งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

AUSTRALIA GEOGRAPHY OF AUSTRALIA-OCEANIA อาจารย์สอง : TAWEESAK GUNYOCHAI : Satit UP.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "AUSTRALIA GEOGRAPHY OF AUSTRALIA-OCEANIA อาจารย์สอง : TAWEESAK GUNYOCHAI : Satit UP."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 AUSTRALIA GEOGRAPHY OF AUSTRALIA-OCEANIA อาจารย์สอง : TAWEESAK GUNYOCHAI : Satit UP

2 PHYSICAL

3 C B A สภาพพื้นที่ของประเทศออสเตรเลีย แบ่งเป็น 3 ส่วนได้แก่ A. เขตภูเขาสูงทางตะวันออก (Eastern Highland)   B. เขตที่ราบตอนกลาง (Central Plain) C. เขตที่ราบสูงและทะเลทรายภาคตะวันตก (Western Plateau & desert)

4 สภาพพื้นที่ของประเทศออสเตรเลีย แบ่งเป็น 3 ส่วนได้แก่ 1
สภาพพื้นที่ของประเทศออสเตรเลีย แบ่งเป็น 3 ส่วนได้แก่ 1. เขตที่ภูเขาสูงทางตะวันออก (Eastern Highland) เป็นเขตที่มีเทือกเขาสูง คือเทือกเขาเกรตดิไวดิง (Great Dividing) โดยวางตัวจากทิศเหนือไปยังทิศใต้ขนานกับชายฝั่งตะวันออก  

5 ลักษณะภูมิประเทศของประเทศออสเตรเลีย แบ่งเป็น 3 บริเวณ ได้แก่ 1
ลักษณะภูมิประเทศของประเทศออสเตรเลีย แบ่งเป็น 3 บริเวณ ได้แก่ 1. เขตที่ภูเขาสูงทางตะวันออก (Eastern Highland) เป็นเขตที่มีเทือกเขาสูงโดยตั้งแต่แหลมยอร์ก(Cape York)ไปจนถึงช่องแคบบาสส์(Bass Strait) โดยวางตัวจากทิศเหนือไปยังทิศใต้ขนานกับชายฝั่งตะวันออก เป็นระยะทางยาวประมาณ 3,500 กิโลเมตร เทือกเขาสำคัญคือ เทือกเขาเกรตดิไวดิง(Great Dividing) โดยบริเวณที่มีความสูงมากของแนวเทือกเขานี้จะอยู่ทางตอนใต้ มีชื่อว่า ภูเขาแอลป์ออสเตรเลีย(Australian Alps) มียอดเขาสูงสุดและถือเป็นยอดเขาสูงสุดของประเทศออสเตรเลีย คือ ยอดเขาคอสซิอัสโก(Kosciuszko) สูง 2,228 เมตร) โดยแนวเทือกเขานี้เป็นต้นกำเนิดของแม่น้ำเมอร์เรย์ และแม่น้ำดาร์ลิง

6 Great Dividing Range

7 เทือกเขาเกรตดิไวดิง(Great Dividing) เป็นเทือกเขาที่วางตัวยาวตั้งแต่แหลมยอร์ก(Cape York)ไปจนถึงช่องแคบบาสส์(Bass Strait) โดยวางตัวจากทิศเหนือไปยังทิศใต้ขนานกับชายฝั่งตะวันออกโดยบริเวณที่มีความสูงมากของแนวเทือกเขานี้จะอยู่ทางตอนใต้ มีชื่อว่า ภูเขาแอลป์ออสเตรเลีย(Australian Alps) มียอดเขาคอสซิอัสโก(Kosciuszko) สูง 2,198 เมตร ถือเป็นยอดเขาสูงสุดของประเทศออสเตรเลีย โดยเทือกเขานี้เป็นต้นกำเนิดของแม่น้ำเมอร์เรย์ และแม่น้ำดาร์ลิง

8 ยอดเขาคอสซิอัสโก(Kosciuszko) มีความสูง 2,228 เมตร ถือเป็นยอดเขาที่สุดสุดของเทือกเขาเกรตดิไวดิง(Great Dividing) และเป็นยอดเขาสูงสุดของประเทศออสเตรเลีย ตั้งอยู่ในเขตรัฐนิวเซาท์เวลส์

