Climate I อาจารย์สอง สุดหล่อ.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
บทที่ 5 การดำรงชีวิตของพืช
Advertisements

การคัดเลือกพื้นที่เพื่อการพัฒนาสถานบริการสาธารณสุข ในชายแดนชนบท
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ
1. นักเรียนศึกษาคำถามเพื่อศึกษาค้นคว้าตามประเด็น ต่อไปนี้ 1.1 อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุพบบริเวณใดของโลก 1.2. อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุมีความเจริญจากอดีตถึง.
รายงานประเทศอาเซียน จัดทำโดย
หน่วยที่ 4 เครื่องวัดไฟฟ้าชนิดขดลวดเคลื่อนที่
การจัดการศูนย์สารสนเทศ หน่วยที่ 10 “ ความร่วมมือในการบริการ สารสนเทศ ” อาจารย์ ดร. นฤมล รักษาสุข.
ภาวะ โลก ร้อน.  ภาวะโลกร้อน (Global Warming) หรือ ภาวะ ภูมิอากาศเปลี่ยนแปลง (Climate Change) เป็น ปัญหาใหญ่ของโลกเราในปัจจุบัน สังเกตได้จาก อุณหภูมิ
แหล่งน้ำธรรมชาติของโลก แหล่งน้ำในบรรยากาศ (Atmospheric Water) ได้แก่ สถานะไอน้ำ เช่น เมฆ หมอก สถานะของเหลว ได้แก่ ฝน และน้ำค้าง และสถานะของแข็ง ได้แก่
เครื่องมือทางภูมิศาสตร์ และการแบ่งเขตเวลาของโลก
การประชุมประจำเดือนครั้งที่ 5-6/2558
รายงานความก้าวหน้า การสนองพระราชดำริด้านงานวิจัย จัดทำโดย สถาบันสารสนเทศทรัพยากรน้ำและการเกษตร (องค์การมหาชน) กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เดือนมีนาคม.
สถาบันด้านปัจจัยการ ผลิตทางการเษตร ( ตลาดแรงงาน ) ศ.491 การวิเคราะห์การผลิต และนโยบายการผลิตสินค้าเกษตร รศ. ภราดร ปรีดาศักดิ์ คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
1. การผสมใดต่อไปนี้ที่แยกออก จากกันได้ด้วยการระเหยแห้ง 1. เกลือป่นกับ น้ำ 2. น้ำมันพืชกับ น้ำ 3. ข้าวเปลือก กับแกลบ 4. ผงตะไบ เหล็กกับทราย.
กรมอุตุนิยมวิทยา นายเมธี มหายศนันท์ สำนักพยากรณ์อากาศ.
ลมและพายุ (พายุ).
คาดการณ์สภาพอากาศประเทศไทย ปีพุทธศักราช 2558
ทรัพยากรการท่องเที่ยว (TIM 1301)
แผนที่และเครื่องมือทางภูมิศาสตร์
AUSTRALIA GEOGRAPHY OF AUSTRALIA-OCEANIA อาจารย์สอง : TAWEESAK GUNYOCHAI : Satit UP.
ระดับความเสี่ยง (QQR)
FTA.
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อภูมิอากาศของทวีปยุโรป
สภาพทั่วไป ประวัติและความเป็นมา ลักษณะภูมิประเทศ ตำนานเมืองแก่งคอย
น้ำและมหาสมุทร.
รายงานสถานการณ์น้ำประจำวัน 7 พฤษภาคม 2558 ข้อมูล ณ เวลา น. www
แผนที่อากาศและแนวปะทะอากาศ
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
Driver Service sect. Training. Video ภาพอุบัติเหตุ ที่ 1 สถานที่เกิดเหตุ : ทางด่วนขา เข้าบางนาตราด เวลาโดยประมาณ : 16: 45 น.
