ยินดีต้อนรับ คณะผู้ตรวจราชการ.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ประเด็นในการพัฒนา DHS-PCA
Advertisements

ยุทธศาสตร์ การจัดสรร งบประมาณ ยุทธศาสตร์การพัฒนาคนและสังคมที่มีคุณภาพ
แนวทางการบริหารงบบริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ปีงบประมาณ 2558
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเลย
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
ผลการปฏิบัติราชการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ กรมอนามัย ปีงบประมาณ พ
การบูรณาการยุทธศาสตร์สุขภาพฯ กลุ่มเด็กวัยเรียน มาตรการ เป้าหมาย วิธีการวัด เป้าหมาย/KPI 1.นโยบายร่วมระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง แผนพัฒนาสุขภาพเด็กวัยเรียนแห่งชาติ/วาระสุขภาพแห่งชาติ
ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบบริหารจัดการเพื่อสนับสนุนการจัดบริการสุขภาพ
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
ผลการดำเนินงานต่อเนื่องของ service plan
ยินดีต้อนรับคณะกรรมการ ติดตามและประเมินผล กองทุนหลักประกัน สุขภาพระดับท้องถิ่น.
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนนทบุรี
สำนักงานพัฒนาระบบสาธารณสุข
ประชุมMCH Board จังหวัดอุตรดิตถ์ ครั้งที่ ๒/๒๕๕๘ วันพฤหัสที่ ๑๘มิถุนายน ๒๕๕๘ ณ ห้องประชุมภูสอยดาว สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอุตรดิตถ์
การประเมินผลโครงการ คปสอ.คลองใหญ่.
ของเทศบาลตำบลหนองไผ่ อ.เมือง จ.อุดรธานี
อำเภอควบคุมยาสูบและเครื่องดื่ม แอลกอฮอล์เข้มแข็ง ปี 2556
สำนักโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข.
ข้อมูลทั่วไป จังหวัดศสม.รพสต.กองทุน สุขภาพตำบล สุขศาลา/ ศสมช. (ผ่าน3หมวด) อสม. ร้อยเอ็ด ,887 ขอนแก่น ,600 มหาสารคาม ,524.
เงินโอนตามผลงานการบำบัดระบบสมัครใจและระบบบังคับบำบัดแบบไม่ควบคุมตัว (ปีงบประมาณ2558) สถานบริการปี 2558ปี 2559รวม (บาท) 1.รพ.พระจอมเกล้า17,50027,50045,000.
แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ระบบบัญชี สุขภาพ (1-8) กุมภาพันธ์ 2558 สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดบุรีรัมย์
โครงการ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ “ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี เนื่องในโอกาสฉลองพระชนมายุ
กลุ่มวัยผู้สูงอายุ
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสกลนคร ภก.กิตติศักดิ์ ไท้ทอง
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
อสม.นักจัดการสุขภาพตามกลุ่มวัย
กำหนดการ Work shop การประเมินตนเอง
เทศบาลเมืองวังน้ำเย็น อำเภอวังน้ำเย็น จังหวัดสระแก้ว
สรุปผลการดำเนินงานตามนโยบายการควบคุมโรคไม่ติดต่อ ด้านการเฝ้าระวังผู้ป่วยโรคเบาหวาน/โรคความดันโลหิตสูง ควบคุมระดับน้ำตาลและความดันได้ดี ปีงบประมาณ 2561.
ยินดีต้อนรับ นายแพทย์พิทยา ไพบูลย์ศิริ
สายส่งเสริมตามกลุ่มวัยและประเด็น
เครือข่ายบริการสุขภาพอำเภอน้ำพอง
โครงการส่งเสริมป้องกันโรคในช่องปากผู้สูงอายุ
