บทที่ 4 เซลล์ของสิ่งมีชีวิต

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
หน่วยที่ 1 กระดูก เนื้อเยื่อ.
Advertisements

Physiology of Crop Production
Cell Specialization.
โพรโทซัว( Protozoa ).
Plant Senescence -Program cell death (PCD)
ธรรมชาติของวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
บทที่ 4 เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
นางสาวเพ็ญศรี กล่อมคุ้ม
การสร้าง WebPage ด้วย Java Script Wachirawut Thamviset.
Center of Excellence in Immunology & Immune-mediated diseases ศูนย์เชี่ยวชาญเฉพาะทางด้านภูมิคุ้มกันวิทยาและโรคที่เกี่ยวข้องกับระบบภูมิคุ้มกัน.
6. VASCULITIS PONGSAK MAHANUPAB,M.D. Department of Pathology
บทที่ 6 การรักษาดุลยภาพ ในร่างกาย
Lymphatic drainage of the head and neck
ความก้าวหน้าการพัฒนากฎหมาย ที่อยู่ในความรับผิดชอบของกรมอนามัย
การนำเสนอผลการจัดทำแผนและคำของบประมาณ
องค์ประกอบของร่างกาย
Case study 4 Iron overload in thalassemia intermedia
บทที่ 12 โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก
บทที่ 4 เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก
บทที่ 10 พฤติกรรมของสัตว์
บทที่ 4 เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 12 โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก
ประกาศ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ระเบียบ ประกาศ คำสั่งกรมปศุสัตว์
บทที่ 5 ระบบย่อยอาหารและ การสลายสารอาหารเพื่อให้ได้พลังงาน
บทที่ 12 โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก
โดย อาจารย์วิภาดา ศรีเจริญ
บทที่ 6 การรักษาดุลยภาพในร่างกาย เรื่อง ระบบน้ำเหลือง
Market System Promotion & Development Devision
บทที่ 8 การรับรู้และการตอบสนอง
บทที่ 13 การสังเคราะห์ด้วยแสง
การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต(Reproduction & Development)
บทที่ 6 การรักษาดุลยภาพ ในร่างกาย
กรมบัญชีกลาง กองการพัสดุภาครัฐ
บทที่ 6 การรักษาดุลยภาพ ในร่างกาย
บทที่ 8 การรับรู้และการตอบสนอง
บทที่ 8 การรับรู้และการตอบสนอง
เซลล์และองค์ประกอบของเซลล์ (Cell and Cell Compositions)
บทที่ 15 การตอบสนองของพืช
บทที่ 1 อยู่ดีมีสุข.
บทที่ 12 โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก
การแบ่งเซลล์และวัฏจักรของเซลล์(3)
บทที่ 8 การรับรู้และการตอบสนอง
รายงาน งานห้องสมุดภาควิชาชีวเคมีประจำปี 2561
แนวทางการเฝ้าระวังคุณภาพน้ำดื่ม และน้ำแข็งบริโภค ในสถานประกอบการ
Cassava Family: Euphorbiaceae (พืชมีน้ำยาง)
การควบคุมและตรวจสอบภายใน รองผู้ว่าการตรวจเงินแผ่นดิน
Science For Elementary School Teachers I.
แนวทางขับเคลื่อนการดำเนินงาน 4 ศูนย์เรียนรู้
Comprehensive School Safety
4.8 พัฒนาการเด็กวัยเรียน
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๔ อิศรญาณภาษิต By Pratchanee P. 2/2015.
การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีชีวภาพและเทคโนโลยีทาง DNA
บทที่ 12 โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก
ตอนที่ 6: ชอบธรรมที่ภายใน Part 6: Righteous On The Outside
โครงสร้างของพืชดอก (ลำต้น)
ระบบประสาทและการแสดงพฤติกรรม (Nervous system and Animal Behavior)
การพยาบาลเด็กป่วยที่มีปัญหาทางโลหิตวิทยาและนีโอพลาสซึม อาจารย์ ดร
การสืบพันธุ์ของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 11 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต
Animal Health Science ( )
Injection.
Structure of Flowering Plant
6. VASCULITIS Department of Pathology Faculty of Medicine
งานการเงินนักศึกษา ส่วนการเงินและบัญชี
ทบทวนกฎหมายรัฐธรรมนูญ บทบัญญัติที่สำคัญซี่งมีมิติในเชิงคดี
โดย นายวรวุฒิ หล้าเต็น หัวหน้าแผนกข้อมูลและวิจัยตลาด
มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
Blood transfusion reaction
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทที่ 4 เซลล์ของสิ่งมีชีวิต บทที่ 4 เซลล์ของสิ่งมีชีวิต Biology (40241)

บทที่ 4 เซลล์ของสิ่งมีชีวิต. 4. 1 เซลล์และทฤษฎีเซลล์. 4 บทที่ 4 เซลล์ของสิ่งมีชีวิต 4.1 เซลล์และทฤษฎีเซลล์ 4.2 โครงสร้างของเซลล์ที่ศึกษาด้วยกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอน 4.2.1 นิวเคลียส 4.2.2 ไซโทพลาซึม 4.2.3 ส่วนที่ห่อหุ้มเซลล์ 4.3 การรักษาดุลยภาพของเซลล์ 4.3.1 การลำเลียงสารผ่านเยื่อหุ้มเซลล์ 4.3.2 การลำเลียงสารโดยไม่ผ่านเยื่อหุ้มเซลล์ 4.4 การสื่อสารระหว่างเซลล์ 4.5 การแบ่งเซลล์ 4.5.1 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส 4.5.2 การแบ่งเซลล์แบบไมโอซิส 4.6 การเปลี่ยนสภาพของเซลล์และการชราภาพของเซลล์ 4.7 เนื้อเยื่อ อวัยวะและระบบของร่างกาย