การแปรสัณฐานของแผ่นธรณี
แผ่นดินไหว.
GEOGRAPHY OF ASIA TAWEESAK KUNYOCHAI อาจารย์สอง Satit UP
World Time อาจารย์สอง Satit UP
รายงานสถานการณ์น้ำประจำวัน 21 เมษายน 2558 ข้อมูล ณ เวลา น. www
รายงานสถานการณ์น้ำประจำวัน 22 มิถุนายน 2558 ข้อมูล ณ เวลา น. และ 1.
การผุพังอยู่กับที่ โดย นางสาวเนาวรัตน์ สุชีพ
ปรากฏการณ์ทางดาราศาสตร์
วัฏจักรหิน วัฏจักรหิน : วัดวาอาราม หินงามบ้านเรา
ปรากฏการณ์ทางดาราศาสตร์
ปัจจัยที่ส่งผลทำให้เกิดฝนตกบริเวณประเทศไทย ในช่วงระหว่างวันที่ พ.ค. 58
กฎกระทรวงสถานีบริการก๊าซปิโตรเลียมเหลว พ.ศ.....
BASIC STATISTICS MEAN / MODE / MEDIAN / SD / CV.
. ระบบการปกครอง & การเมืองการปกครอง ของประเทศใน S.E.A.
รายงานสถานการณ์น้ำประจำวัน 4 ตุลาคม 2557 ข้อมูล ณ เวลา น. www
อาจารย์สอง TAWEESAK GUNYOCHAI : Satit UP
ภูมิศาสตร์การท่องเที่ยว
ความดัน (Pressure).
สภาพแวดล้อมทางกายภาพ
มะเร็งปากมดลูก โดย นางจุฑารัตน์ กองธรรม พยาบาลวิชาชีพ รพ.สต.บ้านโนนแต้
By Poonyaporn Siripanichponng
AUSTRALIA GEOGRAPHY OF AUSTRALIA-OCEANIA อาจารย์สอง : TAWEESAK GUNYOCHAI : Satit UP.
สถานที่ท่องเที่ยวในประเทศไทย
ศาสนาเชน Jainism.
ความช้าเร็ว ที่เกิดของวิปัสสนา
ค่ารูรับแสง - F/Stop ค่ารูรับแสงที่มีค่าตัวเลขต่ำใกล้เคียง 1 มากเท่าไหร่ ค่าของรูรับแสงนั้นก็ยิ่งมีความกว้างมาก เพราะเราเปรียบเทียบค่าความสว่างที่ 1:1.
ยิ้มก่อนเรียน.
รายงานสถานการณ์น้ำประจำวัน 4 ธันวาคม 2557 ข้อมูล ณ เวลา น. www
รายงานสถานการณ์น้ำประจำวัน 3 ธันวาคม 2557 ข้อมูล ณ เวลา น. www
Singapore ประเทศสิงคโปร์.
โครงการถ่ายทอดเทคโนโลยีถนนรีไซเคิลเพื่อลดขยะพลาสติกใน 4 ภูมิภาค
แบบจำลองน้ำขึ้นน้ำลง
มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม Man and Environment ภาคปลาย ปีการศึกษา 2561
การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย (Simple harmornic motion)
รายงานสถานการณ์น้ำประจำวัน 15 ตุลาคม 2557 ข้อมูล ณ เวลา น. www
วัฏจักรของน้ำ + พายุหมุนเขตร้อน
การวิเคราะห์สภาพอากาศที่เอื้ออำนวยต่อการเกิดฝุ่นละอองขนาดเล็กบริเวณ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ ด้วยแบบจำลอง WRF.
แผ่นดินไหว เกิดจากการเคลื่อนตัวของเปลือกโลกบริเวณแนวรอยเลื่อนของเปลือกโลก หรือการปะทุของภูเขาไฟ ทำให้เกิดการสั่นสะเทือนของแผ่นดิน ซึ่งหากเกิดการสั่นสะเทือนอย่างรุนแรง.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Climate I อาจารย์สอง สุดหล่อ

