เสนอขอรับทุนท้าทายไทยและโครงการวิจัยตอบสนองนโยบาย

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การจัดการตลาด ความหมายการจัดการตลาด กระบวนการการจัดการตลาด
Advertisements

Being Excellent the whole Value Chain
ระบบการส่งเสริมการเกษตรแปลงใหญ่ ปี 2558 ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้เกิดความร่วมมือในการผลิตโดยเกษตรกร และ / หรือองค์กรเกษตรกรในพื้นที่และกิจกรรม.
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษา เขต คัดเลือกโรงเรียนนำร่องรุ่นที่ 1 จำนวน ร้อยละ 10 ของโรงเรียนในสังกัด (43 โรงเรียน ) จำนวน 4 โรงเรียน -
1 การวิเคราะห์ข้อมูล เขตพัฒนาเศรษฐกิจ พิเศษนครพนม.
Strategy Map วิสัยทัศน์ : “เป็นองค์การที่เป็นเลิศในการบริหารจัดการและคุ้มครองสิทธิการถือครองที่ดินของรัฐและประชาชน มุ่งเน้นการให้บริการโดยบริหารจัดการที่ดี
การบริหารงานพัสดุภายใต้ พ. ร. บ
ส่วนประสมการตลาด ( Marketing Mix )
หน่วยงานที่ 2 บัณฑิตวิทยาลัย เวลา น. Process Key factor คำถาม (1) มีแนวทางและวิธีการอย่างไรในการส่งมอบผลิตภัณฑ์หลักและ/หรือ บริการหลักที่เราส่งมอบให้กับลูกค้าของเรา.
หนองบัวลำภู นายทรงเดช ทิพย์โยธา -ว่าง- นายเฉลิมชัย เรืองนนท์
หลักการและแนวคิดเกี่ยวกับ การจัดการกระบวนการ
Value Chain and Supply Chain ห่วงโซ่คุณค่า และห่วงโซ่อุปทาน
กรณีตัวอย่าง : ส้มโอแปลงใหญ่ประชารัฐ อำเภออัมพวา จังหวัดสมุทรสงคราม
พัฒนาระดับภาค ๖ ภาค การจัดทำแผน ปีงบประมาณ ๒๕๖๑
รวบรวมข้อมูลโดย กลุ่มแผนงานงบประมาณอุดมศึกษา สำนักนโยบายและแผนการอุดมศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา.
การวิเคราะห์ข้อมูล การท่องเที่ยว เพื่อทบทวนยุทธศาสตร์จังหวัด
แนวทางการจัดทำแผนงบประมาณ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562
การเบิก-จ่ายเงินอย่างมืออาชีพ
การส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ ปี 2560
กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการปศุสัตว์ ตัวชี้วัดปศุสัตว์อำเภอ รอบที่ 1/61
ความหมายของความสัมพันธ์ (Relation)
ประชุมคณะอนุกรรมการพัฒนาการเกษตร และสหกรณ์ระดับจังหวัด ครั้งที่ 5/2561 วันอังคารที่ 11 กันยายน 2561 เวลา – น. ณ ห้องประชุมสุพรรณิการ์ ศาลากลางจังหวัดอุทัยธานี
ลูกรัก เก่ง ฉลาด ด้วย 3 ดี
4.1 งานนโยบายรัฐบาล ปีงบประมาณ 2560 เดือน สิงหาคม 2560
สถาบันพัฒนาบุคลากรด้านการพัฒนาเมือง
แนวทางการดำเนินงานเสริมสร้างและพัฒนาศักยภาพองค์กรเกษตรกร ปี 2559
แผนขับเคลื่อนการดำเนินงานส่งเสริมการเกษตร ประจำปีงบประมาณ 2561
