การบูรณาการและการบริหาร โครงการส่งเสริมการเกษตรในรูปแบบแปลงใหญ่

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
พัฒนาระบบบริหารจัดการน้ำเพื่อการเกษตร(บูรณาการกระทรวง)
Advertisements

ระบบส่งเสริมการเกษตร(พืช)
โครงการเตรียมความพร้อม สินค้าเกษตรไทย ก้าวไกลสู่ประชาคมอาเซียน ปี 2558
ผลการปฏิบัติงานและ งบประมาณ ของ สำนักงานสหกรณ์จังหวัด สิงห์บุรี ประจำปีงบประมาณ พ. ศ ตั้งแต่ 1 ต. ค ก. ค. 53.
ผู้อำนวยการกองแผนงาน กรมส่งเสริมการเกษตร
นักวิชาการสาธารณสุข ๙ ชช ศูนย์อนามัยที่ ๑๐ ชึชียงใหม่
การรายงานผลการปฏิบัติงาน กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาธุรกิจสหกรณ์
นายโอฬาร พิทักษ์ อธิบดีกรมส่งเสริมการเกษตร
โครงการส่งเสริมการผลิตสินค้าเกษตรปลอดภัยและได้มาตรฐาน ปี ๒๕๕๔
สำนักงานสหกรณ์ จังหวัดกระบี่ รายงาน แผน / ผลการ ปฏิบัติงาน ประจำเดือนเมษายน 2555 กลุ่มส่งเสริมและ พัฒนาธุรกิจสหกรณ์
กลุ่มตรวจการสหกรณ์ สำนักงานสหกรณ์จังหวัดสุพรรณบุรี
1. 2 วาระที่ 1 เรื่องที่ประธานแจ้งให้ที่ประชุมทราบ วาระที่ 2 รับรองรายงานการประชุมครั้งที่ 2/2552 เมื่อวันที่ 2 กุมภาพันธ์ 2552 วาระที่ 3 เรื่องเพื่อทราบ.
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการ กรม สำนักงานสหกรณ์จังหวัด สระบุรี ( กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการบริหารการ จัดการสหกรณ์ ) ข้อมูล ณ วันที่ 25 ธันวาคม โครงการตามนโยบายรัฐบาล.
ณ 31 พฤษภาคม
ผู้รับผิดชอบ ผลผลิต ฝ่ายบริหารทั่วไป
คำสั่งกรมส่งเสริมการเกษตร
กิจกรร ม 1 กิจกรร ม 3 กิจกรร ม 2 ส่งเสริมและพัฒนาธุรกิจของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร กิจกรรมแผนผลร้อยละ 1. สหกรณ์ / กลุ่มเกษตรกรได้รับการส่งเสริมและ พัฒนาธุรกิจ.
ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบบริหารจัดการเพื่อสนับสนุนการจัดบริการสุขภาพ
MRCF การเชื่อมโยงแนวทางการส่งเสริมการเกษตร
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
การปรับโครงสร้างการผลิตเป็นแปลงใหญ่
โครงการส่งเสริมการเกษตร ในรูปแบบแปลงใหญ่จังหวัดชัยภูมิ ปี 2558
โครงการเมืองเกษตรสีเขียว ปี 2557
การมอบนโยบายแนวทาง การปฏิรูปที่ดินประจำปี 2559 โดย นายสรรเสริญ อัจจุตมานัส เลขาธิการ ส. ป. ก.
แนวทางการบริหารจัดการเขต พัฒนาเศรษฐกิจพิเศษโดย สหกรณ์ นายเชิดชัย พรหมแก้ว ผู้อำนวยการกองพัฒนาสหกรณ์ภาคการเกษตร และกลุ่มเกษตรกร กรมส่งเสริมสหกรณ์ วันที่
แผนการตรวจราชการ กระทรวงสาธารณสุข กรณีปกติ เขตสุขภาพ ที่ 2.
๓ มุ่งหน้าสู่พื้นที่ “จุดเริ่มและเป้าหมายอยู่ที่พื้นที่”
สร้างความเข้มแข็งของเศรษฐกิจฐานราก จากต้นทาง กลางทาง จนถึงปลายทาง
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
พลเอก ประสาท สุขเกษตร เลขานุการ รมต.กษ.
วาระที่ สรุปผลการปฏิบัติงาน ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2559
รายงานผลการปฏิบัติงาน เดือนมกราคม 2559