ปัจจัยที่กำหนด/ควบคุมภูมิอากาศ ตำแหน่งที่ตั้งและขนาด ระยะใกล้-ไกลจากทะเล กระแสน้ำในมหาสมุทร ระบบลม/ทิศทางลมประจำ / แนวพายุ ลักษณะภูมิประเทศ / ระดับพื้นที่/การวางตัวของแนวเทือกเขา

ปัจจัยที่กำหนด/ควบคุมภูมิอากาศ ตำแหน่งที่ตั้งและขนาด ที่ตั้งตามละติจูด ( Latitude ) การส่องแสง/รับแสงจากดวงอาทิตย์ ( Sun’s ray ) การเอียงของแกนโลก ( Inclination of the earth )

ปัจจัยที่กำหนด/ควบคุมภูมิอากาศ ตำแหน่งที่ตั้งและขนาด ที่ตั้งตามละติจูด การรับแสงจากดวงอาทิตย์ การเอียงของแกนโลก เขตร้อน เขตละติจูดใกล้ 0 องศา (ใกล้เส้นศูนย์สูตร : Equator ) ( เขตละติจูดต่ำ ) เขตละติจูด 23.5-66.5 องศา หรือประมาณ 30-60 องศา ( เขตละติจูดกลาง ) เขตละติจูด 66.5 องศาขึ้นไป หรือประมาณ 60 องศาขึ้นไป ( เขตละติจูดสูง )

ปัจจัยที่กำหนด/ควบคุมภูมิอากาศ ตำแหน่งที่ตั้ง เขตละติจูดใกล้ 0 องศา (ใกล้เส้นศูนย์สูตร : Equator) เขตละติจูด 23.5-66.5 องศา หรือประมาณ 30-60 องศา เขตละติจูด 66.5 องศาขึ้นไป หรือประมาณ 60 องศาขึ้นไป ( เขตละติจูดกลาง ) ( เขตละติจูดสูง ) ( เขตละติจูดต่ำ ) ( เขตร้อน/เขตทรอปปิก ) Tropical zone ( เขตอบอุ่น ) Temperate zone ( เขตหนาว ) Frigid zone

ปัจจัยที่กำหนด/ควบคุมภูมิอากาศ ตำแหน่งที่ตั้งและขนาด

ปัจจัยที่กำหนด / ควบคุมภูมิอากาศ ตำแหน่งที่ตั้ง

ปัจจัยที่กำหนด/ควบคุมภูมิอากาศ ตำแหน่งที่ตั้งและขนาด

ปัจจัยที่กำหนด/ควบคุมภูมิอากาศ ตำแหน่งที่ตั้งและขนาด

ปัจจัยที่กำหนด/ควบคุมภูมิอากาศ ตำแหน่งที่ตั้งและขนาด

ปัจจัยที่กำหนด/ควบคุมภูมิอากาศ ตำแหน่งที่ตั้งและขนาด

ปัจจัยที่กำหนด/ควบคุมภูมิอากาศ ตำแหน่งที่ตั้งและขนาด

ทำให้ซีกโลกเหนือและซีกโลกใต้มีฤดูกาลที่ตรงกันข้ามกัน ปัจจัยที่กำหนด/ควบคุมภูมิอากาศ ตำแหน่งที่ตั้งและขนาด การเอียงของแกนโลก ทำให้เกิดฤดูกาล ทำให้ซีกโลกเหนือและซีกโลกใต้มีฤดูกาลที่ตรงกันข้ามกัน

ปัจจัยที่กำหนด/ควบคุมภูมิอากาศ ตำแหน่งที่ตั้งและขนาด การเอียงของแกนโลก

ระบบลม/ทิศทางลมประจำ/แนวพายุ ปัจจัยที่กำหนด/ควบคุมภูมิอากาศ ระบบลม/ทิศทางลมประจำ/แนวพายุ ลมมรสุ่ม / ลมประจำ / ลมพายุ หากลมประจำพัดผ่านทะเล หากลมประจำพัดผ่านเขตที่มีอากาศหนาวเย็น เข้าสู่ บก(ผืนแผ่นดิน) นำความชื้น + ฝน นำความหนาวเย็น/มวลอากาศเย็น

พายุ/ดีเปรสชั่น มีส่วนในการนำความชื้น /ฝนเข้าสู่แผ่นดิน ปัจจัยที่กำหนด/ควบคุมภูมิอากาศ ระบบลม/ทิศทางลมประจำ/แนวพายุ พายุ/ดีเปรสชั่น มีส่วนในการนำความชื้น /ฝนเข้าสู่แผ่นดิน

ระบบลม/ทิศทางลมประจำ/แนวพายุ ปัจจัยที่กำหนด/ควบคุมภูมิอากาศ ระบบลม/ทิศทางลมประจำ/แนวพายุ ลมมรสุม ( Monsoon winds) เป็นลมประจำที่มีอิทธิพลต่อภูมิอากาศของทวีปเอเชีย

