อันตรายของควันบุหรี่มือสองกับโรคเรื้อรัง ผศ.พว.กรองจิต วาทีสาธกกิจ มูลนิธิรณรงค์เพื่อการไม่สูบบุหรี่
ควันบุหรี่มือสองคืออะไร? ๑. ควันบุหรี่ในมวน (Mainstream smoke : MS) คือควันที่สูดเข้าในร่างกาย แล้วพ่นออกมา ๒. ควันบุหรี่นอกมวน (Sidestream smoke : SS) คือควันบุหรี่ที่ลอยอยู่ด้านนอกขณะที่ไม่มีการสูดควัน ควันบุหรี่มือสองคือควันบุหรี่ทั้งที่คนสูบพ่นออกมาและที่ลอยอยู่ระหว่างไม่ดูด Smokers inhale mainstream smoke (MS), which is drawn through the burning tobacco column and the filter tip of a filtered cigarette. Non-smokers mainly inhale sidestream smoke (SS), which is emitted into the surrounding air in between puffs and some exhaled MS. Sidestream smoke is the major source of so-called ‘environmental tobacco smoke’ (ETS), which is the combination of exhaled MS and SS.1 MS and SS smoke are generated under different combustion conditions. When undiluted SS and MS are compared, concentrations of some key toxins tend to be higher in SS. However, SS is quickly diluted as it moves away from the cigarette. The concentrations of the various components in air depend on distance from the cigarette, and the level of ventilation, among other factors. References: 1. Harris J. Cigarette smoke components and disease: cigarette smoke is more than a triad of tar, nicotine and carbon monoxide. In Monograph 7. The FTC cigarette test method for determining tar, nicotine, and carbon monoxide yields of US cigarettes. Report of the NCI Expert Committee 1996. Bethesda, MD: US Department of Health and Human Services, Public Health Service, National Institutes of Health. Photo Source: JM Samet Source: JM Samet มูลนิธิรณรงค์เพื่อการไม่สูบบุหรี่
มูลนิธิรณรงค์เพื่อการไม่สูบบุหรี่
มูลนิธิรณรงค์เพื่อการไม่สูบบุหรี่ ควันบุหรี่นอกมวน - คาร์บอนไดออกไซด์ เพิ่มขึ้น 8 เท่า - คาร์บอนมอนอกไซด์ เพิ่มขึ้น 2.5 เท่า - ทาร์ เพิ่มขึ้น 1.3 เท่า - นิโคติน เพิ่มขึ้น 2.7 เท่า ไดเมธิลไนโตรซามีน (สารก่อมะเร็ง) เพิ่มขึ้น 52 เท่า มูลนิธิรณรงค์เพื่อการไม่สูบบุหรี่
รายงานของกระทรวงสาธารณสุขสหรัฐอเมริกา พ.ศ.๒๕๔๙ รายงานของกระทรวงสาธารณสุขสหรัฐอเมริกา พ.ศ.๒๕๔๙ ควันบุหรี่มือสอง : มลพิษทางอากาศที่ร้ายแรงที่สุด - ควันบุหรี่มือสองมีสารพิษและสารก่อมะเร็งหลายร้อยชนิด เช่น ฟอร์มาลดีไฮด์ เบนซิน วินิลคลอไรด์ อาร์เซนิก แอมโมเนีย และ ไฮโดรเจนไซยาไนด์ เป็นต้น - ควันบุหรี่มือสองเป็นสาเหตุของโรคและการตายก่อนวัยอันควร ในเด็กและผู้ใหญ่ที่ไม่สูบบุหรี่แต่ได้รับควันบุหรี่มือสอง
ผลการวิจัยของไทย
ควันยาสูบมือสาม หมายถึงควันยาสูบที่ติดผิวหนังเสื้อผ้าของผู้สูบและเกาะติดอยู่กับอากาศเฟอร์นิเจอร์ ทุกสิ่งที่สัมผัสควันยาสูบ รายงานผลการวิจัยจากห้องทดลอง Berkeley Lab ตรวจสอบเนื้อเยื่อผิวหนังของคนสูบบุหรี่เพื่อค้นหา นิโคตินจากควันยาสูบมือสามหลังจากสูบแล้ว 3 ชั่วโมง พบระดับ TSNAs สูงขึ้น 10 เท่า ซึ่งสารนี้เป็นสารก่อมะเร็ง
TSNAs Tobacco-specific N-nitrosamines (TSNAs) are known to be some of the most potent carcinogens present in smokeless tobacco, snuff and tobacco smoke. TSNAs consist of four chemical compounds: N-nitrosonornicotine (NNN) 4-methyl-N-nitrosamino-1-(3-pyridyl)-1-butanone (NNK) N-nitrosoanatabine (NAT) N-nitrosoanabasine (NAB) Two of these chemical compounds, NNN and NNK, have been classifed as Group 2B carcinogens.