การเปลี่ยนสภาพของเซลล์และการชราภาพของเซลล์

1. การเพิ่มจำนวนเซลล์ (cell multiplication) 2. การเติบโต (growth) เมื่อเซลล์แบ่งตัวแล้วก็จะเปลี่ยนสภาพไป เพื่อทำหน้าที่เฉพาะอย่าง การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสทำให้ได้จำนวนเซลล์เพิ่มมากขึ้น และเป็นผลให้เกิดการเจริญเติบโตของสิ่งมีชีวิตชนิดนั้น เกิดกระบวนการต่าง ๆ 4 กระบวนการ คือ 1. การเพิ่มจำนวนเซลล์ (cell multiplication)        2. การเติบโต (growth)        3. การเปลี่ยนแปลงของเซลล์เพื่อไปทำหน้าที่ต่างๆ (cell differentiation)        4. การเกิดรูปร่างที่แน่นอน (morphogenesis)

การวัดการเติบโต (mesurement of growth) 1. การวัดน้ำหนักที่เพิ่มขึ้น เป็นเกณฑ์ที่สำคัญที่ใช้ในการวัดการเติบโต เพราะการที่น้ำหนักเพิ่มขึ้นได้ก็เนื่องมาจากเซลล์ของร่างกายเพิ่มมากขึ้น หรือมีการสร้างและสะสมของสารต่างๆ ภายในเซลล์และร่างกายมากขึ้น 2. การวัดความสูงที่เพิ่มขึ้น 3. การวัดปริมาตรที่เพิ่มขึ้น 4. การนับจำนวนเซลล์ที่เพิ่มขึ้น การนับจำนวนเซลล์จะใช้กับสิ่งมีชีวิตที่มีขนาดเล็กๆ ได้ เช่น การเพิ่มจำนวนเซลล์ของสาหร่าย

Stem cells, progenitor cells and differentiated cells

Cell Death necrosis apoptosis http://mil.citrus.cc.ca.us/cat2courses/bio104/ChapterNotes/Chapter08notesLewis.htm

necrosis normal cell death from injury or disease messy: dead cell usually swells and bursts, has small, dark amorphous nucleus (if any) and loses organelles. Inflammatory products released replication/synthesis errors and ageing?

Necrosis

apoptosis "programmed cell death" controls cell population without mess inter-cell signals (or lack of "don't die!" signals) switch on genes "priming": production of proteases cell shrinks, loses junctions, microvilli etc. Chromosomes cleaved cell splits into "apoptotic bodies" (membrane-bound fragments containing normal organelles) phagocytosis by adjacent cells

apoptosis (programmed cell death : suicide).

Apoptosis

Apoptosis

http://mil. citrus. cc. ca http://mil.citrus.cc.ca.us/cat2courses/bio104/ChapterNotes/Chapter08notesLewis.htm

http://mil. citrus. cc. ca http://mil.citrus.cc.ca.us/cat2courses/bio104/ChapterNotes/Chapter08notesLewis.htm

เนื้อเยื่อ อวัยวะ และระบบของร่างกาย

Tissue , organ and body’s system ระบบแต่ละระบบก็ทำหน้าที่เฉพาะลงไป เช่น ระบบย่อยอาหาร (digestive system) ระบบเหล่านี้จะรวมกันและประกอบขึ้นเป็นรูปร่างหรือร่างกายของสิ่งมีชีวิตแต่ละชนิด (body)

immune system

urinary system

Human Embryo Cloning

Animal tissue 1. เนื้อเยื่อของสัตว์ (animal tissue) จำแนกออกเป็น 1.1 เนื้อเยื่อบุผิว (epithelial tissue)              1.2 เนื้อเยื่อเกี่ยวพัน (connective tissue)   1.3 เนื้อเยื่อกล้ามเนื้อ (muscular tissue)         1.4 เนื้อเยื่อประสาท (nervous tissue)  

plant tissue 2. เนื่อเยื่อของพืช (plant tissue) จำแนกเป็น 2 ประเภท คือ 2.1 เนื่อเยื่อเจริญ (meristem)         1) Apical meristem        2) Lateral meristem        3) Intercalary meristem 2.2 เนื้อเยื่อถาวร (permanent tissue)          1) เนื้อเยื่อถาวรเชิงเดี่ยว (simple permanent tissue) ได้แก่ epidermis , parenchyma เป็นต้น        2) เนื้อเยื่อถาวรเชิงซ้อน (complex permanent tissue) ได้แก่ phloem , xylem เป็นต้น

Reference http://io.uwinnipeg.ca/~simmons/1115/cm1503/celltheory.htm http://61.19.145.7/student/science401/bio/bio4-2/main2.html http://mil.citrus.cc.ca.us/cat2courses/bio104/ChapterNotes/Chapter08notesLewis.htm

Thank you Miss Lampoei Puangmalai Major of biology Department of science St. Louis College Chachoengsao