9 สภาพพื้นที่ของประเทศออสเตรเลีย แบ่งเป็น 3 ส่วนได้แก่ 2
สภาพพื้นที่ของประเทศออสเตรเลีย แบ่งเป็น 3 ส่วนได้แก่ 2. เขตที่ราบตอนกลาง (Central Plain) มีลักษณะเป็นที่ราบต่ำ มีพื้นที่ ประมาณ 1 ใน 3 ของประเทศ และเป็นแหล่งที่มีน้ำบาดาลมาที่สุดของประเทศ   

10 1 2 4 3 2. เขตที่ราบตอนกลาง (Central Plain) แบ่งออกเป็น 4 บริเวณ คือ ที่ราบรอบอ่าวคาร์เปนตาเรีย (Gulf of Carpentaria Plain) ที่ราบรอบทะเลสาบแอร์ (Lake Eyre Basin) ที่ราบลุ่มแม่น้ำเมอร์เรย์ และ ดาร์ลิง (Murray and Darling Basin) ที่ราบนัลลาร์บอร์ (Nullarbor Plain)  

11 เขตที่ราบตอนกลาง (Central Plain) แบ่งออกเป็น 4 บริเวณ คือ 1
เขตที่ราบตอนกลาง (Central Plain) แบ่งออกเป็น 4 บริเวณ คือ ที่ราบรอบอ่าวคาร์เปนตาเรีย (Gulf of Carpentaria Plain) ที่ราบรอบอ่าวคาร์เปนตาเรีย (Gulf of Carpentaria Plain) เป็นที่ราบชายฝั่งแคบๆขนานไปกับแนวชายฝั่งรอบอ่าวคาร์เปนตาเรียทางตอนเหนือของประเทศออสเตรเลีย มีลักษณะเป็นที่ราบชายฝั่งแคบๆ โดยมีแนวเขาเซลวินวางตัวขวางแยกออกจากที่ราบรอบทะเลสาบแอร์ (Lake Eyre) 1

12 เขตที่ราบตอนกลาง (Central Plain) แบ่งออกเป็น 4 บริเวณ คือ 2
เขตที่ราบตอนกลาง (Central Plain) แบ่งออกเป็น 4 บริเวณ คือ ที่ราบรอบทะเลสาบแอร์ (Lake Eyre Basin) ที่ราบรอบทะเลสาบแอร์(Lake Eyre Basin) เป็นบริเวณที่ราบรอบทะเลสาบแอร์ ซึ่งเป็นทะเลสาบน้ำเค็มที่ใหญ่ที่สุดของประเทศออสเตรเลียและทวีปออสเตรเลีย เมื่อพิจารณาโดยรวมถือเป็นเขตที่ค่อนข้าง แห้งแล้ง เป็นที่ราบแล้งแห้ง เป็นทะเลทราย  มีทะเลทรายหลายแห่งในพื้นที่ของที่ราบแห่งนี้ ได้แก่ ทะเลทรายซิมป์สัน(Simpson Desert) และทะเลทรายสจ๊วต(Sturt Stony Desert) เป็นต้น 2 ทะเลสาบแอร์(Lake Eyre)

13 แม่น้ำ ดาร์ลิง (Darling) แม่น้ำเมอร์เรย์(Murray)
เขตที่ราบตอนกลาง (Central Plain) แบ่งออกเป็น 4 บริเวณ คือ 3. ที่ราบลุ่มแม่น้ำเมอร์เรย์ และ ดาร์ลิง (Murray and Darling Basin) ที่ราบลุ่มแม่น้ำเมอร์รีย์และดาร์ลิง (Murray and Darling Basin) มีแม่น้ำดาร์ลิงเป็นแม่น้ำสายยาวที่สุดของออสเตรเลียและแม่น้ำเมอร์เรย์และ แม่น้ำสาขาของสองแม่น้ำนี้ไหลผ่าน เป็นที่ราบที่มีความอุดมสมบูรณ์ที่สุดของออสเตรเลีย และถือเป็นเขตเกษตรกรรมเป็นพื้นที่เพาะปลูกที่สำคัญของประเทศออสเตรเลียด้วย 3 แม่น้ำ ดาร์ลิง (Darling) แม่น้ำเมอร์เรย์(Murray)