บทบาทของสหกรณ์การเกษตรต่อ 6 มาตรการภายใต้แผนขับเคลื่อนการดำเนินงานตามนโยบายรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ นางอัญชนา ตราโช ผู้อำนวยการสำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่
ปัจจัยแห่งความสำเร็จ
สถานการณ์ผลิต พื้นที่ปลูกลดลงทุกปี ความต้องการใช้เพิ่มขึ้น
เรื่องที่ประธานแจ้งให้ที่ประชุมทราบ
แนวทางการปฏิบัติงานตามข้อสั่งการ ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
งาน Road Map ศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตรปี 2560
ยุทธศาสตร์ ที่ 2 Service Excellence (ยุทธศาสตร์ด้านบริการเป็นเลิศ)
โดย นายทรงเกียรติ ตาตะยานนท์ ผู้อำนวยการส่วนจัดการงบประมาณ
ติดตามผลการปฏิบัติงานสำนักงานสหกรณ์จังหวัดขอนแก่น
แผนพัฒนาการเกษตรของสำนักงานเกษตรอำเภอบางปะหัน ปี 2560
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ผลการปฏิบัติงานกรมตรวจบัญชีสหกรณ์
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
วาระที่ 3.4 แนวทางการปฏิบัติงานโครงการตามนโยบาย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
เป้าหมายจังหวัด TO BE NUMBER ONE
ประชุมติดตามความก้าวหน้าการดำเนินการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๕ วันที่ ๔ เมษายน ๒๕๕๕ เวลา ๑๓.๐๐ น. ณ ห้องประชุม ๔/๑ ศาลากลางจังหวัด.
ผู้สูงอายุ เขตสุขภาพที่ 3
ณ ห้องประชุมกองวิจัยและพัฒนางานส่งเสริมการเกษตร
จัดทำคู่มือโครงการฯ ก.ย.-ต.ค.61 ประชุมเตรียมการจัด RW ต.ค.61 / มิ.ย.62
การสัมมนาแนวทางการดำเนินงาน
แผนขับเคลื่อนการดำเนินงานส่งเสริมการเกษตร ประจำปีงบประมาณ 2561
แนวทางการจัดเวทีการขับเคลื่อนการทำงานส่งเสริมการเกษตรในพื้นที่ ปี 2559
โครงการประจำปีงบประมาณ 2559
การส่งเสริมการเกษตรในรูปแบบแปลงใหญ่
ระบบส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
การทำวิทยฐานะ แนวทางใหม่
ยุทธศาสตร์ส่งเสริมการเกษตร
แผนพัฒนาการเกษตรของสำนักงานเกษตร อำเภอพระนครศรีอยุธยา ปี 2560
การส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ ปี 2560
โครงการพัฒนาเกษตรอินทรีย์
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
กลุ่มส่งเสริมอาชีพการเกษตร
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
ระบบส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่
รายงานผลการปฏิบัติงาน ประจำปีงบประมาณ 2560 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดลำพูน
การเปลี่ยนแปลง สู่การเกษตรยุคใหม่ที่ยั่งยืน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การบูรณาการและการบริหาร โครงการส่งเสริมการเกษตรในรูปแบบแปลงใหญ่ การบูรณาการและการบริหาร โครงการส่งเสริมการเกษตรในรูปแบบแปลงใหญ่ นายดำรงค์ชัย มีช้าง ผอ.กลุ่มวิชาการส่งเสริมการเกษตร สำนักงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรที่ 9 จังหวัดพิษณุโลก