ด้านปลายลม ( Leeward side ) หรือ เขตเงาฝน ( Rain shadow ) KÖPPEN CLIMATE SYSTEM ด้านปลายลม ( Leeward side ) หรือ เขตเงาฝน ( Rain shadow ) บริเวณด้านต้นลม ( Windward side )

KÖPPEN CLIMATE SYSTEM

เขาเงาฝน ( Rain shadow) KÖPPEN CLIMATE SYSTEM เขาเงาฝน ( Rain shadow) แนวเทือกเขาสูง บริเวณด้านต้นลม ( Windward side )

KÖPPEN CLIMATE SYSTEM

KÖPPEN CLIMATE SYSTEM

ปัจจัยที่กำหนด/ควบคุมภูมิอากาศ ความใกล้ไกลทะเล/ระยะห่างจากทะเล/ขนาดของทวีป ลมมรสุมฤดูร้อน ลมมรสุมฤดูหนาว

ระบบลม/ทิศทางลมประจำ/แนวพายุ ปัจจัยที่กำหนด/ควบคุมภูมิอากาศ ระบบลม/ทิศทางลมประจำ/แนวพายุ ลมมรสุม (Monsoon) ลมมรสุมฤดูหนาว ลมมรสุมฤดูร้อน

ระบบลม/ทิศทางลมประจำ/แนวพายุ ปัจจัยที่กำหนด/ควบคุมภูมิอากาศ ระบบลม/ทิศทางลมประจำ/แนวพายุ ลมมรสุม (Monsoon) มาจากคำในภาษาอาหรับว่า Mausim แปลว่า ฤดู ดังนั้นลมมรสุมจึงหมายถึง ลมที่พัดเปลี่ยนทิศทางกลับการเปลี่ยนฤดูคือ ฤดูร้อนจะพัดในทิศทางหนึ่ง และจะพัดเปลี่ยนทิศทางในทางตรงกันข้ามในฤดูหนาว ครั้งแรกใช้เรียกลมนี้ในบริเวณทะเลอาหรับซึ่งพัดอยู่ในทิศทางตะวันออกเฉียงเหนือเป็นระยะเวลา 6 เดือน และพัดอยู่ในทิศทางตะวันตกเฉียงใต้เป็นระยะเวลา 6 เดือน แต่อยู่ในส่วนอื่นๆ ของโลก ลมมรสุมที่เห็นชัดเจนที่สุดคือ ลมมรสุมที่เกิดขึ้นในเอเชียตะวันออก และเอเชียใต้ 

ระบบลม/ทิศทางลมประจำ/แนวพายุ ปัจจัยที่กำหนด/ควบคุมภูมิอากาศ ระบบลม/ทิศทางลมประจำ/แนวพายุ ลักษณะการเกิดลมมรสุม เป็นทำนองเดียวกับการเกิดลมบกลมทะเล ในฤดูหนาวอากาศภายในภาคพื้นทวีปเย็นกว่าอากาศในมหาสมุทรที่อยู่ใกล้เคียง ทำให้ภาคพื้นทวีปบริเวณไซบีเรียเป็นเขตความกดอากาศสูง ส่วนบริเวณมหาสมุทรอินเดียเป็นเขตความกดอากาศต่ำ อากาศเหนือมหาสมุทรอินเดียซึ่งมีอุณหภูมสูงกว่าบริเวณไซบีเรียจะลอยตัวสูงขึ้น และอากาศบริเวณไซบีเรียจะไหลเข้าไปแทนที่ในทิศทางตามเข็มนาฬิกา อากาศที่ไหลออกจากบริเวณความกดอากาศสูงไซบีเรียเป็นอากาศที่ไหลจมลง และทิศทางลมจะเบนไปทางขวา กลายเป็นลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือผ่านเข้าไปยังเอเชียตะวันออกและเอเชียใต้ โดยทั่วไปมีลักษณะอากาศดี และเป็นฤดูที่มีอากาศแห้ง ดังนั้นลมมรสุมฤดูหนาวลักษณะท้องฟ้าแจ่มใส เป็นลมที่พัดจากฝั่งออกสู่ทะเล

