ศูนย์อนามัยที่ 8 อุดรธานี

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
พัฒนาระบบบริหารจัดการน้ำเพื่อการเกษตร(บูรณาการกระทรวง)
Advertisements

ประเด็นในการพัฒนา DHS-PCA
นักวิชาการสาธารณสุข ๙ ชช ศูนย์อนามัยที่ ๑๐ ชึชียงใหม่
ภาคีรวมใจคนไทยไร้พุง จ.ลพบุรี Lopburi’s Slimming Academy
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
ผู้รับผิดชอบ ผลผลิต ฝ่ายบริหารทั่วไป
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
การส่งเสริมศักยภาพ การคุ้มครอง พิทักษ์สิทธิประชาชนในแต่ละ กลุ่มเป้าหมาย โดยการกำหนด มาตรการ กลไก ส่งเสริมสนับสนุน ภาครัฐและเอกชนในการดำเนินการ ตามนโยบายและมาตรการที่กำหนด.
ยุทธศาสตร์ลดปัจจัยเสี่ยง ในเด็กวัยเรียนและวัยรุ่น ปี 2551
เป็นเจ้าภาพหลัก 2 ประเด็น เพื่อเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ปี 2558
การบูรณาการยุทธศาสตร์สุขภาพฯ กลุ่มเด็กวัยเรียน มาตรการ เป้าหมาย วิธีการวัด เป้าหมาย/KPI 1.นโยบายร่วมระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง แผนพัฒนาสุขภาพเด็กวัยเรียนแห่งชาติ/วาระสุขภาพแห่งชาติ
ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบบริหารจัดการเพื่อสนับสนุนการจัดบริการสุขภาพ
การบูรณาการยุทธศาสตร์สุขภาพ ด้านพัฒนาระบบการคุ้มครองผู้บริโภค
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
ของเทศบาลตำบลหนองไผ่ อ.เมือง จ.อุดรธานี
การประชุมแนวทางการพัฒนา กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น ปี 2556 วันที่ 30 มกราคม 2556 เวลา น. ณ ห้องประชุมสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เขต.
สำนักโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข.
การปฐมนิเทศ ข้าราชการใหม่ “ หลักสูตรการเป็น ข้าราชการที่ดี ” เขตสุขภาพที่ 2 ประจำปีงบประมาณ พ. ศ ประจำปีงบประมาณ พ. ศ CHRO ณ 26 พค
ข้อมูลทั่วไป จังหวัดศสม.รพสต.กองทุน สุขภาพตำบล สุขศาลา/ ศสมช. (ผ่าน3หมวด) อสม. ร้อยเอ็ด ,887 ขอนแก่น ,600 มหาสารคาม ,524.
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จของการรายงานข้อมูลให้มีความ ครอบคลุม ถูกต้อง และทันสมัย ปีงบประมาณ กองแผนงาน -
โครงการ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ “ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี เนื่องในโอกาสฉลองพระชนมายุ
การขับเคลื่อนงานสุขภาพจิต วัยทำงาน ประจำปี 2559 โดย โรงพยาบาลจิตเวชนครสวรรค์ราช นครินทร์
เยี่ยมเสริมพลัง การจัดการความรู้ วันที่ 14 ก. ย
ชมรมจริยธรรมศูนย์ฯ๗.
ความเป็นมา การส่งเสริมกระบวนการแผนชุมชน
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ(PMQA)
โครงการ เรื่องเพศคุยได้ในครอบครัว
สายส่งเสริมตามกลุ่มวัยและประเด็น
100 ตำบลต้นแบบในการบูรณาการ ด้านส่งเสริมสุขภาพ 5 กลุ่มวัย และอนามัยสิ่งแวดล้อม โดย กรมอนามัย.
แนวทางการปฏิบัติงานตามข้อสั่งการ ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
ยุทธศาสตร์ ที่ 2 Service Excellence (ยุทธศาสตร์ด้านบริการเป็นเลิศ)
กลุ่มเป้าหมาย สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด 76 จังหวัด ค่าเป้าหมาย
สรุปแนวทางการดำเนินงานตามกลุ่มวัย
ตัวชี้วัดที่ 1 : อัตราส่วนการตายมารดาไทย ค่าเป้าหมายไม่เกิน 20 ต่อการเกิดมีชีพแสนราย เปรียบเทียบอัตราส่วนการตายมารดารายเขต ปี 2560 กับ 2561ในช่วงเวลาเดียวกัน.
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
การประเมินผลสัมฤทธิ์ของโครงการ
การติดตามผลการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๐
การขับเคลื่อนตำบลจัดการสุขภาพ แบบบูรณาการ เขตสุขภาพที่ 6
ระเบียบวาระที่ 3 เรื่องเพื่อทราบ
วันที่ ๒๔-๒๕ สิงหาคม ๒๕๕๙ ณ โรงแรมพูลแมน จังหวัดขอนแก่น
(ปัจจุบันไม่มียอดค้างชำระ)
เป้าหมายจังหวัด TO BE NUMBER ONE
โครงการกำจัดปัญหาโรคพยาธิใบไม้ตับและมะเร็งท่อน้ำดี ถวายเป็นพระราชกุศลฯ
สำหรับศูนย์อนามัยที่ 1, 3, 6, 10, 11, 12
เพื่อการขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ทศวรรษ
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
รพ.สต.สายใยรัก อำเภอสัตหีบ
แนวทางการดำเนินงานตามตัวชี้วัด 1
เครือข่ายความร่วมมือ เพื่อการพัฒนาห้องสมุดและ แหล่งเรียนรู้
พัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย (9 ตัว) กลุ่มเด็กปฐมวัย (๐-๕ ปี)/สตรี 1.อัตราส่วนการตายของมารดาไม่เกิน15ต่อการเกิดมีชีพแสนคน 2.ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย.
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 25 รพ.สต.ผ่านเกณฑ์พัฒนาคุณภาพ รพ.สต.ติดดาว
การเสียชีวิตจากการบาดเจ็บ
กำหนดการประชุมเชิงปฏิบัติการ
แผนงาน การพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ
แผนงานการพัฒนาองค์กรคุณภาพ
ความก้าวหน้าในการดำเนินงาน Product Champion Cluster วัยรุ่น
ทพญ.อัมพร เดชพิทักษ์ กลุ่มงานทันตสาธารณสุข
สรุปผลการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข เขตสุขภาพที่ 6 จังหวัดตราด
ข้อมูลการป้องกัน การถ่ายทอดเชื้อเอชไอวีจากแม่สู่ลูก (PMTCT)
ความปลอดภัยด้านอาหารและน้ำ
อัตราส่วนการตายมารดาไทย
การดำเนินงานเขตเศรษฐกิจพิเศษและแรงงานต่างด้าว
โครงการพัฒนารูปแบบการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน : ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง.
โครงการพัฒนาเกษตรอินทรีย์
สรุปภาพรวมผลการดำเนินงาน
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
จังหวัดไร้พุงมุ่งสู่สุขภาพดี ปี 54
โครงการส่งเสริมการบริหารจัดการการเงินชุมชน
จุฑารัตน์ สะธรรมกิจ ศูนย์อนามัยที่ 5 ราชบุรี
สรุปผลการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข เขตสุขภาพที่ 9 จังหวัดบุรีรัมย์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ศูนย์อนามัยที่ 8 อุดรธานี อนามัยวัยรุ่น ศูนย์อนามัยที่ 8 อุดรธานี