สรุปผลการนิเทศงานศูนย์อนามัยที่ ๖ ระหว่างวันที่ ๒-๓ พฤษภาคม ๒๕๖๐
การประเมินมาตรฐาน งานระบาดวิทยา ปี 2549
สรุปแนวทางการดำเนินงานตามกลุ่มวัย
ข้อสั่งการ/ข้อเสนอแนะ
ยุทธศาสตร์ ที่ 1 Promotion, Prevention & Protection Excellence
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
กลุ่มงานส่งเสริมสุขภาพ ข้อสั่งการ/ข้อเสนอแนะ
“การดูแลหญิงหลังคลอด และ ครอบครัวที่ติดเชื้อ เอช ไอ วี”
โดย ศรีปัญญา ม่วงเพ็ชร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
โครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพ องค์การบริหารส่วนตำบลท่าดินแดง
โครงการกำจัดปัญหาโรคพยาธิใบไม้ตับและมะเร็งท่อน้ำดี ถวายเป็นพระราชกุศลฯ
ข้อสั่งการ/ข้อเสนอแนะ
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูลเพื่อการพัฒนาชุมชน ปี 2561
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
รพ.สต.สายใยรัก อำเภอสัตหีบ
การติดตามผลงาน OKRs ปีงบประมาณ 2562 (ไตรมาส 1)
พัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย (9 ตัว) กลุ่มเด็กปฐมวัย (๐-๕ ปี)/สตรี 1.อัตราส่วนการตายของมารดาไม่เกิน15ต่อการเกิดมีชีพแสนคน 2.ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย.
รายงานความก้าวหน้าการดำเนินงาน แพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
กำหนดการ Work shop -ชี้แจงวัตถุประสงค์ ร่วมเรียนรู้ ร่วมลด CAP ลดซ้ำซ้อน และเสริมพลัง -รับฟังการนำเสนอผลการประเมินตนเองและทำแผนปรับปรุงตนเองและสรุปปัญหาที่ต้อง.
กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
สรุปผลการนิเทศงานเฉพาะกิจ งานข้อมูลและเทคโนโลยีสารสนเทศ
ยินดีต้อนรับ คณะกรรมการนิเทศ ติดตาม ควบคุม กำกับงานสาธารณสุข โซน3 จังหวัดเชียงใหม่ ครั้งที่ 1 ประจำปี 2561 ด้วยความยินดียิ่ง.
ประชุม คปสจ.ประจำเดือนมิถุนายน ๒๕๕๙ MOTTO – กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
อัตราส่วนการตายมารดาไทย
ตัวชี้วัดที่ 1 ร้อยละของคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ.) ที่มีคุณภาพ ร้อยละ 50.
ทิศทางการดำเนินงานลดโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD)
การดำเนินงานเขตเศรษฐกิจพิเศษและแรงงานต่างด้าว
การป้องกันควบคุมโรค NCDs
ข้อตกลงการปฏิบัติงาน (Performance Agreement : PA) ปีงบประมาณ 2561 ไตรมาสที่ 2 (1 ต.ค. 60 – 31 มี.ค. 61) เขตสุขภาพที่ 12.
โครงการพัฒนารูปแบบการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน : ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง.
การพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ)
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
ศูนย์อนามัยที่ 8 อุดรธานี
ข้อตกลงการปฏิบัติงาน (Performance Agreement : PA) ปีงบประมาณ 2561 ไตรมาสที่ 1 (1 ต.ค. 60 – 31 ธ.ค. 60) เขตสุขภาพที่ 12.
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
กำหนดการ การนิเทศ ติดตาม ควบคุม กำกับฯ รอบที่ 2 ประจำปี 2560
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ยินดีต้อนรับ คณะผู้ตรวจราชการ

