งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

บทที่ 6 การรักษาดุลยภาพในร่างกาย เรื่อง ระบบน้ำเหลือง

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "บทที่ 6 การรักษาดุลยภาพในร่างกาย เรื่อง ระบบน้ำเหลือง"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 บทที่ 6 การรักษาดุลยภาพในร่างกาย เรื่อง ระบบน้ำเหลือง
บทที่ 6 การรักษาดุลยภาพในร่างกาย เรื่อง ระบบน้ำเหลือง Biology (40242) Miss Lampoei Puangmalai

2 บทที่ 6 การรักษาดุลยภาพในร่างกาย
6.1 ระบบหายใจกับการรักษาดุลยภาพของร่างกาย 6.1.1โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊สของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวและของสัตว์ 6.1.2 โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊สของคน 6.2 ระบบขับถ่ายกับการรักษาดุลยภาพของร่างกาย 6.2.1 การขับถ่ายของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว 6.2.2 การขับถ่ายของสัตว์ 6.2.3 การขับถ่ายของคน 6.3 ระบบหมุนเวียนเลือด ระบบน้ำเหลืองกับการรักษาดุลยภาพของร่างกาย 6.3.1 การลำเลียงสารในร่างกายของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวและของสัตว์ 6.3.2 การลำเลียงสารในร่างกายของคน 6.3.3 ระบบน้ำเหลือง

3 จุดประสงค์การเรียนรู้
1. สืบค้นข้อมูล อภิปราย และสรุปเกี่ยวกับระบบน้ำเหลือง การสร้างภูมิคุ้มกัน 2. สืบค้นข้อมูล อภิปราย สรุป และจัดแสดงผลงานเกี่ยวกับการศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการสร้างภูมิคุ้มกันของร่างกาย และโรคที่เกี่ยวข้องกับการสร้างภูมิคุ้มกันของคนในท้องถิ่น

4 Lymphatic and Immune system

5 ระบบน้ำเหลือง (Lymphatic system)
หลอดน้ำเหลือง อวัยวะน้ำเหลือง กลไกการสร้างภูมิคุ้มกัน ความผิดปกติของระบบภูมิคุ้มกันโรค

6 ระบบน้ำเหลือง ( Lymphatic system )
ระบบน้ำเหลือง เป็นระบบลำเลียงที่ช่วยลำเลียงสารต่างๆ ให้กลับเข้าสู่เส้นเลือด โดยเฉพาะสารอาหาร พวกกรดไขมันที่ดุดซึมจากลำไส้เล็ก  ระบบน้ำเหลืองจะไม่มีอวัยวะสำหรับสูบฉีดไปยังส่วนต่าง ๆ ประกอบไปด้วย 1. น้ำเหลือง (Lymph)   2. ท่อน้ำเหลือง (Lymph vessel)   3. อวัยวะน้ำเหลือง (Lymphatic organ)

7

8 1. น้ำเหลือง (Lymph) น้ำเหลือง (Lymph)  เป็นของเหลวที่ซึมผ่านผนังเส้นเลือดฝอยออกมาอยู่ระหว่างเซลล์ หรืออยู่ รอบ ๆ เซลล์ เพื่อหล่อเลี้ยงเซลล์ ในน้ำเหลืองจะมีโปรตีนโมเลกุลเล็ก เช่น อัลบูมิน และสารที่มีโมเลกุลเล็ก เช่น ก๊าซ น้ำ น้ำตาลกลูโคส

9 Lymph Lymph, the fluid in the lymphatic vascular system, starts out as excess tissue fluid. More fluid is pushed out of the capillaries by the high pressure at their arterial ends than is drawn back in by osmotic pressure at the venous ends.

10 2. ท่อน้ำเหลือง (Lymph vessel)
ท่อน้ำเหลืองทอราซิก (Thoracic duct)   เป็นท่อน้ำเหลืองขนาดใหญ่ที่สุด   ทำหน้าที่ รับน้ำเหลือง จากส่วนต่างๆ ของร่างกาย   ยกเว้น ทรวงอกขวา แขนขวา และส่วนขวาของหัว กับคอ  เข้าเส้นเลือด vein แล้วเข้าสู่ vena cava ก่อนเข้าสู่หัวใจ   อยู่ทางซ้ายของลำตัว ท่อน้ำเหลืองทางด้านขวาของลำตัว (Right lymphatic duct) รับน้ำเหลืองจากทรวงอกขวา แขนขวาของหัว กับคอ เข้าเส้นเลือด vein แล้วเข้าสู่ vena cava เข้าสู่หัวใจ จากนั้นน้ำเหลืองที่อยู่ในท่อน้ำเหลือง จะเข้าหัวใจปนกับเลือดเพื่อลำเลียงสารต่อไป

11 http://www. mhhe. com/biosci/ap/dynamichuman2/content/cardio/visuals

12 Lymph vessels Lymph vessels start out as tiny, thin-walled, blind-ended lymph capillaries. They join together to form larger lymph vessels, many of which have valves. Eventually the lymph is dumped back into the bloodstream.