14 อ่าวเกรตออสเตรเลียไบต์ (Great Australian Bight)
เขตที่ราบตอนกลาง (Central Plain) แบ่งออกเป็น 4 บริเวณ คือ 4. ที่ราบนัลลาร์บอร์ (Nullarbor Plain)   การที่ที่ราบนัลลาร์บอร์ตั้งอยู่ติดกับอ่าวเกรตออสเตรเลียนไบต์(Great Australian Bight) บางครั้งจะเรียกที่ราบนี้ว่า “ ที่ราบอ่าวเกรตออสเตรเลียไบต์ (Great Australian Bight Plain) ”  คำว่า “นัลลาร์บอร์”(Nullarbor) เป็นภาษาพื้นเมืองแปลว่า ไม่มีต้นไม้อยู่เลยนอกจากนี้ในที่ราบนี้ยังไม่มีแม่น้ำสายใดไหลผ่าน และประกอบกับปริมาณน้ำฝนทั้งปีซึ่งมีเพียง มิลลิเมตรเท่านั้นทำให้ที่ราบนัลลาบอร์นี้มีความแห้งแล้งค่อนข้างมาก ทำให้ไม่ค่อยมีความสำคัญในทางด้นการเกษตรและเศรษฐกิจ ตลอดจนการตั้งถิ่นฐาน 4 อ่าวเกรตออสเตรเลียไบต์ (Great Australian Bight)

15 C สภาพพื้นที่ของประเทศออสเตรเลีย แบ่งเป็น 3 ส่วนได้แก่ A. เขตภูเขาสูงทางตะวันออก (Eastern Highland)   B. เขตที่ราบตอนกลาง (Central Plain) C. เขตที่ราบสูงและทะเลทรายภาคตะวันตก (Western Plateau & desert)

16 C สภาพพื้นที่ของประเทศออสเตรเลีย แบ่งเป็น 3 ส่วนได้แก่ A. เขตภูเขาสูงทางตะวันออก (Eastern Highland)   B. เขตที่ราบตอนกลาง (Central Plain) C. เขตที่ราบสูงและทะเลทรายภาคตะวันตก (Western Plateau & desert)

17 3. เขตที่ราบสูงและทะเลทรายภาคตะวันตก (Western Plateau & desert) หรือ เขตที่ราบสูงหินเก่าทางตะวันตก (The West Australian Shield) เป็นลักษณะภูมิประเทศที่มีเนื้อที่มากกว่าครึ่งหนึ่งของประเทศออสเตรเลีย  ในทางธรณีวิทยาเป็นหินเปลือกโลกที่มีอายุเก่าแก่มาก เป็นเขตที่สูงภาคตะวันตก ประกอบด้วยที่ราบชายฝั่งแคบๆ และที่สูงเป็นพื้นที่ส่วนใหญ่ ลักษณะพื้นที่ทางด้านตะวันตกและลาดเทไปทางตะวันออก ซึ่งเป็นดินแดนภายในทวีป

18 3. เขตที่ราบสูงและทะเลทรายภาคตะวันตก (Western Plateau & desert) หรือ เขตที่ราบสูงหินเก่าทางตะวันตก (The West Australian Shield) ทางตอนกลางและตะวันตกของประเทศออสเตรเลีย เป็นเขตที่ราบสูงและเขตแห้งแล้งที่สุดของประเทศทางตะวันตก โดยพื้นที่ส่วนใหญ่เป็นเขตแห้งแล้งแบบทะเลทราย

19 3. เขตที่ราบสูงและทะเลทรายภาคตะวันตก (Western Plateau & desert) หรือ เขตที่ราบสูงหินเก่าทางตะวันตก (The West Australian Shield) ทางตอนกลางและตะวันตกของประเทศออสเตรเลีย เป็นเขตที่ราบสูงและเขตแห้งแล้งที่สุดของประเทศทางตะวันตก โดยพื้นที่ส่วนใหญ่เป็นเขตแห้งแล้งแบบทะเลทราย

20 3. เขตที่ราบสูงและทะเลทรายภาคตะวันตก (Western Plateau & desert) หรือ เขตที่ราบสูงหินเก่าทางตะวันตก (The West Australian Shield) ทางตอนกลางและตะวันตกของประเทศออสเตรเลีย เป็นเขตที่ราบสูงและเขตแห้งแล้งที่สุดของประเทศทางตะวันตก โดยพื้นที่ส่วนใหญ่เป็นเขตแห้งแล้งแบบทะเลทราย

21 3. เขตที่ราบสูงและทะเลทรายภาคตะวันตก (Western Plateau & desert) หรือ เขตที่ราบสูงหินเก่าทางตะวันตก (The West Australian Shield) ทางตอนกลางและตะวันตกของประเทศออสเตรเลีย เป็นเขตที่ราบสูงและเขตแห้งแล้งที่สุดของประเทศทางตะวันตก โดยพื้นที่ส่วนใหญ่เป็นเขตแห้งแล้งแบบทะเลทราย

