งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

บทที่ 8 การรับรู้และการตอบสนอง

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "บทที่ 8 การรับรู้และการตอบสนอง"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 บทที่ 8 การรับรู้และการตอบสนอง
บทที่ 8 การรับรู้และการตอบสนอง Biology (40243) Miss Lampoei Puangmalai

2 บทที่ 8 การรับรู้และการตอบสนอง
บทที่ 8 การรับรู้และการตอบสนอง 8.1 การรับรู้และการตอบสนอง 8.2 การตอบสนองของสิ่งมีชีวิตชั้นต่ำและสัตว์มีกระดูกสันหลังชั้นต่ำบางชนิด 8.3 เซลล์ประสาท 8.4 การทำงานของเซลล์ประสาท 8.5 โครงสร้างของเซลล์ประสาท 8.6 การทำงานของระบบประสาทสั่งการ 8.7 อวัยวะรับความรู้สึก

3 จุดประสงค์การเรียนรู้
5. สืบค้นข้อมูล สำรวจตรวจสอบ และอธิบายโครงสร้างและการทำงานของอวัยวะรับสัมผัสแต่ละประเภทพร้อมทั้งนำความรู้ความเข้าใจมาใช้ และหาวิธีป้องกันอันตรายที่จะเกิดขึ้นต่อระบบประสาทและอวัยวะรับสัมผัส

4 Sensory organs 1. นัยน์ตากับการมองเห็น 2. หูกับการได้ยิน
3. จมูกกับการดมกลิ่น 4. ลิ้นกับการรับรส 5. ผิวหนังกับการรับความรู้สึก

5 นัยน์ตากับการมองเห็น
นัยน์ตาของคนมีรูปร่างค่อนข้างกลม อยู่ภายในเบ้าตา มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 2.5 cm มีผนังเรียงจากด้านนอก --- ด้านใน คือ sclera choroid retina

6 Eye Anatomy

7

8 Sclera Sclera เป็นชั้นที่เหนียว ไม่ยืดหยุ่น
เป็นส่วนที่เรียกว่าตาขาวด้านหน้าสุด คือ กระจกตา (cornea)

9 Choroid Choroid เป็นชั้นที่มีเส้นเลือดมาหล่อเลี้ยง และมีรงควัตถุแผ่กระจายอยู่มากมาย ประกอบด้วย ม่านตา (Iris) ซึ่งตรงกลางจะมีรูม่านตา (Pupil) เลนส์ตา ซึ่งสามารถปรับโฟกัสได้โดยการทำให้นูนขึ้นและบางลง โดยกล้ามเนื้อยึดเลนส์

10 Retina Retina เป็นชั้นที่ทำหน้าที่คล้ายกับจอรับภาพ ประกอบด้วยเซลล์รับแสง 2 ชนิด คือ เซลล์รูปแท่ง (rod cell) เป็นเซลล์ที่ไวต่อแสง สามารถทำงานได้แม้มีแสงน้อย แต่ไม่สามารถบอกความแตกต่างของสีได้ เซลล์รูปกรวย (cone cell) มี 3 ชนิด คือ ชนิดที่รับแสงสีแดง สีเขียว และสีน้ำเงิน จะทำงานได้ต่อเมื่อต้องมีแสงสว่างเพียงพอ

11

12 Retina

13

14 Ratina ตามปกติ ratina จะมีเซลล์รูปแท่งหนาแน่นกว่า เซลล์รูปกรวย
จุดเหลือง (fovea) เป็นบริเวณที่มีเซลล์รูปกรวยอยู่เป็นจำนวนมาก ทำให้รับภาพได้ชัดเจนที่สุด จุดบอด (blind spot) เป็นบริเวณที่ไม่มีเซลล์ที่รูปแท่งและรูปกรวยอยู่เลย จึงไม่สามารถรับภาพและแสงได้

15

16 Lens เลนส์ตา (Lens) เป็นเลนส์นูน อยู่ถัดจากกระจกตา
ทำหน้าที่ รวมแสง ทำให้เกิดภาพ การหักเหของแสง ขึ้นอยู่กับความโค้งของเลนส์และกระจกตา เลนส์ตาถูกยึดด้วย เอ็นยึดเลนส์ (suspensory ligament) อยู่ติดกับกล้ามเนื้อยึดเลนส์ (ciliary muscle)