13 Lymph vessels http://www.med-ars.it/galleries/lymphnodes_5.htm

14 http://www. healingdaily

15 3. อวัยวะน้ำเหลือง (lymph organ)
ต่อมน้ำเหลือง (lymph node) ต่อมทอนซิล (Tonsil gland) ม้าม (spleen) ต่อมไทมัส (Thymus gland) เป็นต้น

16 lymph organ

17 lymph node ต่อมน้ำเหลือง (lymph node) พบอยู่ระหว่าทางเดินของท่อน้ำเหลือง   ลักษณะเป็นรูปไข่ กลม หรือรี ทำหน้าที่ กรองน้ำเหลืองให้สะอาด ทำลายแบคทีเรีย และทำลายเม็ดเลือดขาวที่อยู่ในวัยชรา

18 Lymph nodes are nodules of tissue along lymph vessels
Lymph nodes are nodules of tissue along lymph vessels. They filter the lymph and contain antibody-producing cells.

19 Tonsil gland ต่อมทอนซิล (Tonsil gland) มีอยู่ 3 คู่
คู่ที่สำคัญอยู่รอบ ๆ หลอดอาหาร   ภายในต่อมทอนซิลมี lymphocyte ทำลายจุลินทรีย์ที่ผ่านมาในอากาศไม่ให้เข้าสู่หลอดอาหารและกล่องเสียง

20 Tonsil gland

21 spleen ม้าม (spleen) เป็นอวัยวะน้ำเหลืองที่ใหญ่ที่สุด
สามารถยืดหดตัวได้ นุ่มมีสีม่วง อยู่ใกล้ ๆ กับกระเพาะอาหาร ใต้กระบังลมข้างซ้าย มีหน้าที่ สร้างเม็ดเลือดในระยะเอ็มบริโอในคนที่คลอดแล้ว ทำลายเม็ดเลือดแดงที่หมดอายุ

22 spleen The spleen is a large, tongue-shaped organ
located near the stomach in the abdomen. It has lymphatic and blood storage & filtration functions.

23 Thymus gland ต่อมไทมัส (Thymus gland) เป็นต่อมที่มีขนาดใหญ่ตอนอายุน้อยเมื่ออายุมาจะเล็กลงและฝ่อลงในที่สุด   อยู่ตรงทรวงอกรอบเส้นเลือดใหญ่ของหัวใจ   ทำหน้าที่ สร้างเซลล์เม็ดเลือดขาวชนิด lymphocyte , T-cell มีหน้าที่ต่อต้านเชื้อโรคและสารแปลกปลอมเข้าสู่ร่างกาย

24 Thymus gland The thymus is an important lymphatic organ in young animals. Located on either side of the trachea in the caudal cervical and cranial thoracic regions, the thymus is large and active in young animals, but shrinks up and disappears in older animals.

25 Other lymphatic tissues
Other lymphatic tissues include the tonsils in the pharynx, gut associated lymphatic tissue in the intestines, and small lymph nodules scattered beneath many epithelial surfaces throughout the body.

26

27 Organs of the Lymphatic System

28

29 Immune system Antigen is glycoprotien in epidermis of red blood cell
Antibody in plasma Ig = Immunoglobulin

30 Antibody Antibodies are Y-shaped molecules composed of
two identical long polypeptide (Heavy or H chains) two identical short polypeptides (Light or L chains). Function of antibodies includes: Recognition and binding to antigens Inactivation of the antigen

31 http://mil. citrus. cc. ca

32 The five classes of Ig antibodies.

33 Formation of an antigen-antibody complex.

34 ระบบภูมิคุ้มกัน (Immune system)
1. ภูมิคุ้มกันโดยกำเนิด (Innate immunity) 2. ภูมิคุ้มกันจำเพาะ (Acquired immunity)  2.1 ภูมิคุ้มกันก่อเอง (Active immunization) 2.2 ภูมิคุ้มกันรับมา (Passive immunization)

35 Innate immunity 1. ภูมิคุ้มกันโดยกำเนิด (Innate immunity) เป็นการป้องกัน และกำจัดแอนติเจนที่มีมาก่อนหน้าที่แอนติเจนเข้าสู่ร่างกาย เช่น การขับ เหงื่อของผิวหนัง ขนจมูกช่วยกรองแอนติเจนต่าง ๆ Lysozyme ในน้ำลาย น้ำตาล น้ำมูก ตลอดจนปฏิกิริยารีเฟลกซ์ต่าง ๆ เช่น การไอ การจาม      