สามหลวงพ่อศักดิ์สิทธิ์ ข้อมูลทั่วไป + จำนวนตำบล 11 + จำนวนหมู่บ้าน 125 + เทศบาล 2 + องค์การบริหารส่วนตำบล 9 + ประชากร 63,948 + โรงพยาบาล 1 + รพ.สต. 13 + กองทุนสุขภาพตำบล 11 แหล่งผลิตพระเครื่อง นามกระเดื่องช่างฝีมือ เลื่องระบือเกษตรกรรม อำเภอพยุหะคีรี

ข้อมูลบุคคลากร รพ.พยุหะคีรี แพทย์ 6 คน อัตราต่อ ปชก. 1 : 10,658 แพทย์ 6 คน อัตราต่อ ปชก. 1 : 10,658 ทันตแพทย์ 5 คน อัตราต่อ ปชก. 1 : 12,789 เภสัชกร 5 คน อัตราต่อ ปชก. 1 : 12,789 พยาบาลวิชาชีพ 34 คน อัตราต่อ ปชก. 1 : 1,880

ข้อมูลบุคคลากร รพ.สต. ทั้งหมด 38 คน อัตราเฉลี่ยต่อแห่ง 3.80 ทั้งหมด 38 คน อัตราเฉลี่ยต่อแห่ง 3.80 พยาบาล 13 คน อัตราต่อ ปชก. 1 : 4,913 เจ้าหน้าที่ สธ. 26 คน อัตราต่อ ปชก. 1: 2,459 จพ.ทันตสาธารณสุข 4 คน อัตราต่อ ปชก. 1: 15,987

การพัฒนาสุขภาพอนามัยมารดาและทารก การให้บริการฝากครรภ์ พยุหะ หัวงิ้ว 2562 แนวทางการแก้ไข พัฒนาระบบการค้นหาผ่าน อสม. บัดดี้ งบประมาณกองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่นมาจัดการ จัดหาเวชภัณฑ์สนับสนุนหน่วยบริการ ปัญหา/อุปสรรค ตั้งครรภ์อายุน้อยหรือครรภ์แรก ตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์ ฝากครรภ์ที่คลีนิคเอกชน หญิงตั้งครรภ์คลอดก่อนกำหนด

การพัฒนาสุขภาพอนามัยมารดาและทารก ภาวะโลหิตจางในหญิงตั้งครรภ์ และทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อยกว่า 2,500 กรัม พยุหะ หัวงิ้ว 2562 ปัญหา/อุปสรรค โลหิตจางเพราะธาลัสซีเมีย/พฤติกรรมการกิน ทารก นน.น้อย เพราะคลอดก่อนกำหนด

การพัฒนาสุขภาพอนามัยมารดาและทารก การดูแลมารดาและทารกหลังคลอดครบ 3 ครั้งตามเกณฑ์ พยุหะ สระบัว 2562 ปัญหา หญิงตั้งครรภ์ย้ายถิ่นกลับมาคลอดที่บ้าน การแก้ไข ปัญหา มีการจัดการระบบการดูแล โดยการมีส่วนร่วมของ อสม. มีการนำ อสม. เป็นคู่หู ดูแลหญิงมีครรภ์และทารก

การพัฒนาสุขภาพกลุ่มเด็กปฐมวัย ความสำเร็จของการพัฒนาเด็กตามเกณฑ์มาตรฐาน ติดตามได้ 79.87 ครั้งแรกสงสัยล่าช้า หลังติดตาม แล้วสมวัย 93.71 ตรวจพัฒนาการ 4 กลุ่มวัย 96.69 30.29 การตรวจพัฒนาการ ปัญหา/อุปสรรค เจ้าหน้าที่น้อย การแก้ไข อบรมฟื้นฟู

การพัฒนาสุขภาพเด็กปฐมวัย ทารกแรกเกิดจนถึงอายุต่ำกว่า 6 เดือนกินนมแม่อย่างเดียว ปัญหา ระบบการบันทึกข้อมูล แม่มีความจำเป็นต้องประกอบอาชีพต่างถิ่น

การพัฒนาสุขภาพเด็กปฐมวัย เด็กอายุ 0-5 ปีสูงดีสมส่วน เขาบ่อแก้ว เขาไม้เดน ท่าน้ำอ้อย หนองกลอย พยุหะคีรี 2562 ปัญหา พฤติกรรมการเลี้ยงดูของผู้ปกครอง เด็กส่วนใหญ่ไม่ได้อยู่กับพ่อแม่

การพัฒนาสุขภาพกลุ่มเด็กปฐมวัย เด็กอายุ 0-2 ปีได้รับการตรวจสุขภาพช่องปาก กระบวนการดำเนินงาน 1. ที่มีทันตบุคลากรประจำ บริการวันที่เด็กมารับวัคซีน 2. ไม่มีทันตบุคลากร เจ้าหน้าที่ในหน่วยบริการนัดเด็กมารับบริการทันตฯ ปีละ 2 ครั้ง คือ ตุลาคม-พฤศจิกายน เมษายน – พฤษภาคม ปัญหา รพ.สต.บริการตั้งรับในหน่วยบริการ ผู้ปกครองไม่พาเด็กมาตรวจตามกำหนด