17

18

19 สายตาผิดปกติ คนที่เห็นภาพได้ไม่ชัดเจน เกิดจากความผิดปกติของเลนส์ตา , กล้ามเนื้อยึดเลนส์ , กระจกตา สายตาสั้น - ใส่แว่นตาเลนส์เว้า (concave lens) สายตายาว - ใส่แว่นตาเลนส์นูน (convex lens) สายตาเอียง - ใส่แว่นตาเลนส์ทรงกระบอก (cylindrical lens)

20 สายตาผิดปกติ

21

22

23 Where the parts of an eye are located
Lens - Immediately behind the iris Cornea - The dome on the front of the eye Retina - Rear of the eye Pupil - Middle front of the eye Iris - Right around the pupil Optic nerve - Connects to the center of the retina Sclera - The outer part of the eye that forms the white around the pupil and iris

24 กลไกลการมองเห็น สารที่ม่วงที่เยื่อหุ้มเซลล์รูปแท่ง คือ rhodopsin
ประกอบด้วย โปรตีน opsin รวมตัวกับสาร retinol ซึ่งไวต่อแสง

25 http://cas. bellarmine

26 ความสามารถในการแยกสีต่าง ๆ
เซลล์รูปกรวยไวต่อความยาวคลื่นของแสง 3 ชนิด คือ สีน้ำเงิน เขียว แดง เราสามารถมองเห็นสีได้มากกว่า 3 สี เพราะ มีการกระตุ้นเซลล์รูปกรวยแต่ละชนิดพร้อม ๆ กัน จึงเกิดการผสมแสงสีต่าง ๆ

27 ตาบอดสี (blindness) เกิดจากความบกพร่องของเซลล์รูปกรวย
ตาบอดสีพบมากที่สุด คือ ตาบอดสีแดงและสีเขียว เป็นโรคทางพันธุกรรม พบในเพศชายมากกว่าเพศหญิง

28 แผ่นทดสอบตาบอดสี

29 หูกับการได้ยิน หู ทำหน้าที่ เกี่ยวกับ การได้ยิน และการทรงตัว
แบ่งออกเป็น 3 ส่วน คือ หูส่วนนอก (external ear) หูส่วนกลาง (middle ear) หูส่วนใน (internal ear)

30 Ear anatomy

31 External ear หูส่วนนอก ทำหน้าที่ รับคลื่นเสียง และเป็นทางเดินให้เสียงผ่าน ประกอบด้วย 1.ใบหู มีกระดูกอ่อนค้ำจุน 2. รูหู มีต่อมสร้างไขมาเคลือบไว้ ทำให้ผนังรูหูไม่แห้ง และป้องกันอันตรายจากแมลง และฝุ่นละออง รอยต่อระหว่างหูส่วนใน และหูส่วนกลาง มีเยื่อบาง ๆ กั้นอยู่ เรียกว่า เยื่อแก้วหู (ear drum , typanic memmbrane) สามารถสั่นได้เมื่อได้รับคลื่นเสียง

32

33 Middle ear หูส่วนกลาง มีลักษณะเป็นโพรง ติดต่อกับโพรงจมูก และมีท่อติดต่อกับคอหอย เรียกท่อนี้ว่า eustachian tube ปกติท่อนี้จะตีบ แต่ในขณะเคี้ยว หรือกลืนอาหาร ท่อนี้จะเปิด เพื่อปรับความดัน 2 ด้านของเยื่อแก้วหูให้เท่ากัน ความแตกต่างระหว่างความดันภายในกับภายนอกหู ทำให้เยื่อแก้วหูโป่ง เราจะรู้สึกหูอื้อ หรือปวดหู จึงมีการปรับความดันไปทางท่อยูสเตเชียน หูส่วนกลาง ทำหน้าที่ รับการสั่นสะเทือนจากเยื่อแก้วหู แล้วเพิ่มความถี่ของเคลื่อนเสียงเพื่อส่งต่อไปยังหูส่วนใน

34

35 The Eustachian Tube

36 Middle ear bones หูส่วนกลาง ประกอบด้วย กระดูก 3 ชิ้น ได้แก่
หูส่วนกลาง ประกอบด้วย กระดูก 3 ชิ้น ได้แก่ กระดูกค้อน (malleus) กระดูกทั่ง (incus) กระดูกค้อน (stapes)