วันศุกร์ที่ 22 มกราคม 2559 เวลา น.
คำขวัญอำเภอเมืองเชียงใหม่
โครงการพัฒนาฝีมือให้แก่กลุ่มวิสาหกิจชุมชน และผู้มีรายได้น้อย
สงขลา นายไมตรี สรรพสิน นางฐาปณี รสสุคนธ์ นายพิชัย อุทัยเชฏฐ์
สำนักงานตรวจบัญชีสหกรณ์ที่ 3
วิธีการเขียน Business Model Canvas
สถาบันพัฒนาบุคลากรด้านการพัฒนาเมือง
ลงพื้นที่ตรวจราชการจังหวัดสุโขทัย รอบที่ ๒/๒๕๖๑
สิงหาคม 2558.
กรอบแนวทางในการจัดทำงบประมาณ แผนยุทธศาสตร์แบบบูรณาการ
ชื่อ –สกุล นายอนุพันธ์ วุธประดิษฐ์ ตำแหน่ง ผช.หัวหน้าหน่วย (พพธ.7)
กระบวนการวางแผนพัฒนาจังหวัดและการจัดทำคำของบประมาณ
เพื่อทบทวนยุทธศาสตร์จังหวัด
บทบาทใหม่ของการบริหารทรัพยากรบุคคล
กลยุทธ์ด้านทรัพยากรมนุษย์และการฝึกอบรม
การวางแผนพัฒนาจังหวัด และกลุ่มจังหวัดแบบบูรณาการ
การจัดทำแผนพัฒนาจังหวัด
สาขาการพัฒนาเครือข่าย สุขภาพอำเภอและบริการปฐมภูมิ เขตสุขภาพที่ 2
แนวทางการปรับปรุงการทำงาน ด้านการส่งเสริมการผลิตข้าว ปีงบประมาณ 2561
โดย นพ.วชิระ เพ็งจันทร์
อุบลราชธานี นายนิวัตร ชูสมุทร นายชัยศักดิ์ ปิยะประสิทธิ์
สำนักงานสหกรณ์จังหวัดนครนายก
การวิเคราะห์ข้อมูล การท่องเที่ยว เพื่อทบทวนยุทธศาสตร์จังหวัด
แผนที่ 4. การบริหารจัดการสิ่งแวดล้อม
แนวคิดหลัก 1. Systematic 2. Sustainable 3. Measurable
สำนักงานเกษตรอำเภอเมืองสมุทรสงคราม
(Rice Analysis) จังหวัดอุทัยธานี การวิเคราะห์ข้อมูลเรื่องข้าว
การวิจัย “อนาคตเด็กไทยที่พึงประสงค์”
บทที่ 14 ระบบสารสนเทศ กับการเปลี่ยนแปลงองค์การ
การวิเคราะห์ข้อมูล เขตเศรษฐกิจพิเศษ เพื่อทบทวนยุทธศาสตร์จังหวัด
GREEN & CLEAN Hospital ประชุมชี้แจงรายละเอียดตัวชี้วัด (KPI Template)
หลักการตลาด Principles of Marketing
ประเด็นการขับเคลื่อนองค์การไปสู่ระบบราชการ 4.0
ทิศทางการพัฒนาระบบบริการสุขภาพ
วิทยาลัยโลจิสติกส์และซัพพลายเชน College of Logistics and Supply Chain
การจัดการทรัพยากรมนุษย์ เชิงกลยุทธ์
เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษหนองคาย
กลุ่มจัดตั้งและส่งเสริมสหกรณ์
แผนพัฒนาการเกษตรตำบลคำพราน ปีงบประมาณ 2560 พื้นที่เพาะปลูกพืช เศรษฐกิจ
แปลงใหญ่ทั่วไป (ข้าว) ตำบลสองห้อง อำเภอบ้านแพรก จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
แปลงใหญ่ทั่วไป ข้าว ตำบลหันสัง อ.บางปะหัน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
ราชธานีเก่า อู่ข้าวอู่น้ำ เลิศล้ำกานต์กวี คนดีศรีอยุธยา
การจัดการทรัพยากรมนุษย์ เชิงกลยุทธ์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