ควันยาสูบมือสาม นิโคตินในควันบุหรี่มือสาม เกาะติดกับทุกอย่างในสภาพแวดล้อม สิ่งของในห้อง ในบ้าน เป็นเวลานาน อาจเป็นวัน หรือนานเป็นเดือน ซึ่งจะทำปฏิกิริยากับมลภาวะ ไนตรัสเอซิดในอากาศ กลายเป็นสารก่อมะเร็งที่เป็นอันตรายต่อมนุษย์ได้ ลมหายใจหลังสูบบุหรี่ 10 นาที มีพิษเหมือนได้รับควันบุหรี่โดยตรง
องค์ประกอบของควันบุหรี่ Acetone Ammonia Arsenic Benzopyrene Carbonmonoxide DDT Formaldehyde Hydrogen cyanide Naphthalene Nicotine Toluene น้ำยาล้างเล็บ น้ำยาล้างห้องน้ำ ยาเบื่อหนู ควันจากเครื่องยนต์ดีเซล ก๊าซจากควันท่อไอเสีย ยาฆ่าแมลง น้ำยาดองศพ ก๊าซที่ใช้ในการประหารชีวิต ลูกเหม็น สารละลายที่ใช้ในโรงงาน
โรคที่เกิดจากการรับความบุหรี่มือสองในผู้ใหญ่ ผู้หญิงที่มีสามีสูบบุหรี่จะมีความเสี่ยงของการเกิดมะเร็งปอดเพิ่มขึ้น 24% ผู้ที่ทำงานในที่ที่มีคนสูบบุหรี่จะมีความเสี่ยงเพิ่มขึ้น 19% การสูบบุหรี่มือสองเพิ่มมะเร็งเต้านม ช่องคอ ปากมดลูก เม็ดเลือดขาว
โรคที่เกิดจากการรับความบุหรี่มือสองในผู้ใหญ่ เส้นเลือดหัวใจอุดตัน (ischemic heart disease) ผู้ที่ได้รับควันบุหรี่มือสองจะมีโอกาสเป็นโรคหัวใจขาดเลือดเพิ่มขึ้น 30% (เท่ากับผู้สูบบุหรี่วันละ 1-9 มวน)
พิษภัยของบุหรี่ต่อคนข้างเคียง พ่อ/แม่สูบ ลูกในท้องได้รับพิษ มูลนิธิรณรงค์เพื่อการไม่สูบบุหรี่
ในหญิงมีครรภ์และทารก มารดามีภาวะแทรกซ้อนจากการตั้งครรภ์มากขึ้น การสูบบุหรี่ระหว่างตั้งครรภ์เสี่ยงต่อการเกิดมะเร็งเต้านมเพิ่มขึ้น ทารกแรกเกิดน้ำหนักตัวน้อย ทารกเสี่ยงต่อการเสียชีวิตขณะคลอดหรือเกิดความพิการแต่กำเนิดเพิ่มขึ้น เสี่ยงต่อการเกิดโรคไหลตายในเด็ก (SIDS) สูงขึ้น พัฒนาการของสมองและปอดจะน้อยกว่าเด็กที่ไม่ได้รับควันบุหรี่ มีอัตราการเกิดโรคหืดเพิ่มขึ้น มูลนิธิรณรงค์เพื่อการไม่สูบบุหรี่ มูลนิธิรณรงค์เพื่อการไม่สูบบุหรี่
โรคที่เกิดจากการรับควันบุหรี่มือสองในเด็ก โรคไหลตายในเด็ก เด็กทารกที่มีผู้ปกครองสูบบุหรี่จะมีโอกาสเกิดภาวะนี้เพิ่มขึ้น 2 เท่า ประมาณ 1 ใน 4 ของเด็กที่เสียชีวิตจาก SIDS ในประเทศอังกฤษเกิดจากการที่ผู้ปกครองสูบบุหรี่
โรคที่เกิดจากการรับควันบุหรี่มือสองในเด็ก เด็กมีโอกาสเกิดหลอดลมอักเสบหรือปอดอักเสบเพิ่มขึ้น 57% ถ้าผู้ปกครองสูบบุหรี่ เด็กจะมีอาการผิดปกติทางระบบหายใจ เช่น มีอาการแน่นหน้าอก มีอาการไอ มีเสมหะมาก เด็กมีโอกาสเกิดโรคหืด (asthma) เพิ่มขึ้น 23-39%
ผลของทารกในครรภ์จากควันบุหรี่มือสอง ในมารดาที่ได้รับควันบุหรี่มือสอง ส่วนประกอบของควันบุหรี่มือสองสามารถผ่าน placenta ไปยังทารกได้ สารที่มีความสำคัญคือ carbonmonoxide และ nicotine ซึ่งจะมีผลต่อการพัฒนาและเติบโตของทารกในครรภ์ได้ เด็กในครรภ์จะมีโอกาสเกิดภาวะน้ำหนักตัวน้อย, คลอดก่อนกำหนดหรือเสียชีวิตในครรภ์ได้
