พีสสลัลฌ์ ธำรงศ์วรกุล Ph.D. สุภาภรณ์ ตันตินันทตระกูล Ph.D.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การพยากรณ์โรคความดันโลหิตสูง
Advertisements

ชื่อเรื่องอะไรว่าไป ชื่อเรื่องภาษาอังกฤษ
อัตราตายต่อประชากรแสนคนด้วยโรคไม่ติดต่อที่สำคัญ ปี พ.ศ
Cardiac Center Maharatnakhonratchasima Hospital service plan 2016
ตำบลจัดการสุขภาพ5กลุ่มวัยแบบบูรณาการ
จังหวัดกาฬสินธุ์ของเราจะมีงานวิจัยที่ดีและจำนวนมากพอได้อย่างไร?จังหวัดกาฬสินธุ์ของเราจะมีงานวิจัยที่ดีและจำนวนมากพอได้อย่างไร? สงัด เชื้อลิ้นฟ้า (BPH,
แนวทาง การดำเนินงาน องค์กรหัวใจดี แนวทาง แพทย์หญิงจุรีพร คงประเสริฐ 24 ธ.ค
การบริหารจัดการข้อมูลความเสี่ยงด้านสุขภาพ และสิ่งแวดล้อม ตามรอยครู :
ทิศทางการพัฒนา พฤติกรรมสุขภาพ 4.0
การวิจัยทางการท่องเที่ยว
รองอธิบดีกรมควบคุมโรค นายแพทย์อัษฎางค์ รวยอาจิณ
การวิจัยเชิงปริมาณ ดร.บรินดา สัณหฉวี.
กลยุทธ์สร้างความแข็งแกร่งทางการเงินหลังเกษียณ สำหรับข้าราชการไทย
แผนงาน ที่ 3 การป้องกันควบคุมโรคและลดปัจจัยเสี่ยงด้านสุขภาพ
ชวนคิดชวนคุยลุยงาน สุขาภิบาลอาหารและน้ำ
การเบิกจ่ายค่าจ้างเหมาบริการ
สถานการณ์ของโรคไข้หวัดใหญ่ในปี ๒๕๕๘
องค์การทางการเงินทางเศรษฐกิจระหว่างประเทศ
ความท้าทายในการป้องกันควบคุมโรคไม่ติดต่อ
วิชา ระเบียบวิธีวิจัย Research Methodology บทที่ 4 ประชาการและการสุ่มตัวอย่าง อ.สุรินทร์ทิพ ศักดิ์ภูวดล สำนักวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร.
การทำงานเชิงวิเคราะห์
แผนงานควบคุมโรคไม่ติดต่อและปัจจัย เสี่ยง
รพ.สต.ติดดาว (5 ดาว 5 ดี) สู่ประชาชนสุขภาพดี
ดร.นพ.ภานุวัฒน์ ปานเกตุ ผู้อำนวยการสำนักโรคไม่ติดต่อ
การประชุมชี้แจงการดำเนินงานป้องกัน ควบคุมโรคไม่ติดต่อและการบาดเจ็บ
สรุปผลการดำเนินงานพัฒนาระบบบริการสุขภาพ สาขาโรคไม่ติดต่อ
แผนงาน/โครงการ สร้างเสริมสุขภาพช่องปากผู้สูงอายุ
Students’ Attitudes toward the Use of Internet
กลุ่มวัยทำงาน เขตสุขภาพที่ 5 28 ตุลาคม 2558
ประเด็นยุทธศาสตร์ : การสร้างระบบสุขภาพเพื่อประชาชนที่ทุกคนเป็นเจ้าของ
สู่สุขภาพและคุณภาพชีวิต
(Promotion and Prevention Excellence) นายแพทย์ธงชัย เลิศวิไลรัตนพงศ์
พ.ญ.เสาวลักษณ์ ชาวโพนทอง อายุรแพทย์โรคไต โรงพยาบาลพระนครศรีอยุธยา
ผลงานประเภทวิจัยชั้นเรียน
Miss. Teeranuch Sararat Teerapada Technological College
กลุ่มงานควบคุมโรคไม่ติดต่อ สุขภาพจิต และยาเสพติด
แนวคิดเรื่องการรู้สารสนเทศ
ปัญหาสุขภาพจิตกับการใช้สุรา: แนวโน้มกับการป้องกัน
องค์กรรอบรู้สุขภาพ (Health Literate Organization)
Don Bosco Banpong Technological College
EM: Asst.Prof.Dr.PattanaSirichotpundit, Ph.D.
EM: Asst.Prof.Dr.PattanaSirichotpundit, Ph.D.
โครงการส่งเสริมสุขภาพช่องปากผู้สูงอายุ ชุมชนบ้านทุ่งโหลง อ. เมือง จ
การส่งเสริมสุขภาพในสถานประกอบการ (Workplace Health Promotion)
ประชุมร่วมแลกเปลี่ยนถ่ายทอดนโยบายทิศทางการทำงานงาน NCDs
สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีสยามบริหารธุรกิจ (SBAC)
การขับเคลื่อนงานอนามัยการเจริญพันธุ์ ในมารดา อายุ 35 ปีขึ้นไป
การสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ
สวัสดิการและประโยชน์เกื้อกูลของข้าราชการ
การเตรียมการ มาตรการชุมชน
สำนักงานเกษตรอำเภอเมืองสมุทรสงคราม
กองสุขศึกษา กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับเกมออนไลน์ ในเขตกรุงเทพมหานคร
อ.ดร.พิมพ์ใจอุ่นบ้าน MD.พยาบาลชุมชน เวชปฏิบัติ
บทที่ 15 พัลส์เทคนิค
ความสัมพันธ์ระหว่างรูปเรขาคณิต
กลุ่มงานควบคุมโรคไม่ติดต่อ สุขภาพจิตและยาเสพติด
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทางการจัดการ โลจิสติกส์
สาธารณสุขจังหวัดสกลนคร
การดำเนินงานอนามัยแม่และเด็ก
เครือข่ายโภชนาการช่วงแรกของชีวิต ประเทศไทย
สถานการณ์ วิกฤติ 7 ระดับ
เขตสุขภาพที่ 10 มุกศรีโสธรเจริญราชธานี
สร้างเครือข่ายในชุมชน
ผู้วิจัย : สุภาพร อภิพันธุ์
สำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควมคุมโรค
แผนการดำเนินงาน คปสอ. (DPAC)
การนำเสนอผลงานการวิจัยครั้งที่ ๘
Thamuang Hospital Kanchanaburi Thailand
ประสานโครงการพัฒนาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ใบสำเนางานนำเสนอ:

พีสสลัลฌ์ ธำรงศ์วรกุล Ph.D. สุภาภรณ์ ตันตินันทตระกูล Ph.D. ความรอบรู้ทางด้านสุขภาพและ การจัดการความรู้สำหรับกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง กรฐณธัช ปัญญาใส Ph.D. พีสสลัลฌ์ ธำรงศ์วรกุล Ph.D. สุภาภรณ์ ตันตินันทตระกูล Ph.D.

WHO UN Death 2568 Network World Bank รัฐบาลประเทศต่างๆ 25%

Health Literacy Factor Thailand Integration DM,HT,CA Health Promotion Factor Health Literacy Integration Thailand DM,HT,CA Heart Disease,Stroke,

Chiang Rai 2555-2556 Risk DM 11% Risk HT 34%

วัตถุประสงค์ของการวิจัย เพื่อศึกษาความรอบรู้ทางด้านสุขภาพกลุ่มเสี่ยงเบาหวานและความดันโลหิตสูง เพื่อการจัดการความรอบรู้ทางด้านสุขภาพของกลุ่มแกนนำสุขภาพชุมชน

ขอบเขตของการวิจัย การวิจัยครั้งนี้มีขอบเขตของการศึกษาความรอบรู้ทางด้านสุขภาพของกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงที่ขึ้นทะเบียนกลุ่มเสี่ยงของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพและกลุ่มแกนนำสุขภาพชุมชน ตำบลแม่กรณ์ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงราย

วิธีการดำเนินการวิจัย ระเบียบวิธีวิจัยแบบผสมผสานวิธี (Mix Method) เพื่อศึกษาความรอบรู้ทางด้านสุขภาพของกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงและการจัดการความรอบรู้กลุ่มแกนนำสุขภาพชุมชน

ประชากรและกลุ่มตัวอย่างในการวิจัย คือ การสำรวจความรอบรู้ทางด้านสุขภาพกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงที่ขึ้นทะเบียนเป็นกลุ่มเสี่ยง จำนวน 103 คน(Krejcie& Morgan.1970)7โดยการสุ่มแบบอย่างง่าย

ประชากรและกลุ่มตัวอย่างในการวิจัย คือ การจัดการความรอบรู้ทางด้านสุขภาพกลุ่มแก่นนำสุขภาพชุมชน จำนวน 10 คน ประกอบด้วย ผู้ใหญ่บ้าน จำนวน 1 คน, ประธานอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน จำนวน 3 คน, ปราชญ์สุขภาพชุมชน จำนวน 2 คน, แกนนำสุขภาพชุมชน จำนวน 3 คน และผู้ป่วยต้นแบบ จำนวน 1 คน โดยการสุ่มเจาะจง (Purposive sampling)

เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย แบบประเมินความรอบรู้ทางด้านสุขภาพของคนไทย กองสุขศึกษา ผลการสำรวจความรอบรู้ทางด้านสุขภาพของกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง แนวคำถามการจัดการความรอบรู้ทางด้านสุขภาพเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพกลุ่มเสี่ยง

การเก็บรวบรวมข้อมูล คณะผู้วิจัยประสานกับพื้นที่เพื่อขอความร่วมมือในการตอบแบบสอบถามเพื่อการวิจัย คณะผู้วิจัยดำเนินการเสนอขอการรับรองจริยธรรมในการวิจัยได้รับการอนุมัติหมายเลขการวิจัย 10/2558 ลงวันที่ 9 มิถุนายน 2558 คณะผู้วิจัยดำเนินเก็บรวบรวมข้อมูลตามขั้นตอนการวิจัย

สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ยและค่า ค่าดัชนีความสอดคล้อง (IOC)

ผลการศึกษา

วัตถุประสงค์ข้อที่ 2 เพื่อการจัดการความรอบรู้ทางด้านสุขภาพกลุ่มแกนนำสุขภาพชุมชน

การจัดการความรู้ความเข้าใจทางสุขภาพ การขาดความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับเบาหวานและความดันโลหิตสูง เป็นกลุ่มขนาดใหญ่ ระยะเวลาในการบรรยายสั้น ไม่กล้าสอบถามประเด็นที่ไม้เข้าใจหรือสับสน ป่อแม่ใครเป๋น...ลูกเต้าหลานเหลน...ตึงเป็นหมด เวลาหมอเปิ้ลมาอู้...คนกะนัก...เฮาตึงไม่กล้าถาม

การเข้าถึงข้อมูลและบริการสุขภาพ การไม่กล้าเข้าพบในการปรึกษาหาแนวทางป้องกันโรค ช่วงเวลาว่างไม่ตรงกับการให้บริการของบุคลากรสาธารณสุข เฮาบ่ใจคนไข้....เฮาตึงบ่กล้าไปอู้กับหมอ กว่าจะลุกโต้งลุกนามา...มันกะค่ำกะมืดหละ

การสื่อสารเพื่อเพิ่มความเชี่ยวชาญทางสุขภาพ ขาดที่ปรึกษาทางด้านสุขภาพ การเข้าใจความหมายของสื่อที่ผิด เวลาสงสัยอะหยั๋ง...ตังสุขภาพ...กะบ่ฮู้จะไปอู้กับใคร เวลาหมอเปิ้ลอู้มา....บ่ฮู้ว่าใจ่ก่... จะถามกะบ่กล้าถาม

การจัดการเงื่อนไขของตนเอง การไม่มีเวลา หรือช่องทางที่ดีสำหรับกลุ่มเสี่ยง เดี๋ยวกะก๋านนั้น....ก๋านนี้....ซะปะ ตึงก๋านเปิ้ลก๋านตั๋ว

การรู้เท่าทันสื่อและสารสนเทศ การสื่อสารทางเดียวขาดบุคคลทางด้านสาธารณสุขหรือผู้รู้ให้ความเข้าใจทางที่ถูก หมอเปิ้ลบอกมาจะอี้.... บ่ฮู้ว่าใจ่ก่.... จะถามกะบ่กล้าถามนั้นกะ...

การตัดสินใจเลือกปฏิบัติที่ถูกต้อง การตัดสินใจเลือกปฏิบัติในทางที่ไม่ถูกต้องโดยไม่มีใครให้คำปรึกษาทางด้านสุขภาพ บ่ฮู้จะไปถามใครดีนั้นกะ....ถามคนนั้นคนนี้....มันตึงบ่ฮู้เหมือนกันกะ

การมีส่วนร่วมกิจกรรมสุขภาพทางสังคม การไม่มีเวลาเข้าร่วมกิจกรรมต่างๆเนื่องจากการประกอบอาชีพ เดี๋ยวกะก๋านนั้นก๋านนี้ซะปะ..... ตึงก๋านเปิ้ลก๋านตั๋ว

การคงดูแลรักษาสุขภาพตนเอง การขาดความรู้ความเข้าใจในพฤติกรรมสุขภาพที่ดีและเหมาะสม จึงไม่มีการคงดูแลรักษาสุขภาพตนเอง ยะอยู่กู่วันนี้บ่ฮู้ผิด....หรือถูก... ถ้าผิดคงยังยะอยู่ต่อไปนั้นกะ

Focus group ความสอดคล้องของกิจกรรมกับบริบทชุมชน 0.99 เนื้อหา เท่ากับ 0.95 กิจกรรมรู้ก่อนชนะก่อน กิจกรรมหมอน้อยประจำตัว Focus group กิจกรรมขาด 3 ตัดสิทธิ กิจกรรม ไม่เข้าใจให้ถาม กิจกรรมเคาะประตูบ้าน การนำไปใช้ใน ชีวิตประจำวัน 1.00 สื่อการจัดการเรียนรู้ 1.00

ข้อเสนอแนะในการทำวิจัยครั้งต่อไป ควรนำผลกิจกรรมการสร้างเสริมสุขภาพครั้งนี้ไปทดลองใช้กับกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง ควรนำกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพในครั้งนี้ไปศึกษาเพิ่มเติมในแต่ละชุมชนที่มีบริบทแตกต่างกัน เช่น ชุมชนเมือง ชุมชนชนบท เป็นต้น เพื่อหาปัจจัยด้านอื่นๆ ที่ส่งผลกระทบต่อความสำเร็จ ของการสร้างเสริมสุขภาพเพื่อความรอบรู้ทางด้านสุขภาพ