กรอบงานวิจัย โครงการวิจัยและนวัตกรรมชุมชนเพื่อ ยกระดับเศรษฐกิจฐานราก กรณีศึกษาจังหวัดพระนครศรีอยุธยา เสนอขอรับทุนท้าทายไทยและโครงการวิจัยตอบสนองนโยบาย เป้าหมายรัฐบาลและตามระเบียบวาระของชาติ กลุ่มเรื่องนวักรรมเพื่อการพัฒนาพื้นที่ สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย รศ. กิตติ บุญเลิศนิรันดร์ รองอธิการบดี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ

ความเป็นมา ปี 2558-2560 มทร.สุวรรณภูมิได้รับทุน สกว. เพื่อปรับระบบการจัดการงานวิจัยเพื่อพัฒนาพื้นที่ พื้นที่ปฏิบัติการหลัก ต.ทับน้ำ อ.บางปะหัน ต.สามเรือน อ.บางปะอิน จ.พระนครศรีอยุธยา ต. วังยาง อ.ศรีประจันต์ จ.สุพรรณบุรี ต. เกาะเกร็ด อ.ปากเกร็ด จ. นนทบุรี

การนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์ ตำบลทับน้ำ อ.บางปะหัน จ.อยุธยา การบริหารจัดการน้ำในชุมชน การลดต้นทุนและเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตและเข้าสู่มาตรฐาน GAP วิเคราะห์ value chain มันเทศ พัฒนาผลิตภัณฑ์ที่มีเอกลักษณ์ในชุมชน ยกระดับการแปรรูปผลผลิตที่ได้มาตรฐาน และความเป็นผู้ประกอบการ

การนำผลงานวิจัยไปใช้ประโยชน์ ตำบลสามเรือน อ.บางปะอิน จ.อยุธยา สิ่งแวดล้อมชุมชน การจัดการ คุณภาพน้ำคลองโพธิ์ การสร้างมูลค่าจากเห็ดตับเต่าและ ยกระดับสู่มาตรฐาน การเชื่อมโยงสู่การท่องเที่ยวเชิง นิเวศ

การนำผลงานวิจัยไปใช้ประโยชน์ ตำบลบ้านเกาะ อ./จ.อยุธยา แปรรูปผลผลิตเพื่อลดความเสี่ยง พันธุ์ข้าวโพดเทียน “อยุธยา 60” และเทคโนโลยีการผลิต สร้าเกษตรกรต้นแบบและเครือข่ายเกษตรกร

ข้อเรียนรู้สำคัญ ชุมชนมีศักยภาพ และมีฐานทรัพยากรที่สร้างมูลค่าได้ ด้วยความรู้ เทคโนโลยีที่เหมาะสม การพัฒนามีหน่วยงานเกี่ยวข้องหลายภาคส่วน กลไกขับเคลื่อนที่สำคัญ คือ อบต. / ผู้นำชุมชน การยกระดับการผลิตสู่มาตรฐาน ต้องจัดการทั้งระบบตลอดสายโซ่ โดยใช้ตลาด (ผู้บริโภค) นำการผลิต การวัดความสำเร็จของงานวิจัย วัดที่การเปลี่ยนแปลงของพื้นที่ มหาวิทยาลัยต้องทำงานร่วมกับภาคีเครือข่าย การยกระดับการทำงานตอบโจทย์สำคัญของจังหวัด ต้องพัฒนากลไก การทำงานร่วมกันแบบบูรณาการ

กรอบการสนับสนุนทุนวิจัยต่อเนื่อง โจทย์สำคัญระดับจังหวัด ในมิติเศรษฐกิจและอาชีพ การ จัดการทรัพยากรสิ่งแวดล้อมที่เชื่อมโยงกับเศรษฐกิจและ อาชีพ เกษตรและอาหารปลอดภัย การท่องเที่ยวชุมชน แผนพัฒนาระบบฐานข้อมูลเพื่อการพัฒนาจังหวัดในมิติ เศรษฐกิจและอาชีพ ฐานข้อมูล แสดงสารสนเทศด้านการเกษตร

Value Chain กระบวนการผลิต การแปรรูป ขนส่ง การพัฒนาเกษตรปลอดภัยจังหวัดพระนครศรีอยุธยา เกษตรเคมี Value Chain Niche Market เกษตรปลอดภัย Mass Market เกษตรอินทรีย์ Local Market กระบวนการผลิต การแปรรูป ขนส่ง การตลาด ทุนความรู้ในการสร้างทางเลือกภาคเกษตรจังหวัดพระนครศรีอยุธยา Node CBR มทร.สุวรรณภูมิ สภาเกษตรกรจังหวัด การจัดการน้ำระดับพื้นที่ การปรับกระบวนการผลิต ลดต้นทุน เกษตรเคมี- กึ่งชีวภาพ- ชีวภาพ หาทางเลือกอื่น อาชีพเสริม การจัดการน้ำและอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม การปรับการผลิตสู่มาตรฐาน การแปรรูปเพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มและลดความเสี่ยง การท่องเที่ยว เชื่อมเครือข่ายเกษตรกรระดับพื้นที่ ต.บางชะนี อ.บางบาล ต.นาคู อ.ผักไห่ ต.หลักชัย อ.บางบาล ต.สามเรือน อ.บางปะอิน ต.ทับน้ำ อ.บางปะหัน ต.บ้านเกาะ อ.อยุธยา - เครือข่ายเกษตรกร 16 อำเภอ