พื้นที่ MRCF (นโยบายกรม 57) MRCF - Zoning - ศูนย์เรียนรู้ - แปลงใหญ่ พื้นที่ MRCF (นโยบายกรม 57) ส่งเสริมการผลิตที่เหมาะสมกับพื้นที่ ส่งเสริมการผลิตรูปแบบแปลงใหญ่ ต่อยอด (โครงการ Zoning ปี 2558) - รวมพื้นที่การผลิต - ผู้จัดการ วิธีการทำงานร่วมกัน - จนท. - จนท. - จนท. - เกษตรกร - เกษตรกร – เกษตรกร - รวมงาน/โครงการลงในพื้นที่ ส่งเสริมและพัฒนาศูนย์เรียนรู้ฯ

ศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพ การผลิตสินค้าเกษตร (MRCF) เขต 9 จำนวน 93 ศูนย์ฯ

การส่งเสริมการเกษตรรูปแบบแปลงใหญ่ 9 จังหวัด 28 จุด 4 พืช ศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตร 93 ศูนย์ฯ การส่งเสริมการเกษตรรูปแบบแปลงใหญ่ 9 จังหวัด 28 จุด 4 พืช จังหวัด ข้าว มันสำปะหลัง มะม่วง ผัก กำแพงเพชร 1 2 - ตาก นครสวรรค์ 4 พิจิตร พิษณุโลก 3 เพชรบูรณ์ สุโขทัย อุทัยธานี อุตรดิตถ์

กลไกการขับเคลื่อนการดำเนินงาน กำหนดแนวทางและกรอบการดำเนินงาน คณะกก.ระดับกระทรวง จำแนกและคัดเลือกพื้นที่ /ชนิดสินค้า คัดเลือกผู้จัดการแปลงการเกษตรในพื้นที่ ติดตามประเมินผล คณะอนุฯกก.ระดับจังหวัด คัดเลือกและรวมกลุ่มเกษตรกรในพื้นที่ ชี้แจงทำความเข้าใจแนวทางการดำเนินงาน กำหนดเป้าหมายการพัฒนา/แผนปฏิบัติงาน ดำเนินการให้มีการผลิตตามแผนปฏิบัติการ รวมทั้งการจัดการด้านการตลาด ผจก./ผชก.พื้นที่ 6

ศบกต.,อกม,เกษตรกรต้นแบบ,เกษตรกรแกนนำ ทำไมต้องแปลงใหญ่ ? ทำแปลงใหญ่แล้วได้อะไร ? ระบบ เกษตรกรต่างคนต่างทำ เกษตรกรไม่มีตลาดรับซื้อแน่นอน เกษตรกรขาดอำนาจต่อรองทุกอย่าง ต้นทุนการผลิตสูง เกษตรกรมีรายได้ไม่เหมาะสม ส่วนราชการต่างคนต่างส่งเสริม การส่งเสริมการเกษตร ภาครัฐมีการบูรณาการทำงานร่วมกัน มีเป้าหมายการพัฒนาชัดเจน เพิ่มปริมาณการผลิต/คุณภาพตามความต้องการของตลาด มีการลดต้นทุน/เพิ่มรายได้/อำนาจต่อรอง เกษตรกรมีรายได้เพิ่มขึ้น แปลงใหญ่ ข้าว มันสำปะหลัง ไม้ผล พืชผัก สินค้าอื่นๆ วิเคราะห์พื้นที่ คัดเลือกพื้นที่ ดำเนินการผลิต รวบรวมผลผลิต จำหน่ายผลผลิต ประเมินผล -ศักยภาพพื้นที่ -ศักยภาพสินค้า -ศักยภาพเกษตรกร -วิเคราะห์ชุมชน -กำหนดจุดดำเนินการ -กำหนดเป้าหมาย -แนวทางการพัฒนา -แผนการผลิต/ตลาด -บูรณาการหน่วยงาน -เกษตรกรมีส่วนร่วม -ดำเนินการตามแผน -ดำเนินการรูปกลุ่ม -รวมกลุ่ม/สหกรณ์ -รวบรวม/แปรรูป -สร้างตราสินค้า -เพิ่มมูลค่าผลผลิต -ตลาดข้อตกลงฯ -จำหน่าย/ส่งออกเอง -ตลาดเกษตรกร -สหกรณ์การเกษตร -ก่อนดำเนินการ -ระหว่างดำเนินการ -หลังดำเนินการ *ปรับปรุง/พัฒนาต่อ ศบกต.,อกม,เกษตรกรต้นแบบ,เกษตรกรแกนนำ ผู้จัดการพื้นที่