37 Internal ear หูส่วนใน ประกอบด้วย โครงสร้างที่ทำหน้าที่แตกต่างกัน 2 ชุด คือ ชุดที่ใช้ฟังเสียง ชุดที่ใช้ในการทรงตัว

38 ชุดที่ใช้ฟังเสียง อยู่ด้านหน้า เป็นท่อม้วนลักษณะคล้ายก้นหอย ประมาณ 2 รอบครึ่ง เรียกว่า cochlea ภายในมีของเหลวบรรจุอยู่ เมื่อคลื่นเสียงผ่านมา จะทำให้ของเหลวสั่นสะเทือน ทำหน้าที่ เปลี่ยนสัญญาณเสียงเป็นกระแสประสาท ไปยังประสาทรับเสียง (auditory nerve) เส้นประสาทสมองคู่ที่ 8 สมองส่วน cerebrum ทำหน้าที่แปรผลต่อไป

39

40 ชุดที่ใช้ในการทรงตัว
ทำหน้าที่ รับรู้เกี่ยวกับการเอียง และการหมุนของศีรษะ ตลอดจนการทรงตัวของร่างกาย มีลักษณะเป็นหลอดครึ่งวงกลม 3 หลอดวางตั้งฉากกัน เรียกว่า semicircular canal ภายในมีของเหลวบรรจุอยู่ ที่โคนหลอดมีส่วนโป่งพองออกมา เรียกว่า ampulla ภายในมี เซลล์รับความรู้สึกที่มีขน (hair cell) ซึ่งไวต่อการไหลของของเหลวภายในหลอดที่เปลี่ยนแปลงตามของศีรษะและทิศทางการวางตัวของร่างกาย

41

42

43

44

45

46

47 จมูกกับการดมกลิ่น ภายในเยื่อบุจมูกมี เซลล์ประสาทรับกลิ่น (olfactory neuron) ที่สามารถเปลี่ยนสารที่ทำให้เกิดกลิ่น เป็นกระแสประสาท ส่งต่อไป เส้นประสาทรับกลิ่น (olfactory nerve) เป็นเส้นประสาทสมองคู่ที่ 1 ผ่าน olfactory bulb ส่งต่อไปยัง cerebrum แปรผลต่อไป

48

49 ลิ้นกับการรับรส ผิวลิ้นจะมีปุ่มเล็ก ๆ มากมาย ปุ่มเหล่านี้ คือ ปุ่มลิ้น (papilla) ที่ปุ่มลิ้นมี ตุ่มรับรส (taste bud) ทำหน้าที่ รับรส แต่ละตุ่มรับรสจะมี เซลล์รับรส (gustatory cell) ซึ่งต่อกับใยประสาท เมื่อตุ่มรับรสถูกกระตุ่นให้เกิดกระแสประสาท ส่งไปตามเส้นประสาทสมองคู่ที่ 7 , 9 ไปยัง cerebrum แปรผลต่อไป

50

51

52 Taste bud มี 4 ชนิด คือ ตุ่มรับรสหวาน , ขม , เปรี้ยว , เค็ม

53 แผนที่ลิ้นลวงโลก

54 ผิวหนังกับการรับความรู้สึก
ผิวหนังแบ่ง เป็น 3 ชั้น ตามลำดับ คือ ชั้นหนังกำพร้า (epidermis layer) ชั้นหนังแท้ (dermis layer) ชั้นหนังไขมัน (hypodermis , subcutaneous layer )

55 Skin anatomy

56 http://faculty. southwest. tn. edu/rburkett/A&P1_Integumentary_system

57 ผิวหนังกับการรับความรู้สึก
ผิวหนังเป็นอวัยวะห่อหุ้มร่างกาย และ เป็นอวัยวะรับความรู้สึกต่าง ๆ เช่น หน่วยรับสัมผัส (Meissner’s corpuscles) หน่วยรับความกดดัน (Pacinian corpuscles) หน่วยรับความรู้สึกเจ็บปวด หน่วยรับความรู้สึกร้อน หน่วยรับความรู้สึกเย็น

58

59

60 http://faculty. southwest. tn. edu/rburkett/A&P1_Integumentary_system

61

62 References สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. หนังสือเรียนสาระการเรียนรู้พื้นฐานและเพิ่มเติม ชีววิทยา เล่ม 3. กระทรวงศึกษาธิการ. กรุงเทพฯ : หน้า.

63 Thank you Miss Lampoei Puangmalai Major of biology
Department of science St. Louis College Chachoengsao


ดาวน์โหลด ppt บทที่ 8 การรับรู้และการตอบสนอง

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google