การพัฒนาสุขภาพวันเรียน/วัยรุ่น การตั้งครรภ์หญิงอายุต่ำกว่า 20 ปี แนวทางการแก้ไขปัญหา การให้ทักษะชีวิตในนักเรียน อสม แนะนำวางแผนครอบครัวในกลุ่มต่ำกว่า 20 ปี ให้ความรู้ในรายที่มีการตั้งครรภ์ ที่อายุน้อยกว่า 20 ปี สาเหตุมาจาก 1.บริบทของสังคมยอมรับการมีครอบครัวอายุยังน้อย 2 สังคมยอมรับการเรียนควบคู่กับการมีครอบครัว

การจัดการโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ผู้ป่วยเบาหวานรายใหม่จากกลุ่มเสี่ยงเบาหวาน การพบผู้ป่วยรายใหม่เนื่องจาก กลุ่มเสี่ยงไม่ปรับพฤติกรรมอย่างต่อเนื่อง ขาดการกระตุ้นเตือน/ปัจจัยเอื้อปรับพฤติกรรม กลุ่มเสี่ยงFBS ยังไม่ได้รับการตรวจFBS ครั้งที่ 2 การแก้ไข จะมีการติดตามกลุ่มเสี่ยงให้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ติดตามเจาะเลือด ภายใน 3เดือน ตรวจ FBS ครั้งที่ 2 ภายในเดือนมีนาคม 2562

การจัดการโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ผู้ป่วยความดันโลหิตสูงรายใหม่ ปัญหา เครื่องวัดความดันโลหิตมีไม่เพียงพอ ผู้บันทึกข้อมูล ขาดความเข้าใจการบันทึก Home BP ใน HDC ส่วนของรพ.อยู่ระหว่างการเยี่ยม ยังไม่บันทึกข้อมูล

การจัดการโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ผู้ป่วยเบาหวานที่ควบคุมได้ ปัญหาและการแก้ไขการปฏิบัติงาน 1. คัดกรอง Hba1c <70 เช่น สระบัว ท่าน้ำอ้อย หาดสะแก 2.ผู้ป่วยได้รับการตรวจHbA1C ปีละ 1 ครั้ง 3.ผู้ป่วยเบาหวานที่ควบคุมไม่ได้ไม่ยอมใช้ยาฉีด 4.ผู้ป่วยไม่ได้รักษาในพื้นที่พยุหะคีรีไม่มี HbA1C ในHDC 5.การบันทึกวินิจฉัยผิด ทำให้เป้าหมายสูงกว่าความเป็นจริง

การจัดการโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ผู้ป่วยความดันโลหิตสูงที่ควบคุมได้ ปัญหาและการแก้ไขปัญหา 1.วันที่มารับบริการผู้ป่วยไม่ได้ทานยาลดความดันมื้อเช้า 2.ผู้ป่วยได้รับยาไม่ครบถึงวันนัด ทำให้ขาดยา 3.ผู้ป่วยกลัว white coat hypertention

ระบบการส่งเสริมสุขภาพดูแลผู้สูงอายุระยะยาว (Long Term Care) องค์กรส่วนท้องถิ่น ประเมินโดย สสจ. รอประเมิน ผ่าน ไม่ผ่าน ทต.พยุหะ+อบต.พยุหะ   / ทต.ท่าน้ำอ้อย+ม่วงหัก อบต.เขากะลา อบต.เนินมะกอก อบต.นิคมเขาบ่อแก้ว อบต.สระทะเล อบต.เขาทอง อบต.ย่านมัทรี อบต.ยางขาว อบต.น้ำทรง รวม 6 ตำบล 5 ปัญหาอุปสรรคการดำเนินงาน 1. ชมรมผู้สูงอายุไม่ผ่านเกณฑ์คุณภาพ 2. ระบบการดูแลผู้สูงอายุยังไม่ชัดเจน 3. บุคลากร เช่น วิตกการทำเอกสาร แนวทางแก้ไข/พัฒนา 1. กำหนดเป็นนโยบาย พชอ. 2. ตั้งคณะช่วยเหลือซึ่งกันและกัน

การพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมได้ตาม เกณฑ์ Green&Clean Hospital ผลการพัฒนา ผ่านเกณฑ์ระดับดีขึ้นไป 14 แห่งหรือร้อยละ 93.33 1. รพ.พยุหะคีรี พื้นฐาน 2. รพ.จิตเวชราชนครินทร์นครสวรรค์ ดีมาก 3. โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล ผ่านทุกแห่ง ผลการพัฒนาโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล ระดับดีมาก PLUS 7 แห่ง รพ.สต.บ้านเขาทอง รพ.สต.บ้านหาดสะแก รพ.สต.บ้านคลองโพธิ์ รพ.สต.บ้านท่าน้ำอ้อย รพ.สต.บ้านเขาไม้เดน รพ.สต.บ้านหัวงิ้ว รพ.สต.บ้านห้วยบง ระดับดีมาก 4 แห่ง รพ.สต.บ้านสระทะเล รพ.สต.บ้านเขาบ่อแก้ว รพ.สต.บ้านสระบัว รพ.สต.บ้านหนองกลอย ระดับดี 2 แห่ง รพ.สต.บ้านทรัพย์ไพรวัลย์ รพ.สต.บ้านยางขาว

การส่งเสริมการเลิกสูบบุหรี่ การค้นหา 1. การบริการที่หน่วย บริการ 2. เชิงรุกตามโครงการ 3 ล้าน3ปี เลิกบุหรี่ทั่วไทย เทิดไท้องค์ราชันย์ ผลดำเนินงานเชิญชวนเลิกบุหรี่โดย อสม. จำนวน อสม. ทั้งหมด 1,487 คน สูบบุหรี่ 93 คน ร้อยละ 6.25 ชวนผู้สูบบุหรี่สมัครเข้าร่วมฯ 5,577 คน ร้อยละ 125.02 ของเป้าหมาย 4,461 คน ผลคัดกรอง การบำบัด และผลรักษาผู้สูบบุหรี่ ประชากรอายุ 15 ปีขึ้นไป 32,327 คน คัดกรอง 26,785 คน ร้อยละ 82.86 ผู้สูบบุหรี่ 4,941 คน ร้อยละ 18.45 รับบำบัด 4,917 ร้อยละ 99.51 อัตราอสม 3.62 เลิกบุหรี่ได้ 34 คน การบำบัดผู้สูบบุหรี่ กำหนดเข็มมุ่งการทำงานโรคไม่ติดต่อ เพิ่มชาชงหญ้าดอกขาว ในรพ.สต. พัฒนาเจ้าหน้าที่ทุกคน จัดระบบการติดตามผลการบำบัด

การจัดการของอำเภอพยุหะคีรี การพัฒนาศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน (EOC) และ ทีมตระหนักรู้สถานการณ์ (SAT) ขั้นตอน การจัดการของอำเภอพยุหะคีรี 1 1. มีคณะกรรมการระดับอำเภอ และระดับเครือข่ายบริการสุขภาพอำเภอ 2. มีการประชุมผู้เกี่ยวข้อง ในการประชุมหัวหน้าส่วนราชการอำเภอ 2 มีทีมปฏิบัติการระดับอำเภอ เช่น EMS, MCAT, SRRT อุบัติภัย 3 1. มีการเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา 2. มีการเฝ้าระวังจากสถิติรายงาน 3. มีการเฝ้าระวังอุบัติภัย เช่นน้ำท่วม  4 มีการวิเคราะห์ระดับความเสี่ยงสำคัญของโรคและภัยสุขภาพระดับอำเภอ 5 - มีซ้อมแผนอุบัติเหตุ ไฟไหม้ - มีการปฏิบัติในเหตุการณ์โรคซิก้า ในพื้นที่โรงเรียนพยุหะวิทยา