แผนงานโครงการ ปีงบประมาณ 2561 แผนงานโครงการ ปีงบประมาณ 2561 (งานอนามัยวัยรุ่น) กิจกรรมการอบรมเชิงปฏิบัติการ พัฒนาศักยภาพพ่อแม่ ผู้ปกครอง เรื่องเพศคุยได้ในครอบครัว 1 กิจกรรมอบรมพัฒนาศักยภาพแกนนำวัยรุ่นต้นแบบด้านสุขภาพในชุมชน เสริมสร้างความรอบรู้การส่งเสริมสุขภาพ SMART YOUTH 2 โครงการสร้างการมีส่วนร่วม พัฒนาภาคีเครือข่าย วัยอนามัยการเจริญพันธุ์ วัยรุ่นและเยาวชน และส่งเสริมการจัดบริการที่เป็นมิตร ปีงบประมาณ 2561 กิจกรรมการดำเนินงานขับเคลื่อน พรบ.การป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น พ.ศ.2559 3 4 กิจกรรมรณรงค์สาวไทยแก้มแดงร่วมกับกิจกรรมมหัศจรรย์ 1000 วันแรกของชีวิต กิจกรรมเยี่ยมเสริมพลังประเมินรับรองโรงพยาบาลและภาคีเครือข่ายตามมาตรฐาน YFHS และอำเภออนามัยการเจริญพันธุ์ 5 กิจกรรมสนับสนุนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีส่วนร่วมขับเคลื่อนการป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นแบบบูรณาการ 6