36 Acquired immunity 2. ภูมิคุ้มกันจำเพาะ (Acquired immunity) เป็นภูมิคุ้มกันที่เกิดขึ้นเมื่อร่างกายได้รับแอนติเจนนั้นๆ ได้แก่ 2.1 ภูมิคุ้มกันก่อเอง (Active immunization) เป็นการสร้างภูมิคุ้มกันโดยการนำสารที่เป็นแอนติเจนที่ทำให้อ่อนกำลัง ไม่สามารถทำให้เกิดอันตรายต่อร่างกายได้ มาฉีด กิน หรือทา เพื่อกระคุ้นให้ร่างกายแอนติบอดีขึ้นมาต่อด้านแอนติเจนชนิดนั้น ข้อควรจำ วัคซีน (Vaccine) ทำมาจากเชื้อโรคที่ทำให้อ่อนกำลัง เช่น ไอกรน ไทฟอยด์ อหิวาตกโรค วัณโรค โปลิโอ หัด หัดเยอรมัน คางทูม ทอกซอยด์ (Toxoid) ทำมาจากสารพิษที่หมดสภาพความเป็นพิษ เช่น คอตีบ บาดทะยัก

37 Active immunization

38 Acquired immunity 2.2 ภูมิคุ้มกันรับมา (Passive immunization)
ซีรัม หรือ เซรุ่ม (Serum) คือ ส่วนน้ำใสของน้ำเลือดของกระต่ายหรือม้า ที่ได้รับการกระตุ้นให้สร้างแอนติบอดี มาฉีดให้ผู้ป่วย เช่น คอตีบ พิษงู เป็นต้น น้ำนมที่ทารก ๆ ได้รับจากการดูดน้ำนมแม่ และภูมิคุ้มกันที่ทารกในครรภ์ได้รับโดยผ่านทางรก

39 Passive immunization http://science.howstuffworks.com/snake4.htm

40 Agranulocytes Monocyte macrophage มีหน้าที่ ทำลายเชื้อโรคต่าง ๆ ด้วยวิธี phagocyctosis Lymphocyte มี 2 ชนิด ได้แก่ B-lymphocyte สร้างและเจริญที่ bone marrow T-lymphocyte สร้างจาก bone marrow แต่เจริญที่ thymus gland ทั้ง B-cell และ T-cell มีการทำงานที่ค่อนข้างซับซ้อน ดังนี้

41

42 http://mil. citrus. cc. ca

43

44 http://mil. citrus. cc. ca

45 การทำงานของ B-cell เมื่อ antigen ถูกทำลายด้วยวิธี phagocytosis ชิ้นส่วนที่ถูกทำลายจะไปกระตุ้นให้สร้าง b-cell เพิ่มขึ้น B-cell จะขยายขนาดและเปลี่ยนแปลงไปทำหน้าที่สร้าง antibody จำเพาะต่อ antigen เรียกว่า plasma cell B-cell ที่ทำหน้าที่จดจำ antigen นั้น ๆ ไว้ เรียกว่า memory cell

46 http://mil. citrus. cc. ca

47 The role of macrophages in the formation of antibodies.

48 การทำงานของ T-cell T-cell จะรับรู้ antigen แต่ละชนิด
T-cell ตัวแรกที่ตรวจจับ antigen เรียกว่า helper T-cell หรือ CD4+ ทำหน้าที่ กระตุ้น B-cell ให้สร้าง antibody มาต่อต้าน antigen กระตุ้นการทำงานของ T-cell อื่น ๆ T-cell ที่ทำหน้าที่ทำลายสิ่งแปลกปลอม เช่น เซลล์มะเร็ง เซลล์ติดเชื้อไวรัส เซลล์จากอวัยวะที่ร่างกายได้รับการปลูกถ่าย เรียกว่า cytotoxic T-cell หรือ CD8+ T-cell ที่ทำหน้าที่ควบคุมการตอบสนองทางภูมิคุ้มกัน เรียกว่า suppressor T-cell

49

50 Antibody-mediated Immunity
Stages in this process are : antigen detection activation of helper T cells antibody production by B cells Each stage is directed by a specific cell type.