กรอบแนวคิดการวิจัยเพื่อพัฒนาพื้นที่ เกษตรและอาหารปลอดภัย/ท่องเที่ยวชุมชน ท่องเที่ยวกระแสหลัก ท่องเที่ยวทางเลือก ความรู้ เกษตรอินทรีย์ เกษตร GAP เกษตรทั่วไป ความรู้ Niche market Premium market Mass market Local market ตลาด พื้นที่เรียนรู้ ผู้ผลิต + บริโภค ยกระดับมาตรฐานการผลิตเกษตรปลอดภัย การจัดการระบบผลิตและส่งมอบ การสร้างมูลค่าเพิ่ม และลดความเสี่ยง อาหารปลอดภัย ความมั่นคงอาชีพเกษตรกรรายย่อย ความรู้/นวัตกรรมเพื่อพัฒนา ผลิตภัณฑ์/กระบวนการ/การจัดการ ตลาดนำการผลิต ตลาดเป็นพื้นที่ปฏิบัติการโดยกระบวนการมีส่วนร่วม วางระบบ สร้างกลไก และจัดการเพื่อยกระดับการผลิตของเกษตรกร และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมผู้บริโภค

การขับเคลื่อนเกษตร อาหารปลอดภัย / ท่องเที่ยวจังหวัดพระนครศรีอยุธยา ความรู้ / การเรียนรู้ มหาวิทยาลัย เครือข่ายวิจัยท้องถิ่น สกว. การเคลื่อนไหวทางสังคม การมีส่วนร่วมของภาคีพัฒนาในพื้นที่ปฏิบัติการ สภาเกษตรกร / อปท นโยบาย งานตาม Function ของหน่วยงาน การสนับสนุนทรัพยากร

การขับเคลื่อนเกษตร อาหารปลอดภัย / ท่องเที่ยวจังหวัดพระนครศรีอยุธยา ชุมชนมีความสามารถในการแข่งขัน ที่สอดคล้องกับทุนทางสังคม และมีกลุ่มเครือข่ายที่เข้มแข็ง Strategic Partner “การบูรณาการ” การแก้ปัญหาโดยใช้พื้นที่เป็นตัวตั้ง - บุคลากร - ความรู้ ฐานข้อมูล ทรัพยากร ภาคราชการ มทร. สนับสนุนความรู้เชิงวิชาการ สังเคราะห์ความรู้ Node CBR : Community Bases Research สภาเกษตรกร สนับสนุนทุนการวิจัยเพื่อแก้ปัญหาชุมชน “Smart Community” พัฒนาคน สร้างความรู้ท้องถิ่น สร้างการเรียนการแก้ปัญหาโดยใช้ข้อมูลความรู้ / ปัญญา เพื่อสร้างการเปลี่ยนแปลง / แก้ปัญหาของชุมชน เชื่อมโยงเครือข่ายเกษตรกร ประสานหน่วยงานภาคีที่เกี่ยวข้อง ………….?

กรอบแนวคิดการวิจัยเพื่อพัฒนาพื้นที่ เกษตรและอาหารปลอดภัย/ท่องเที่ยว Stakeholder ประชารัฐ (ใคร ที่ไหน) ผู้บริโภค กลุ่มคนรักสุขภาพ/นักท่องเที่ยว สถานประกอบการ /อุตสาหกรรม เครือข่ายเกษตรกร/อปท. หน่วยงานพัฒนาและนโยบาย (ใครบ้าง) หน่วยงานจัดการและสังเคราะห์ความรู้ ชุมชน ต้นแบบ สามพรานโมเดล