22 3. เขตที่ราบสูงและทะเลทรายภาคตะวันตก (Western Plateau & desert) หรือ เขตที่ราบสูงหินเก่าทางตะวันตก (The West Australian Shield) ที่ราบสูงและเขตแห้งแล้งทางตะวันตก มีเทือกเขาที่สำคัญ เช่น - เทือกเขาคิมเบอร์เลย์(Kimberley Range)  - เทือกเขาแฮมเมอส์เลย์(Hamersley Range) - เทือกเขาแม็กโนนัลล์(Macdonnell Range) - เทือกเขาโรบินสัน(Robinson Range) - เทือกเขามัสเกรฟ (Musgrave Range)  - เทือกเขาดาร์ลิง(Darling Range)  

23 3. เขตที่ราบสูงและทะเลทรายภาคตะวันตก (Western Plateau & desert) หรือ เขตที่ราบสูงหินเก่าทางตะวันตก (The West Australian Shield) ที่ราบสูงทางตะวันตกของประเทศเป็นเขตแห้งแล้งและเขตทะเลทราย โดยมีทะเลทรายขนาดใหญ่อยู่หลายแห่ง  เช่น  - ทะเลทรายเกรตแซนดี(Great Sandy Desert)  - ทะเลทรายกิบสัน(Gibson Desert)   - ทะเลทรายเกรตวิกตอเรีย(Great Victoria Desert) - ทะเลทรายทานามิ(Tanami Desert) - ทะเลทรายซิมสัน(Simpson Desert) เป็นต้น ทะเลทรายทั้งหมดนี้รวมเรียกว่า ทะเลทรายเกรตออสเตรเลียน (Great Australia Desert)

24

25 River

26 Murray river

27 แม่น้ำเมอร์เรย์ (Murray river) แม่น้ำสายยาวอันดับสองของออสเตรเลีย ตั้งอยู่ทางตะวันออกเฉียงใต้ของประเทศออสเตรเลีย มีความยาว 2508 กม.

28

29 แม่น้ำเมอร์เรย์ (Murray river)
- แม่น้ำสายยาวอันดับสองของออสเตรเลีย - มีความยาว 2508 กม. - ตั้งอยู่ทางตะวันออกเฉียงใต้ของประเทศออสเตรเลีย - ไหลเป็นแนวพรมแดนระหว่างรัฐนิวเซาท์เวลส์และรัฐวิกตอเรียและไหลลงทะเลที่รัฐออสเตรเลียใต้

30 แม่น้ำเมอร์เรย์ (Murray river)
- แม่น้ำสายยาวอันดับสองของออสเตรเลีย - มีความยาว 2508 กม. - ไหลเป็นแนวพรมแดนระหว่างรัฐนิวเซาท์เวลส์และรัฐวิกตอเรีย และไหลลงทะเลที่รัฐออสเตรเลียใต้ - เป็นพื้นที่เกษตรกรรมที่สำคัญของออสเตรเลีย

31 Darling river

32 แม่น้ำดาร์ลิง(Darling River) - แม่น้ำสายสำคัญของออสเตรเลีย - แม่น้ำสายที่ยาวที่สุดของออสเตรเลีย - ตั้งอยู่ทางตะวันออกเฉียงใต้ของออสเตรเลีย - ไหลผ่านรัฐนิวเซาท์เวลส์ โดยมีแม่น้ำสาขาหลายสาย - ไหลรวมกับแม่น้ำเมอรร์เรย์ที่รัฐนิวเซาท์เวส์ ใกล้เมือง Wentworth

33 เมือง Wentworth Darling แม่น้ำดาร์ลิง (Darling River) ไหลรวมกับแม่น้ำเมอรร์เรย์ที่รัฐนิวเซาท์เวส์ ใกล้เมือง Wentworth Murray Darling Murray Murray

34 แม่น้ำดาร์ลิง(Darling River) - แม่น้ำสายสำคัญของออสเตรเลีย - แม่น้ำสายที่ยาวที่สุดของออสเตรเลีย - ตั้งอยู่ทางตะวันออกเฉียงใต้ของออสเตรเลีย - ไหลผ่านรัฐนิวเซาท์เวลส์ โดยมีแม่น้ำสาขาหลายสาย - ไหลรวมกับแม่น้ำเมอรร์เรย์ที่รัฐนิวเซาท์เวส์ ใกล้เมือง Wentworth


ดาวน์โหลด ppt AUSTRALIA GEOGRAPHY OF AUSTRALIA-OCEANIA อาจารย์สอง : TAWEESAK GUNYOCHAI : Satit UP.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google