โครงการโรงเรียนคุณภาพประจำตำบล (1 ตำบล 1 โรงเรียนคุณภาพ)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
เรื่อง การศึกษาความต้องการและปัจจัยที่มีผล ต่อการเลือกสถานศึกษาเพื่อศึกษาต่อที่ โรงเรียน เทคนิควิมลบริหารธุรกิจ ของ นักเรียนในโรงเรียนกลุ่มเป้าหมายใน โรงเรียนจังหวัด.
Advertisements

กองแบบแผน กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
การจัดทำแผนปฏิทินการจัดการความรู้ และแผนในการติดตามประเมินผลการจัดการความรู้ E:\ประกันคุณภาพ\ppt\ดูงาน\12-PPT_เสนอ_ครุศาสตร์_จุฬา_19_11_50.ppt.
งานบริการการศึกษา.
มาตรฐานคุณภาพการสอน ของ คณะกรรมการแห่งชาติ ว่าด้วยมาตรฐานวิชาชีพครู (The National Board for Professional Teaching Standards) วิกฤติอาชีพครู พัฒนาวิชาชีพครู
รูปแบบการนำเสนอ หน่วยงาน
ภาคีรวมใจคนไทยไร้พุง จ.ลพบุรี Lopburi’s Slimming Academy
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
การพัฒนาโรงเรียนสิ่งแวดล้อมศึกษา
ผลการปฏิบัติราชการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ กรมอนามัย ปีงบประมาณ พ
การบูรณาการยุทธศาสตร์สุขภาพฯ กลุ่มเด็กวัยเรียน มาตรการ เป้าหมาย วิธีการวัด เป้าหมาย/KPI 1.นโยบายร่วมระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง แผนพัฒนาสุขภาพเด็กวัยเรียนแห่งชาติ/วาระสุขภาพแห่งชาติ
ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบบริหารจัดการเพื่อสนับสนุนการจัดบริการสุขภาพ
กลุ่มบริหารงานทั่วไป
ร่องรอยหลักฐานการกำหนดมาตรฐานและการจัดระบบบริหาร
โครงการ “ พัฒนาคุณภาพ การจัดการศึกษา เรียนร่วมและเรียนรวม”
ประวัติ โรงเรียนวัดท่า ข้าม โรงเรียนวัดท่าข้าม ตั้งอยู่เลขที่ 54 หมู่ 3 ตำบลท่า ข้าม อำเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม มีพื้นที่โรงเรียนทั้งหมดรวม 1 ไร่ 2 งาน.
การบริหารราชการ กระทรวงศึกษาธิการในภูมิภาค. การปรับการบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการในภูมิภาค ๑. เหตุผลความจำเป็น ๒. การใช้อำนาจ รมว.ศธ.ในการแต่งตั้งคณะกรรมการ.
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษา เขต 39 สำนักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐาน 16 พฤษภาคม 2558 ณ โรงแรมน่านเจ้า จังหวัดพิษณุโลก การประชุมชี้แจง เรื่อง.
1 2 ผลผลิต 2 โครงการพัฒนาความรู้ สารสนเทศ ด้านการบัญชี (PC1) หน่วย วัด แผนง าน ไตร มาส 3 แผนง าน ทั้งสิ้น ผลงา น ไตร มาส 3 ร้อยละ ไตร มาส 3 ร้อย ละ.
สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สพฐ. ก ร ะ ท ร ว ง ศึ ก ษ า ธิ ก า ร.
ศูนย์พัฒนา เด็กเล็ก เทศบาล ตำบลปัว ยินดี ต้อนรับ ยินดี ต้อนรับ.
สำนักโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข.
ข้อมูลทั่วไป จังหวัดศสม.รพสต.กองทุน สุขภาพตำบล สุขศาลา/ ศสมช. (ผ่าน3หมวด) อสม. ร้อยเอ็ด ,887 ขอนแก่น ,600 มหาสารคาม ,524.
แผนการตรวจรับรอง สถานที่ทำงานน่าอยู่ น่า ทำงาน โดยศูนย์อนามัยที่ 8 อุดรธานี วันเวลาหน่วยงานทีมประเมิน 11 กค.59 เช้า - รพท. นภ. บ่าย สสอ. เมือง ศูนย์อนามัย.
รายงานการ ดำเนินงาน ศูนย์แนะแนวต้นแบบประจำสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษา รายงานการ ดำเนินงาน ศูนย์แนะแนวต้นแบบประจำสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษา.
การจัดกิจกรรมตามแนวทาง การพัฒนาและประเมิน การอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สพฐ. แจกโรงเรียนทั่วประเทศ ปี ๒๕๕๔ เป็นแนวทางพัฒนาและประเมินความสามารถ.
ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ โรงเรียนอนุบาลนาแกผดุงราชกิจเจริญ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา นครพนม เขต ๑ ตามนโยบายกระทรวงศึกษาธิการ.
1. ด้าน หลักสูตร. จุดเน้นกับหลักสูตรแกนกลางการศึกษา ขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ คุณภาพผู้เรียน “ คุณภาพผู้เรียน ที่ระบุในจุดเน้นมีอยู่ แล้วในหลักสูตร.