ระบบลม/ทิศทางลมประจำ/แนวพายุ ปัจจัยที่กำหนด/ควบคุมภูมิอากาศ ระบบลม/ทิศทางลมประจำ/แนวพายุ ในฤดูร้อนลมจะพัดเปลี่ยนในทิศทางตรงกันข้าม อากาศภาคพื้นทวีปอุ่นกว่าพื้นน้ำ ซึ่งทำให้ภาคพื้นทวีปเป็นเขตความกดอากาศต่ำ พื้นน้ำเป็นเขตความกดอากาศสูง เกิดลมพัดจากพื้นน้ำที่เป็นเขตความกดอากาศสูงเข้าสู่พื้นดินที่เป็นเขตความกดอากาศต่ำ ในทิศทวนเข็มนาฬิกากลายเป็นมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ ลมที่พัดจากพื้นน้ำเข้ามา นำเอาความชื้นมาด้วยเป็นลมที่พัดจากทะเลเข้าหาฝั่ง มรสุมที่มีกำลังแรงจัดที่สุด เกิดขึ้นในบริเวณเอเชียตะวันออก และเอเชียใต้ เอเชียตะวันออกได้แก่ ประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน ไต้หวัน ญี่ปุ่น และสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนเกาหลี ลมมรสุมที่เกิดในเอเชียตะวันออกจะแตกต่างจากเอเชียใต้คือ ในเอเชียตะวันออก ลมมรสุมฤดูหนาวมีกำลังแรงกว่า

ระบบลม/ทิศทางลมประจำ/แนวพายุ ปัจจัยที่กำหนด/ควบคุมภูมิอากาศ ระบบลม/ทิศทางลมประจำ/แนวพายุ และมีทิศทางที่คงที่กว่ามรสุมฤดูร้อน ความเร็วลมตามชายฝั่งในเดือนมกราคม จะมีมากกว่าเดือนกรกฎาคมหลายเท่า ส่วนลมมรสุมในเอเชียใต้ รวมทั้งประเทศอินเดีย ปากีสถาน และประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ลมมรสุมฤดูหนาวไม่สามารถแผ่เข้าไปถึงดินแดนเหล่านี้ได้ เพราะมีเทือกเขาหิมาลัยขวางกั้นอยู่ ดังนั้นเอเชียใต้จึงได้รับมรสุมโดยตรงเฉพาะในช่วงฤดูร้อนเท่านั้น และลมจะมีกำลังแรงในฤดูร้อน แม้แต่ในมหาสมุทร คือฤดูร้อนลมมีความเร็วเฉลี่ย 20 กิโลเมตรต่อชั่งโมง ส่วนฤดูหนาวลมมีกำลังอ่อน มีความเร็วน้อยกว่า 10 กิโลเมตรต่อชั่วโมง บริเวณที่มีฝตกหนักเนื่องจากได้รับอิทธิพลจากลมมรสุมฤดูร้อนคือ เมืองเชอร์ราปันจิ ทางภาคตะวันออกของประเทศอินเดีย มีปริมาณฝนตกในแต่ละปีประมาณ 10,800 มิลลิเมตร ส่วนใหญ่จะมีฝนตกในช่วงเดือนเมษายนถึงตุลาคม ฝนที่ตกมีประโยชน์ทางด้านการเกษตร ทำให้พืชผลเจริญเติบโต เนื่องจากบริเวณที่มีฝนอากาศแห้ง แต่ฝนที่ตกลงมามีข้อเสีย เนื่องจากช่วงเวลาที่ฝนตกจะมีความไม่แน่นอนรวมทั้งความแรงของฝน สำหรับประเทศไทยได้รับอิทธิพลจากลมมรสุมทั้งสองฤlดู คือ ในช่วงฤดูฝนประมาณต้นเดือนพฤษภาคมจนถึงเดือนต้นเดือนตุลาคม ได้รับลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ และต่อมาเป็นช่วงฤดูหนาว ประมาณปลายเดือนตุลาคมจนถึงปลายเดือนกุมภาพันธ์ ลมจะเปลี่ยนทิศเป็นลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ

ระบบลม/ทิศทางลมประจำ/แนวพายุ ปัจจัยที่กำหนด/ควบคุมภูมิอากาศ ระบบลม/ทิศทางลมประจำ/แนวพายุ   นอกจากลมมรสุมที่เกิดขึ้นทวีปเอเชียแล้ว ยังมีลมมรสุมที่เกิดขึ้นบริเวณส่วนอื่นของโลก เช่น ทางภาคเหนือของประเทศออสเตรเลีย เมื่อลมมรสุมพัดข้ามศูนย์สูตรจะเปลี่ยนทิศทางเป็นลมมรสุมตะวันตกเฉียเหนือพัดเข้าสู่ทางภาคเหนือของประเทศออสเตรเลีย ซึ่งมีแนวเขตลมค้าเบียดตัวเข้าหากันพาดผ่านอยู่ เป็นแนวแบ่งเขตระหว่างลมค้าตะวันออกเฉียเหนือของซีกโลกเหนือกับลมค้าตะวันออกเฉียงใต้ของซีกโลกใต้ รวมทั้งมีลมมรสุมเกิดขึ้นในอ่าวกินีของแอฟริกาตะวันตก บางส่วนของทวีปอเมริการเหนือ และบางส่วนของทวีปอเมริการใต้

การหมุนเวียนทั่วไปของบรรยากาศ ปัจจัยที่กำหนด/ควบคุมภูมิอากาศ ระบบลม/ทิศทางลมประจำ/แนวพายุ การหมุนเวียนทั่วไปของบรรยากาศ สาเหตุที่ทำให้เกิดการหมุนเวียนทั่วไปนั้น เกิดจากพื้นผิวโลกได้รับความร้อนไม่เท่ากัน เมื่อโลกได้พลังงานความร้อนจากดวงอาทิตย์ จะต้องส่งพลังงานกลับเข้าสู่อวกาศในปริมาณเท่ากับที่โลกได้รับ อย่างไรก็ตามพลังงานความร้อนที่โลกได้รับในแต่ละละติจูดมีปริมาณไม่เท่ากัน เขตร้อนได้รับความร้อนเกินดุล ส่วนเขตชั้วโลกได้รับความร้อนขาดดุล ดังนั้นเพื่อให้เกิดความสมดุลจึงต้องมีการถ่ายเทความร้อนจากบริเวณศูนย์สูตรไปยังขั้วโลก และถ่ายเทความเย็นจากขั้วโลกมายังศูนย์สูตร

การหมุนเวียนทั่วไปของบรรยากาศ ปัจจัยที่กำหนด/ควบคุมภูมิอากาศ ระบบลม/ทิศทางลมประจำ/แนวพายุ การหมุนเวียนทั่วไปของบรรยากาศ

การหมุนเวียนทั่วไปของบรรยากาศ ปัจจัยที่กำหนด/ควบคุมภูมิอากาศ การหมุนเวียนทั่วไปของบรรยากาศ

การหมุนเวียนทั่วไปของบรรยากาศ ปัจจัยที่กำหนด/ควบคุมภูมิอากาศ การหมุนเวียนทั่วไปของบรรยากาศ

การหมุนเวียนทั่วไปของบรรยากาศ ปัจจัยที่กำหนด/ควบคุมภูมิอากาศ การหมุนเวียนทั่วไปของบรรยากาศ

การหมุนเวียนทั่วไปของบรรยากาศ ปัจจัยที่กำหนด/ควบคุมภูมิอากาศ การหมุนเวียนทั่วไปของบรรยากาศ

การหมุนเวียนทั่วไปของบรรยากาศ ปัจจัยที่กำหนด/ควบคุมภูมิอากาศ การหมุนเวียนทั่วไปของบรรยากาศ

การหมุนเวียนทั่วไปของบรรยากาศ ปัจจัยที่กำหนด/ควบคุมภูมิอากาศ การหมุนเวียนทั่วไปของบรรยากาศ

ความสูงต่ำของพื้นที่ (Altitude) ปัจจัยที่กำหนด/ควบคุมภูมิอากาศ ความสูงต่ำของพื้นที่ (Altitude) อุณหภูมิ โดยทั่วไปอุณหภูมิจะลดลงทุก ๆ 1 องศาเซลเซียส เมื่อความสูงสูงขึ้นไปทุก ๆ 180 เมตร โดยเฉลี่ย

การหมุนเวียนทั่วไปของบรรยากาศ ปัจจัยที่กำหนด/ควบคุมภูมิอากาศ ความสูงต่ำของพื้นที่ (Altitude) การหมุนเวียนทั่วไปของบรรยากาศ โดยทั่วไปอุณหภูมิจะลดลงทุก ๆ 1 องศาเซลเซียสเมื่อความสูงสูงขึ้นไปทุก ๆ 180 เมตร โดยเฉลี่ย จนมีหิมะปกคลุมในระดับที่อุณหภูมิต่ำมาก ๆ