การวิจัยที่โรงพยาบาลราชวิถี ในเด็กอายุต่ำกว่า 5 ขวบที่ได้รับควันบุหรี่มือสอง การที่สมาชิกในบ้านที่สูบบุหรี่อุ้มเด็ก เล่นกับเด็กและป้อนอาหารเด็ก - เพิ่มความเสี่ยงที่เด็กจะติดเชื้อทางเดินหายใจ 4.1 เท่า - เพิ่มความเสี่ยงต่อการป่วยเป็นโรคหืด 3.1 เท่า รศ.ดร.เนาวรัตน์ เจริญค้า พ.ศ 2549
การได้รับควันบุหรี่มือสอง (%) ในที่ทำงาน (ไทย) ภาคใต้ 40.8 ภาคอีสาน 31.1 ภาคเหนือ 27.6 ภาคกลาง 24.0 กทม. 18.2 การสำรวจการสูบบุหรี่ในผู้ใหญ่ระดับโลก 2554
การได้รับควันบุหรี่มือสองในบ้าน (%) ภาคใต้ 54.1 ภาคเหนือ 34.6 ภาคอีสาน 34.5 ภาคกลาง 36.4 กทม. 19.0 เฉลี่ย 36.0 การสำรวจการสูบบุหรี่ในผู้ใหญ่ระดับโลก 2554
จำนวนผู้ไม่สูบบุหรี่ ที่ได้รับควันบุหรี่มือสองในบ้าน ผู้ชาย = 3.1 ล้านคน ผู้หญิง = 8.4 ล้านคน รวม = 11.5 ล้านคน การสำรวจการสูบบุหรี่ในผู้ใหญ่ระดับโลก 2554
อิทธิพลของการได้รับควันบุหรี่มือสอง วัยรุ่นที่ไม่สูบบุหรี่ที่ได้รับควันบุหรี่มือสองที่บ้าน มีโอกาสติดบุหรี่เพิ่มขึ้น 1.4 ถึง 2.1 เท่า เมื่อเทียบกับวัยรุ่นที่ไม่ได้รับควันบุหรี่มือสองที่บ้าน เอกสารวันงดสูบบุหรี่โลก 2551องค์การอนามัยโลก
การสำรวจความคิดเห็นเรื่องการสูบบุหรี่ และการรณรงค์ “บ้านปลอดบุหรี่” ของผู้ปกครอง 658 คนที่พาบุตรหลานอายุ 1-4 ขวบ มารับบริการตรวจรักษาที่สถาบันเด็กแห่งชาติมหาราชินี กุมภาพันธ์ 2551 สำนักวิจัยเอแบคโพลล์ กุมภาพันธ์ 2551
สำนักวิจัยเอแบคโพลล์ กุมภาพันธ์ 2551 สำนักวิจัยเอแบคโพลล์ กุมภาพันธ์ 2551 ร้อยละ 82 ของผู้ปกครองที่สูบบุหรี่มีการสูบบุหรี่ในบ้าน %ของผู้ปกครองที่ทราบว่า ควันบุหรี่มือสอง ทำให้เด็กป่วยด้วยโรคต่อไปนี้ - เป็นหวัดบ่อยขึ้น = 37.0% - เกิดการติดเชื้อทางเดินหายใจ = 51.8% - เกิดหลอมลมอักเสบ = 48.8% - ทำให้หืดจับบ่อยขึ้น = 53.8% - เกิดโรคหูน้ำหนวก = 17.4% - เกิดโรคไหลตาย = 17.0%
การสำรวจความคิดเห็นเด็กนักเรียน ม. 1 – ม การสำรวจความคิดเห็นเด็กนักเรียน ม.1 – ม.3 จำนวน 271 คน การได้รับวันบุหรี่มือสองเป็นอันตรายต่อสุขภาพ เด็กที่สูบบุหรี่ เด็กที่ไม่สูบบุหรี่ เห็นด้วย 55% 65.6% ไม่เห็นด้วย 45% 34.4% การสูบบุหรี่ของนักเรียน ม.1-ม.3 จ.สระบุรี ผศ.พิศิษฐ์ นามจันทรา คณะเทคนิคการแพทย์ ม.รังสิต
ประโยชน์ของการทำให้บ้านปลอดบุหรี่ คนในบ้านลดการได้รับควันบุหรี่ เป็นแบบอย่างที่ดี ลูก ๆ จะมีโอกาสติดบุหรี่น้อยลง ผู้สูบบุหรี่จะสูบน้อยลง ผู้สูบบุหรี่จะเลิกสูบได้ง่ายขึ้น
ผศ.กรองจิต วาทีสาธกกิจ มูลนิธิรณรงค์เพื่อการไม่สูบบุหรี่ เราดี เราเก่ง เราทำได้ ผศ.กรองจิต วาทีสาธกกิจ มูลนิธิรณรงค์เพื่อการไม่สูบบุหรี่