กิจกรรมโครงการ ปีงบประมาณ 2561 กิจกรรมโครงการ ปีงบประมาณ 2561 (งานอนามัยวัยรุ่น) 1 กิจกรรมการอบรมเชิงปฏิบัติการ พัฒนาศักยภาพพ่อแม่ ผู้ปกครอง เรื่องเพศคุยได้ในครอบครัว 2 กิจกรรมอบรมพัฒนาศักยภาพแกนนำวัยรุ่นต้นแบบด้านสุขภาพในชุมชน เสริมสร้างความรอบรู้การส่งเสริมสุขภาพ SMART YOUTH ดำเนินการในพื้นที่นำร่องจำนวน 3 รุ่นจังหวัด จังหวัดหนองบัวลำภู จังหวัดนครพนม และจังหวัดบึงกาฬ รวม 160 คน ดำเนินการในพื้นที่นำร่องจำนวน 2 จังหวัด จังหวัดหนองบัวลำภู และจังหวัดบึงกาฬ รวม 167 คน N E S S S T SMART YOUTH

กิจกรรมโครงการ ปีงบประมาณ 2561 กิจกรรมโครงการ ปีงบประมาณ 2561 (งานอนามัยวัยรุ่น) 3 กิจกรรมการดำเนินงานขับเคลื่อน พรบ.การป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น พ.ศ.2559

กิจกรรมโครงการ ปีงบประมาณ 2561 กิจกรรมโครงการ ปีงบประมาณ 2561 (งานอนามัยวัยรุ่น) 4 กิจกรรมรณรงค์สาวไทยแก้มแดงร่วมกับมหกรรมมหัศจรรย์ 1000 วันแรกของชีวิต 5 กิจกรรมเยี่ยมเสริมพลังประเมินรับรองโรงพยาบาลและภาคีเครือข่ายตามมาตรฐาน YFHS และอำเภออนามัยการเจริญพันธุ์ รณรงค์สาวไทยแก้มแดงร่วมกับงานอนามัยแม่และเด็ก จัดมหกรรมมหัศจรรย์ 1000 วันแรกของชีวิต ปี 2561 ขับเคลื่อน อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์ และ YFHS เพิ่ม 2 อำเภอ ได้แก่ อำเภอวังยาง จังหวัดนครพนม และ อําเภอประจักษ์ศิลปาคม จังหวัดอุดรธานี

กิจกรรมโครงการ ปีงบประมาณ 2561 กิจกรรมโครงการ ปีงบประมาณ 2561 (งานอนามัยวัยรุ่น) 6 กิจกรรมสนับสนุนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีส่วนร่วมขับเคลื่อนการป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นแบบบูรณาการ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในเขตสุขภาพที่ 8 ร่วมสมัครเป็นแหล่งเรียนรู้การดำเนินงานการป้องการและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นระดับท้องถิ่น จำนวน 80 แห่ง

(อนามัยการเจริญพันธุ์) ผลการดำเนินงานวัยรุ่น ปี 2561 (อนามัยการเจริญพันธุ์) เขตสุขภาพที่ 8 100% 1.07 : 1000 อัตราการคลอดในวัยรุ่นหญิงอายุ 10-14 ปี ที่มา : Health data center (ไตรมาส 3 ปี 2561) จังหวัดในเขตสุขภาพ ดำเนินงานขับเคลื่อน พรบ.การป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น 96.55% อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์ 34.94 : 1000 อัตราการคลอดในวัยรุ่นหญิงอายุ 15-19 ปี ที่มา : Health data center (ไตรมาส 3 ปี 2561) 90.91% 3 รุ่น 167 คน คลินิก YFHS SMART YOUTH 160 ครอบครัว 14.94 % อัตราการคลอดซ้ำในหญิงวัยรุ่นอายุต่ำกว่า20ปี ที่มา : Health data center (ไตรมาส 3 ปี 2561) เรื่องเพศคุยได้ในครอบครัว 4 แห่ง แหล่งเรียนรู้ การป้องการและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นระดับท้องถิ่น

ปัจจัยแห่งความสำเร็จ ความท้าทาย - ปัญหาอุปสรรค ผลการดำเนินงานวัยรุ่น ปี 2561 ปัจจัยแห่งความสำเร็จ 1 ปัจจัยเชิงนโยบาย การมีกฎหมาย และตัวชี้วัดระดับกระทรวง กรม ที่ถ่ายทอดมาสู่ระดับเขต จังหวัดที่ชัดเจน 2 มีกระบวนการทำงานอย่างเป็นระบบร่วมกับภาคีเครือข่ายอย่างอย่างต่อเนื่อง 3 การสร้างความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างภาคีเครือข่าย และสนับสนุนการทำงานร่วมกันอย่างไร้รอยต่อ ความท้าทาย - ปัญหาอุปสรรค ปัญหาในการดำเนินงานมีความแตกต่างและหลากหลายในแต่ละจังหวัด การจัดการข้อมูลที่จำเป็นต่อการวิเคราะห์ปัญหายังไม่ครอบคลุม การพัฒนาศักยภาพของบุคลากรในกลุ่มอนามัยวัยรุ่น เพื่อให้เป็นที่ยอมรับของภาคีเครือข่าย (ปัจจัยแห่งความสำเร็จ และความท้าทาย-ปัญหาอุปสรรค)