ความสูงต่ำของพื้นที่ (Altitude) ปัจจัยที่กำหนด/ควบคุมภูมิอากาศ ความสูงต่ำของพื้นที่ (Altitude) สีขาว : เขตเทือกเขาสูงที่มีระดับความสูงมากกว่า 5000 เมตรจากระดับน้ำทะเล

ปัจจัยที่กำหนด/ควบคุมภูมิอากาศ ความใกล้ไกลทะเล/ระยะห่างจากทะเล/ขนาดของทวีป บริเวณที่ใกล้ทะเลจะได้รับอิทธิจากทะเลเช่นความชื้นและอากาศจะไม่รุ่นแรงเหมือนบริเวณที่อยู่ห่างจากทะเลโดยเฉพาะตอนในทวีป(จะมีอากาศที่รุ่นแรงระหว่างฤดู กล่าวคือ ในฤดูร้อนจะร้อนจัด ในฤดูหนาวจะหนาวจัด และยังมีพิสัย(ช่วงต่าง)ของอุณหภูมิระหว่างกลางวันและกลางคืนมากด้วย

บริเวณที่ไกลทะเล (แถบตอนในทวีป) ปัจจัยที่กำหนด/ควบคุมภูมิอากาศ ความใกล้ไกลทะเล/ระยะห่างจากทะเล/ขนาดของทวีป บริเวณที่ใกล้ทะเล บริเวณที่ไกลทะเล (แถบตอนในทวีป) จะได้รับอิทธิจากทะเล เช่น ได้รับความชื้นมาก อากาศจะไม่รุ่นแรงอากาศ ในฤดูร้อนจะไม่ร้อนจัด ในฤดูหนาวไม่หนาวจัด พิสัย(ช่วงต่าง)ของอุณหภูมิระหว่างกลางวันและกลางคืนไม่มากด้วย จะได้รับอิทธิจากทะเล เช่น ได้รับความชื้นน้อย อากาศรุ่นแรงอากาศ ในฤดูร้อนร้อนจัด ในฤดูหนาวหนาวจัด พิสัย(ช่วงต่าง)ของอุณหภูมิระหว่างกลางวันและกลางคืนมากด้วย

ขนาดความกว้างใหญ่ของทวีปเอเชีย(เป็นทวีปที่ใหญ่ที่สุดในโลก) ปัจจัยที่กำหนด/ควบคุมภูมิอากาศ ความใกล้ไกลทะเล/ระยะห่างจากทะเล/ขนาดของทวีป ขนาดความกว้างใหญ่ของทวีปเอเชีย(เป็นทวีปที่ใหญ่ที่สุดในโลก) ทำให้เกิดความแตกต่างระหว่างพื้นน้ำและผืนแผ่นดิน ทำให้เกิดย่อมความกดอากาศขึ้นในช่วงรอบปี จนเป็นที่มาของการเกิดลมมรสุมในทวีปเอเชีย

ปัจจัยที่กำหนด/ควบคุมภูมิอากาศ ความใกล้ไกลทะเล/ระยะห่างจากทะเล/ขนาดของทวีป ความแตกต่างระหว่างผืนน้ำและผืนดินทำให้เกิดย่อมความกดอากาศที่ ต่างกันในช่วงปีจนเป็นที่มาของการเกิดลมมรสุ่ม

ปัจจัยที่กำหนด/ควบคุมภูมิอากาศ กระแสน้ำในสมหาสมุทร (Ocean Currents)

ปัจจัยที่กำหนด/ควบคุมภูมิอากาศ กระแสน้ำในสมหาสมุทร (Ocean Currents)

ปัจจัยที่กำหนด/ควบคุมภูมิอากาศ กระแสน้ำในมหาสมุทร (Ocean Currents)

ปัจจัยที่กำหนด/ควบคุมภูมิอากาศ กระแสน้ำในมหาสมุทร (Ocean Currents) บริเวณที่ กระแสน้ำอุ่นไหลผ่าน บริเวณที่ กระแสน้ำเย็นไหลผ่าน นำความชื้น + ไม่หนาวจัดในฤดูหนาว นำความหนาวเย็นมาให้ + แห้งแล้ง