51 Helper T Cells

52 http://mil. citrus. cc. ca

53 A cytotoxic T cell attacking a host cell that is expressing foreign antigens

54 The activation of T cells by the action of macrophages and interleukin-2.

55 http://mil. citrus. cc. ca

56 The cell-mediated immune responses.

57

58

59 ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับภูมิคุ้มกัน
1. พันธุกรรม 2. โภชนาการ เช่น ถ้าขาดวิตามิน A และ C จะลดการทำงานของ phagocyte และ T-Cell 3. ยาบางชนิด เช่น ยาพวก คอร์ติโคสเตอรอยต์ จะห้ามการทำงานของระบบภูมิคุ้มกันอย่าง ไม่เฉพาะเจาะจง

60 ความผิดปกติของภูมิคุ้มกัน
1. โรคภูมิแพ้ (Allergy) เป็นอาการที่เกิดขึ้นเนื่องจากร่างกายมีปฏิกิริยาต่อแอนติเจนบางอย่าง เช่น ฝุ่นละออง เกสรดอกไม้ อาหารทะเลขนสัตว์และอาการเป็นต้น 2. โรคที่ร่างกายสร้างภูมิต้านทานต่อเนื้อเยื่อของตนเอง (Autoimmune diseases) เช่น โรคลูปัส หรือ LSE (Systemic Lupus Erythematosussle) เป็นอาการที่เกิดจากการที่ร่างกายสร้างภูมิคุ้มกันต่อต้านเซลล์ของตนเอง 3. โรคเอดส์ (Acquire Immune Deficiency Syndrome) เกิดจากเชื้อไวรัส HIV เข้าไปทำลายเม็ดเลือดขาวชนิด T-cell

61 ลักษณะพิเศษของเชื้อเอดส์
เป็นไวรัสกลุ่ม  Retrovirus เป็นไวรัสที่เพิ่งค้นพบได้ไม่นานเมื่อเทียบกับไวรัสอื่น ๆ เชื้อไวรัสชนิดนี้มีคุณสมบัติพิเศษแตกต่างจากเชื้อไวรัสอื่น ๆ ดังนี้ คือ เพิ่มจำนวน และมีการกลายพันธุ์ได้ง่าย มันสามารถหลบเลี่ยงจากการถูกทำลายจากภูมิคุ้มกันของร่างกายคนปกติได้ด้วยการเข้าหลบอยู่ในเซลล์เม็ดเลือดขาวชนิด T-Lymphocytes ทำให้ Antibodies ที่ถูกสร้างขึ้นไม่สามารถทำอันตรายต่อเชื้อเอดส์ที่บุกรุกเข้ามาในร่างกายได้

62 สามารถนำเอาส่วนของ  gene ของตัวมันเข้าไปแฝงเป็นส่วนหนึ่งของ gene ของเม็ดเลือดขาวของคนเรา  แล้วอาศัย enzyme พิเศษที่ไม่มีในไวรัสชนิดอื่นที่เรียกว่า  Reverse Transcriptase enzyme เป็นตัวกระตุ้นเซลล์เม็ดเลือดขาวให้มีการสร้าง gene โดยที่ตัวมันไม่ต้องแบ่งตัวเอง  ทำให้มีการเพิ่มจำนวน gene ของไวรัสได้อย่างรวดเร็วจนสามารถทำลายเม็ดเลือดขาวที่มันอาศัยอยู่นั้นได้ สามารถกระตุ้นให้เซลล์บางชนิดของร่างกายมีการแบ่งตัวอย่างรวดเร็วจนเกิดเป็นมะเร็งชนิดต่างๆ ได้ เช่น กระตุ้นให้เซลล์เยื่อบุหลอดเลือดแบ่งตัวมากจนเกิดเป็นมะเร็ง ที่เรียกว่า Kaposi’s  Sarcoma หรือสามารถกระตุ้นให้เซลล์ต่อมน้ำเหลืองแบ่งตัว จนเกิดเป็นมะเร็งต่อมน้ำเหลืองที่เรียกว่า  Lymphoma ได้ เป็นต้น

63 AIDS Acquired Immunodeficiency Syndrome (AIDS) is currently receiving the most attention among the immunodeficiency diseases. AIDS is a collection of disorders resulting from the destruction of T cells by the Human Immunodeficiency Virus (HIV) , a retrovirus. When HIV replicates in the human T cells, it buds from the T cell plasma membrane encased in a coat derived from the T cell plasma membrane. HIV selectively infects and kills T4 helper cells. The viral RNA is converted into DNA by the enzyme reverse transcriptase; this DNA can become incorporated into a human chromosome for months or years.

64 Infected helper T-cell; the small blue globules are HIV particles.

65 http://mil. citrus. cc. ca

66 http://mil. citrus. cc. ca

67 acquired immunodeficiency syndrome (AIDS)

68 Reference http://io.uwinnipeg.ca/~simmons/1115/cm1503/celltheory.htm

69 Thank you Miss Lampoei Puangmalai Major of biology
Department of science St. Louis College Chachoengsao

70

71

72


ดาวน์โหลด ppt บทที่ 6 การรักษาดุลยภาพในร่างกาย เรื่อง ระบบน้ำเหลือง

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google