โดย นายแพทย์ณัฐพร วงษ์ศุทธิภากร รองอธิบดีกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข “เรียนรู้ สิ่งแวดล้อม สร้างสรรค์” นโยบายการดำเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย.
เยี่ยมเสริมพลัง การจัดการความรู้ วันที่ 14 ก. ย
การบริหารหลักสูตร.
เครื่องมือการตรวจติดตามการประเมินผลการจัดการศึกษา
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
การพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงาน (Quality of Work Life)
ดร. วัฒนาพร ระงับทุกข์ รักษาการที่ปรึกษาด้านมาตรฐานการศึกษา
100 ตำบลต้นแบบในการบูรณาการ ด้านส่งเสริมสุขภาพ 5 กลุ่มวัย และอนามัยสิ่งแวดล้อม โดย กรมอนามัย.
แนวทางการปฏิบัติงานตามข้อสั่งการ ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
ข้อกำหนด/มาตรฐาน ด้านสุขาภิบาลอาหาร
งาน Road Map ศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตรปี 2560
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
ส้วมสะอาดในร้านอาหาร
โครงสร้างหลักสูตร “ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้”.
กลุ่มที่ 5 สพป.ชลบุรี เขต 1 เขต 2 เขต 3 สพป.ฉะเชิงเทรา เขต 1 เขต 2
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
การติดตามเกี่ยวกับการดำเนินการขับเคลื่อน สะเต็มศึกษาในโรงเรียนเอกชน
“การดูแลหญิงหลังคลอด และ ครอบครัวที่ติดเชื้อ เอช ไอ วี”
หลักเทคนิคการเขียน SAR
โครงการกำจัดปัญหาโรคพยาธิใบไม้ตับและมะเร็งท่อน้ำดี ถวายเป็นพระราชกุศลฯ
การประเมินวิทยฐานะ (ว 21/2560)
การระดมความคิดเห็นโรงเรียนคุณภาพประจำตำบลของ กลุ่มที่ 9 ภาคเหนือตอนบน แม่ฮ่องสอน เชียงใหม่ เชียงราย พะเยา ลำปาง ลำพูน แพร่ น่าน.
กลุ่มที่ 7 กาฬสินธุ์ ขอนแก่น ชัยภูมิ มหาสารคาม ร้อยเอ็ด นครราชสีมา.
บทที่ 4 การดูแลให้ได้รับการพักผ่อนและความปลอดภัย การจัดการสิ่งแวดล้อม การทำเตียง อ.กรวรรณ สุวรรณสาร.
เครือข่ายความร่วมมือ เพื่อการพัฒนาห้องสมุดและ แหล่งเรียนรู้
Model ผลที่คาดหวัง วัตถุประสงค์ ตัวชี้วัดหลัก
การกำหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา และการประกาศค่าเป้าหมาย
แนวทางการจัดทำหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัย สำหรับศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก สังกัด อปท. เข็มชาติ พิมพิลา รองผู้อำนวยการชำนาญการพิเศษ โรงเรียน เวียงเชียงรุ้งวิทยา.
ความปลอดภัยด้านอาหารและน้ำ
งานแนะแนว กับระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน
ประวัติวิทยากร ปริญญาเอก ศึกษาศาสตร์ดุษฎีบัณฑิต ดร.วัชรศักดิ์ สงค์ปาน
การทำวิทยฐานะ แนวทางใหม่
กองทุนฟื้นฟูสมรรถภาพที่จำเป็นต่อสุขภาพ จังหวัดน่าน
“ความร่วมมือในการขับเคลื่อนงาน คสจ. และ พชอ.”
ตัวชี้วัดการปฏิบัติงานของ ผอ.รร.
หลักเกณฑ์การประเมินกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
โครงการยกระดับคุณภาพผู้เรียน ในการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ (NT/O-NET)
“ทิศทางการขับเคลื่อน คุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน” ของสำนักงานคณะกรรมการ
โครงการพัฒนาคุณภาพการศึกษาและการพัฒนาท้องถิ่นโดยมีสถาบันอุดมศึกษาเป็นพี่เลี้ยง (TOR) คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม . . ฝ่ายวิชาการ . .
1. ตระหนักในคุณค่าของ คุณธรรมจริยธรรม
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
เอกสาร/หลักฐาน/ ร่องรอย เพื่อ จัดเก็บใน 13 แฟ้ม
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โครงการโรงเรียนคุณภาพประจำตำบล (1 ตำบล 1 โรงเรียนคุณภาพ) การเตรียมความพร้อมของโรงเรียนคุณภาพประจําตําบล ปีการศึกษา 2562 “เป็นที่ยอมรับของชุมชน มุ่งคนสู่การมีงานทำ เน้นย้ำการมีส่วนร่วม” สำนักพัฒนานวัตกรรมการจัดการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน

ด้านที่ 1 โครงสร้างพื้นฐาน ด้านที่ 1 โครงสร้างพื้นฐาน 1. ขึ้นป้ายเข้าร่วมโครงการโรงเรียนคุณภาพประจําตําบล หน้าโรงเรียน

ด้านที่ 1 โครงสร้างพื้นฐาน ด้านที่ 1 โครงสร้างพื้นฐาน 2. แหล่งการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับหลักสูตรสถานศึกษา 3. ด้านอาคารเรียน ห้องเรียน ให้อยู่ในสภาพ ใช้การได้ดี สะอาด ปลอดภัย มีความพร้อม ในการจัดการเรียนการสอน

ด้านที่ 1 โครงสร้างพื้นฐาน ด้านที่ 1 โครงสร้างพื้นฐาน 4. ด้านสถานที่รับประทานอาหาร และสถานที่ประกอบอาหารให้มี ความสะอาดปลอดภัย 5. ด้านไฟฟ้า น้ำประปา พร้อมใช้งานและ มีความปลอดภัย 6. การบริหารจัดการขยะและสิ่งแวดล้อม ภายในโรงเรียน

ด้านที่ 2 การส่งเสริมการศึกษา ด้านที่ 2 การส่งเสริมการศึกษา ด้านผู้บริหารสถานศึกษา 1. สนับสนุนและอำนวยความสะดวกนักเรียนในทุกด้าน เช่น อาหารกลางวัน อาหารเสริมนม ยานพาหนะ และอื่นๆ ตามที่เห็นสมควรและส่งผลต่อการพัฒนาผู้เรียน 2. จัดหา สนับสนุน ครูครบชั้นเรียน ครบวิชา ตามการดำเนินการ/ที่มา (7วิธี) และแผนการเรียนการสอนที่สอดคล้องกับแผนพัฒนาโรงเรียนคุณภาพประจำตำบล 10 ขั้นตอน 3. ประชุมสร้างความเข้าใจให้กับผู้ปกครอง นักเรียน

ด้านที่ 2 การส่งเสริมการศึกษา ด้านที่ 2 การส่งเสริมการศึกษา ด้านครู 1. มีหลักสูตรสถานศึกษาและแผนการเรียนการสอนที่สอดคล้องกับแผนพัฒนาโรงเรียนคุณภาพประจำตำบล 10 ขั้นตอน 2. มีสื่อการเรียนการสอน อุปกรณ์การสอน ระบบ NEL DLTV DLIT และสื่อการเรียนอื่นๆ 3. มีเครื่องมือการวัดประเมินผลและมีจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน แผนจัดการเรียนรู้ที่ระบุเป้าหมาย กิจกรรม สื่อ ชิ้นงาน/ภาระงานที่สอดคล้องกับหลักสูตรสถานศึกษา มีการกำหนดช่วงเวลาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ในตารางเรียนของทุกชั้น มีเครื่องมือการประเมินตามสภาพจริงในระดับคุณภาพของผู้เรียนตามเป้าหมายของหลักสูตรสถานศึกษา 4. มีระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน

ด้านที่ 2 การส่งเสริมการศึกษา ด้านที่ 2 การส่งเสริมการศึกษา ด้านนักเรียน 1. มีความพร้อมด้านการเรียน เช่น เอกสาร หนังสือแบบเรียน อุปกรณ์การเรียน และอุปกรณ์อื่นๆ 2. มีความพร้อมด้านเครื่องแต่งกาย เช่น เสื้อผ้า รองเท้า กระเป๋า ชุดกีฬา และชุดเครื่องแบบอื่นๆ ตามบริบทและความเหมาะสม 3. มีความพร้อมด้านสุขภาวะของนักเรียนให้มีความพร้อมสำหรับการเรียน

ด้านที่ 3 การสร้างเครือข่ายและการมีส่วนร่วม ด้านที่ 3 การสร้างเครือข่ายและการมีส่วนร่วม ประชุมคณะกรรมการสถานศึกษา ผู้ปกครอง ผู้บริหารโรงเรียน ครู เอกชน วัด รัฐ ในการวางแผนการขับเคลื่อนโรงเรียนคุณภาพประจําตําบลและแสวงหาความร่วมมือ

สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา กำกับ ติดตาม ส่งเสริม สนับสนุน การดำเนินงานโรงเรียนคุณภาพประจำตำบล ประกอบด้วย ด้านที่ 1 โครงสร้างพื้นฐาน ด้านที่ 2 การส่งเสริมการศึกษา ด้านที่ 3 การสร้างเครือข่ายและการมีส่วนร่วม

“เป็นที่ยอมรับของชุมชน มุ่งคนสู่การมีงานทำ เน้นย้ำการมีส่วนร่วม” มุ่งคนสู่การมีงานทำ เน้นย้ำการมีส่วนร่วม” โครงการโรงเรียนคุณภาพประจำตำบล (1 ตำบล 1 โรงเรียนคุณภาพ)