การใช้ยาอย่างสมเหตุสมผล ปัญหาการใช้ยาปฏิชีวนะในโรค URI AD, FTW ผ่าน ระดับ 1 ปัญหาการใช้ยาปฏิชีวนะในโรค URI AD, FTW แนวทางดำเนินงาน - ส่งเสริมการใช้สมุนไพร URI , AD - เพิ่มศักยภาพเจ้าหน้าที่ผู้สั่งใช้ยาในโรงพยาบาลและรพสต. - pop up เงือนไขการสั่งยาในคอมพิวเตอร์ -สรุปรายงานทุก 15 วัน เดือนให้แพทย์ทราบ

การดำเนินงานแต่ละขั้นตอน Primary Care Cluster การดำเนินงานแต่ละขั้นตอน ระดับ 1 การกำหนด เป็น PCC ปี 2562 รพ.สต.บ้านเขาทอง + บ้านสระทะเล ระดับ 2 พัฒนาให้ผ่านการประเมินเป็น รพ.สต.ติดดาว (5 ดาว) ระดับ 3 พัฒนาคุณภาพ รพ.สต. เป็น คลินิกหมอครอบครัว มีแพทย์+สหวิชาชีพ ร่วมดำเนินการ 3 วัน/เดือน ระดับ 4 เกณฑ์การจัดตั้งคลินิกหมอครอบครัว 4.1 โครงสร้างพื้นฐาน และครุภัณฑ์ที่จำเป็น 4.2 ระบบบริการ 4.3 บุคลากร

การจัดการของเครือข่ายบริการสุขภาพ Primary Care Cluster ยุทธศาสตร์ที่ 2 แผนงาน พัฒนาระบบการแพทย์ปฐมภูมิ การจัดการบุคลากร บุคคลากร ที่มีจริง ต้องการ เพิ่ม การจัดการของเครือข่ายบริการสุขภาพ เขาทอง สระทะเล 1.แพทย์เวชศาสตร์ฯ 1 0  รพ.สนับสนุนหมุนเวียนไปช่วยงาน 2. พยาบาล 3 รพ.สนับสนุนหมุนเวียนไปช่วยงาน/รพ.สต.หมุนเวียนไปช่วยงาน 3. นวก./จพ.สาธารณสุข 2 - 4.ทันตาภิบาล รพ.สต.หมุนเวียนไปช่วยงาน 5.ทันตแพทย์ 6.เภสัชกร 7.จพ.เภสัชกรรม 8.กายภาพบำบัด 9.แพทย์แผนไทย/ ผู้ช่วยแพทย์แผนไทย

การพัฒนา รพ.สต.ติดดาว การดำเนินงาน ปี 2562 1. สร้างความร่วมมือโดยใช้กลไกลคณะทำงาน 1. การเงิน การจัดสถานที่ GREEN&CLEAN 2. การนำองค์กรและการมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล 3. ป้องกันการติดเชื้อในสถานบริการ 4. ห้องปฏิบัติการ 5. เภสัช/คบส/RDU 6. ระบบสารสนเทศ 7. การให้ความสำคัญผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 8. การจัดบริการ 9. การจัดการความรู้/ผลลัพธ์ 2. ใช้เกณฑ์ รพ.สต.ติดดาว ประเมินผู้รับผิดชอบ กิจกรรม 3. เสริมแนวคิดการพัฒนาคุณภาพงาน 4. สร้างระบบเพื่อให้เกิดการเชื่อมโยง HA PCA PMQA พชอ.

พัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ ระดับที่ 1 การแต่งตั้งคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ.) ใช้เวทีของหัวหน้าส่วนราชการ ระดับที่ 2 คณะกรรมการมีการประชุมจัดทำแผนและคัดเลือกประเด็น ดูแลผู้ยากไร้ผู้ด้อยโอกาส การป้องกันโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ระดับที่ 3 มีการดำเนินการตามแผนพัฒนา  ดำเนินงานตามสถานการณ์ ระดับที่ 4 มีการติดตามประเมินผลลัพธ์การพัฒนา ไม่ทางการ  ระดับที่ 5 - มีการสรุปบทเรียนผลการดำเนินงาน

สวัสดี