ที่ต้องการให้เกิดขึ้น (Road map) วิเคราะห์แปลงใหญ่ เวทีส่วนที่1 แปลงใหญ่ ปี 58 ผลสำเร็จ/ทิศทาง ที่ต้องการให้เกิดขึ้น (Road map) วิเคราะห์แปลงใหญ่ ก้าวหน้าแค่ไหน/ปัญหาอะไร แนวทางการพัฒนา ปี 59 โครงการ กสก. จัดทำแผนพัฒนา ปี 59 (แผนปฏิบัติงาน) โครงการอื่น ๆ เวทีส่วนที่2 ขับเคลื่อน เวทีส่วนที่3 เกิดผลสำเร็จตามเป้าหมายปี 59

การบูรณาการโครงการ/กิจกรรมลงในพื้นที่ดำเนินการ โครงการ/กิจกรรมหน่วยงานอื่นๆ โครงการ/กิจกรรม ที่มุ่งเน้นการพัฒนา การผลิตสินค้าเกษตร โครงการ/กิจกรรม ที่มุ่งเน้นการพัฒนาเกษตรกร/องค์กร พื้นที่ดำเนินการ แปลงใหญ่ โครงการ/กิจกรรมที่มุ่งเน้นการพัฒนา เชิงพื้นที่

กระบวนการพัฒนา Smart Farmer ในแปลงใหญ่ ผู้จัดการพื้นที่ จนท. core team ระดับจังหวัด จัดประชุมร่วมกันกับภาคีเครือข่ายที่เกี่ยวข้อง จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ผจก. พื้นที่และกลุ่มเกษตรกร วิเคราะห์ศักยภาพ จัดทำแผนรายบุคคล (รายแปลง) ประเมินศักยภาพหลังจากการพัฒนา บูรณาการร่วมกัน ระหว่าง โครงการ Smart Farmer และ แปลงใหญ่ แปลงใหญ่ เป้าหมายชุมชน กวพ. กพก. กอป. สสจ. กพวศ. กผง. กสว. ฯลฯ F F วิเคราะห์ศักยภาพ จัดทำแผนรายบุคคล (รายแปลง) แลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่าง ผจก. กับ เกษตรกร พัฒนาเกษตรกร ประเมินศักยภาพหลังจากการพัฒนา สรุปผลและรายงานผลการดำเนินงาน กลุ่มเกษตรกร F F การบริหารจัดการ กวพ. กพก. สัมมนาสร้างความเข้าใจ อบรม ผจก. และ ผช.ผจก. พื้นที่ จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ระหว่าง ผจก. พื้นที่ สัมมนาเชิงปฏิบัติการ จนท. core team ระดับเขต สัมมนาเชิงปฏิบัติการ จนท. core team ระดับจังหวัด ติดตาม นิเทศงาน ประเมินผล สัมมนาสรุปผล รายงานผลการดำเนินงาน กวพ./กพก. 7 ตค.58

โครงการที่บูรณาการกับแปลงใหญ่ 1. โครงการพัฒนาเกษตรกรปราดเปรื่อง 2. โครงการพัฒนาศักยภาพของภาคเกษตรเพื่อเข้า สู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน 3. โครงการส่งเสริมการใช้เครื่องจักรกลการเกษตรทดแทน แรงงานเกษตร 4. โครงการพัฒนาคุณภาพสินค้าเกษตรสู่มาตรฐาน GAP และเกษตรอินทรีย์ (9 จังหวัด)

โครงการที่บูรณาการกับแปลงใหญ่ (ต่อ) 5. โครงการส่งเสริมการใช้ปุ๋ยเพื่อลดต้นทุนการผลิต 6. โครงการลดความเสี่ยงเกษตรกรจากการระบาดศัตรูพืช 7. โครงการเสริมสร้างและพัฒนาศักยภาพองค์กรเกษตรกร 8. ศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตร ทั้งนี้ยังมีหลายโครงการที่สามารถบูรณาการได้ ขอให้ผู้จัดการพิจารณา