561 5,472 775 14.16 2562 5,427 812 14.96 ปีงบประมาณ 2560 - 2561 ตำบลกฤษณาเริ่มเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ และจำนวนผู้สูงอายุ มีแนวโน้มที่สูงขึ้น โดยในปีงบประมาณ 2562 พบว่าผู้สูงอายุมีจนวนสูงถึงร้อยละ 14.96 ซึ่งเป็นไปตามแนวโน้มของผู้สูงอายุของประเทศที่จะก้าวสู่สังคมผู้สูงอายุโดยสมบูรณ์ ปี 2564

การดูแลสุขภาพกลุ่มผู้สูงอายุ จำนวน Care giver แยกรายหมู่บ้าน 2560-2561 ที่ผ่านการอบรม ลำดับ ชื่อ จำนวนผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงที่รับผิดชอบ 1 นายบุญลื่น ทวี 6 2 นางนิตนันท์ แสนสนอง 3 นางหนูกาย สมิงทอง 8 4 นางสมบรรณ พรรณราช 5 นางไพรวรรณ ชาญชิตร 7 นางบัวศรี อำภาว์ นางสาวนิตยา บุญพามา

ผลการดำเนินงาน การดูแลสุขภาพกลุ่มผู้สูงอายุ จำนวนผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง เขตรับผิดชอบ 3 ปีย้อนหลัง ตำบลกฤษณา ลำดับ ปีพ.ศ กลุ่มที่ 1 กลุ่มที่ 2 กลุ่มที่ 3 กลุ่มที่ 4 1 2560 28 8 7 3 2 2561 30 10 4 2562 31 9 พบว่าผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง ในเขตรับผิดชอบมีแนวโน้มมากขึ้น แต่กลุ่มผู้สูงอายุ ที่มีภาวะพึ่งพิงที่ได้รับการดูแลโดยระบบ Long Term Care มีคุณภาพชีวิตและความสามรถ ในการดูแลตัวเองของผู้สูงอายุ( ADL) ดีขึ้น ผู้สูงอายุภาวะพึ่งพิง จึงจำเป็นต้องได้รับการดูแล สุขภาพจาก Care giver และทีมหมอครอบครัว เพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อนและผู้สูงอายุ ติดบ้านสามารถกลับมาเป็นติดสังคมได้

ในเขตรับผิดชอบ 3 ปีย้อนหลัง ผลการดำเนินงาน การดูแลสุขภาพกลุ่มผู้สูงอายุ ผลการดำเนินงานผู้สูอายุที่มีภาวะพึ่งพิงที่ได้รับการดูแลโดยระบบ Long Term Care ในเขตรับผิดชอบ 3 ปีย้อนหลัง ลำดับ ปีพ.ศ ADL > 11 ADL ดีขึ้น เสียชีวิต 1 2560 2 2561 3 2562 พบว่าผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง ระบบ Long Term Care มีคุณภาพชีวิตและความสามรถในการดูแลตัวเองของผู้สูงอายุ(ADL) ดีขึ้น ผู้สูงอายุภาวะพึ่งพิงจึงจำเป็นต้องได้รับการดูแลสุขภาพจาก Care giver และทีมหมอครอบครัว เพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อน และผู้สูงอายุติดบ้านสามารถกลับมาเป็นติดสังคมได้

สวัสดี ขอบคุณทุกท่าน “พร้อมแลกเปลี่ยนเรียนรู้เพื่อการพัฒนาชุมชนให้ปลอดภัยจากโรคภัยไข้เจ็บ..ค่ะ”