โครงการสร้างการมีส่วนร่วม พัฒนาภาคี เครือข่าย วัยอนามัยการเจริญพันธุ์ วัยรุ่นและ เยาวชน และส่งเสริมการจัดบริการที่เป็นมิตร ปีงบประมาณ 2562 (งบประมาณ 754,210 บาท) กิจกรรมดำเนินการ เป้าหมาย งบประมาณ 1. เยี่ยมเสริมพลังและประเมินรับรองตามมาตรฐาน อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์ และ YFHS อำเภอที่ยังไม่ผ่าน(3อำเภอ) 6,540 2. คัดเลือกแหล่งเรียนรู้ การดำเนินงานป้องกัน และแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นระดับท้องถิ่น เขตสุขภาพที่ 8 สสจ.7 แห่งๆละ 1 คน, อปท.ที่ผ่านการคัดเลือก 7 แห่งๆละ 1 คน, วิทยากร 4 คน, ผู้จัดประชุม 5 คน รวมทั้งสิ้น 23 คน 50,420 3. ประชุมเชิงปฏิบัติการ แลกเปลี่ยนเรียนรู้การ ดำเนินงานการป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นระดับท้องถิ่น เขตสุขภาพที่ 8 สสจ. 7 แห่งๆ ละ 1 คน รวม 7 คน, รพ. 44 แห่งๆ ละ 1 คน รวม 44 คน, รร. 44 แห่งๆ ละ 1 คน รวม 44 คน, อปท. 87 แห่งๆละ 1 คน รวม 87 คน, วิทยากรบรรยาย 2 คน, วิทยากรกลุ่ม DHA และ YFHS 5 คน, วิทยากรกลุ่ม อปท. 5 คน, ผู้จัด 10 คน รวม 204 คน 299,580 4. จัดประชุมคณะอนุกรรมการป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นระดับจังหวัด คณะอนุกรรมการระดับจังหวัดๆ ละ 23 คน จัดประชุม 2 ครั้ง/ปี/จังหวัด รวม 14 ครั้ง 80,180 5.ประชุมเชิงปฏิบัติการเฝ้าระวังการตั้งครรภ์ซ้ำในวัยรุ่น สสจ แห่งละ 1 คน รวม 7 คน, รพ. (นำร่อง) แห่งละ 1 คน 7 แห่ง, สสอ. (นำร่อง) แห่งละ 1 คน 7 แห่ง, รพ.สต. (นำร่อง) แห่งละ 1 คน 7 แห่ง, วิทยากร 3 คน, คณะผู้จัดการประชุม 8 รวม 39 คน 76,940

จบการนำเสนอ “ขอบคุณครับ”

ใบงานที่ 1 แผนกิจกรรมโครงการ ปี 2562 โครงการส่งเสริมสุขภาพอนามัยวัยรุ่น ศูนย์อนามัยที่ 8 อุดรธานี ปีงบประมาณ 2562 กิจกรรม งบประมาณ ความสอดคล้องกับโครงการสำคัญ/ตัวชี้วัด/Key activity หน่วยงานที่รับผิดชอบ 1. เยี่ยมเสริมพลังและประเมินรับรองตามมาตรฐาน อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์ และ YFHS 6,540 3 อำเภอ สสจ.อุดรธานี, ศอ8 2. คัดเลือกแหล่งเรียนรู้ การดำเนินงานป้องกัน และแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นระดับท้องถิ่น เขตสุขภาพที่ 8 50,420 7 แหล่งเรียนรู้ สสจ. 7 จังหวัด, ศอ8 3. ประชุมเชิงปฏิบัติการ แลกเปลี่ยนเรียนรู้การ ดำเนินงานการป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นระดับท้องถิ่น เขตสุขภาพที่ 8 299,580 204 คน 4. จัดประชุมคณะอนุกรรมการป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นระดับจังหวัด 80,180 14 ครั้ง 5.ประชุมเชิงปฏิบัติการเฝ้าระวังการตั้งครรภ์ซ้ำในวัยรุ่น 76,940 39 คน สสจ. 7 จังหวัด, สสอ 7 แห่ง(นำร่อง), รพ.สต. 7 แห่ง(นำร่อง), ศอ8