๑ ๒ ๓ ๔ ความเป็นมา โครงการพัฒนาอาชีพตามความต้องการของหมู่บ้าน/ชุมชน เพื่อบรรเทาผลกระทบภัยแล้ง กระทรวงมหาดไทย ความเป็นมา สถานการณ์ปัจจุบัน : กรมชลประทานคาดการณ์ว่า ในเดือนพฤศจิกายน 2558 เป็นต้นไป ปริมาณน้ำต้นทุนที่กักเก็บไว้ในเขื่อนและอ่างต่าง ๆ ทั่วประเทศ จะมีไม่เพียงพอต่อการประกอบอาชีพด้านการเกษตร รวมทั้งอาชีพอื่น ๆ ที่ต้องใช้น้ำมาก ๑ รัฐบาลมีความเป็นห่วงเกษตรกรและประชาชนที่จะได้รับผลกระทบจากภัยแล้ง จึงได้มีแผนงาน/โครงการที่จะให้ความช่วยเหลือเกษตรกรและประชาชนให้สามารถประกอบอาชีพและมีรายได้ ๒ มติ ครม. 6 ตุลาคม 2558 : เห็นชอบโครงการบูรณาการมาตรการช่วยเหลือเกษตรกรที่ได้รับผลกระทบภัยแล้งปี 2558/59 มี 8 มาตรการ โดยมอบหมายให้ มท. เป็นหน่วยงานหลักในการดำเนินงานตามมาตรการที่ 4 เกี่ยวกับโครงการพัฒนาอาชีพตามความต้องการของหมู่บ้าน/ชุมชน เพื่อบรรเทาผลกระทบภัยแล้ง ๓ มติ ครม. 27 ต.ค. 2558 : รับทราบผลการประชุมการบูรณาการแก้ไขปัญหาวิกฤตภัยแล้งและพิจารณากรอบแนวทางการจัดทำแผนพัฒนาอาชีพเกษตรกรตามความต้องการของชุมชนเพื่อบรรเทาภัยแล้งปี 2558/59 ตามที่ มท. เสนอ และให้ มท. + กษ. รับความเห็นของ สงป.และ สศช.ไปพิจารณาดำเนินการในส่วนเกี่ยวข้อง ๔
4. มาตรการเสนอโครงการตามความต้องการของชุมชนเพื่อบรรเทาผลกระทบภัยแล้ง โครงการบูรณาการมาตรการช่วยเหลือเกษตรกรที่ได้รับผลกระทบจากภัยแล้ง ปี 2558/59 1. มาตรการส่งเสริมความรู้และสนับสนุนปัจจัยการผลิตเพื่อลดรายจ่ายในครัวเรือน 2. มาตรการชะลอหรือขยายระยะเวลาหนี้ 3. มาตรการจ้างงานเพื่อสร้างรายได้ให้แก่เกษตรกร 4. มาตรการเสนอโครงการตามความต้องการของชุมชนเพื่อบรรเทาผลกระทบภัยแล้ง 5. มาตรการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้น้ำ 6. มาตรการเพิ่มปริมาณน้ำต้นทุน 7. มาตรการเสริมสร้างสุขภาพและความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน 8. มาตรการสนับสนุนอื่นๆ
เป้าหมาย กระทรวงมหาดไทย น้อมนำหลักการทรงงานเรื่อง“ระเบิดจากข้างใน” ที่ทรงให้ประชาชนเป็นผู้คิด ตัดสินใจ และทำด้วยตนเองมาเป็นแนวทางในการแก้ไขปัญหาและช่วยเหลือเกษตรกรที่ได้รับผลกระทบจากภัยแล้งอย่างเหมาะสมกับพื้นที่และยั่งยืน ๑ เกษตรกรที่ได้รับผลกระทบจากภัยแล้งได้รับการช่วยเหลือจากรัฐบาล และ ลดความขัดแย้งเกี่ยวกับการใช้น้ำของเกษตรกรในพื้นที่ต่าง ๆ ๒ สร้างโอกาสในการพัฒนาอาชีพและโครงสร้างการผลิตที่เหมาะสมตามความสมัครใจของประชาชน ก่อให้เกิดการสร้างงาน สร้างรายได้และแหล่งอาหารในหมู่บ้าน/ชุมชน โดยคำนึงถึงแผนการบริหารจัดการพื้นที่เกษตรกรรม (Zoning) ๓
กลไกการบริหาร กลั่นกรองและพิจารณาอนุมัติโครงการ ครม. : อนุมัติกรอบวงเงิน สำนักงบประมาณ คณะกรรมการอำนวยการบูรณาการฯ เห็นชอบกรอบวงเงิน/เสนอ ครม. กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ สนง. เกษตรจังหวัด ศูนย์อำนวยการเฉพาะกิจแก้ไขวิกฤติ ภัยแล้งจังหวัด คณะทำงานขับเคลื่อนฯ และ สงป 18 เขต ศบกต. ศูนย์อำนวยการเฉพาะกิจแก้ไขวิกฤติ ภัยแล้งอำเภอ ศบกต./ประธาน กม./ชุมชน จัดทำแผนพัฒนาอาชีพฯ/รายละเอียดโครงการ ทีมประเทศระดับตำบล : ฝ่ายปกครอง ส่วนราชการที่เกี่ยวข้องในพื้นที่ ปราชญ์ NGO ผู้แทนสภาเกษตร จัดเตรียมข้อมูล + ความต้องการ
กระบวนการอนุมัติโครงการ กระทรวงมหาดไทย ทีมประเทศไทยประจำตำบล ทำหน้าที่สนับสนุน องค์ความรู้ด้านการเกษตรตามหลักการโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริประเภทต่าง ๆ และหลักวิชาการ/ อาชีพใหม่ รวมทั้งการหาช่องทางลดต้นทุน การผลิต/หาตลาดรองรับผลผลิต ศูนย์อำนวยการเฉพาะกิจแก้ไขปัญหาวิกฤตภัยแล้งอำเภอ : กลั่นกรอง/รวบรวมเสนอศูนย์ฯ จังหวัด ๑ 15 วัน อุดหนุนผ่านศูนย์บริการและถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตรประจำตำบล (ศบกต.) ระยะ เวลาดำเนินการ คณะกรรมการอำนวยการบูรณาการแก้ไขปัญหาวิกฤตภัยแล้งปี 2558/59 : เห็นชอบกรอบวงเงินและเสนอคณะรัฐมนตรี คณะรัฐมนตรี : อนุมัติกรอบวงเงิน สำนักงบประมาณ : อนุมัติงบประมาณ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ สำนักงานเกษตรจังหวัด เกษตรกร ดำเนินโครงการ 90 วัน 7 วัน 14 วัน (ขั้นตอน (๖ - ๘) คณะทำงานขับเคลื่อนมาตรการส่งเสริมความเป็นอยู่ของประชาชนระดับจังหวัด (มติ ครม. 22 ก.ย. 2558)/คณะกรรมการศูนย์อำนวยการเฉพาะกิจแก้ไขปัญหา วิกฤตภัยแล้งระดับจังหวัดปี 2558/59 +CBO เขต 1-18 ร่วมกลั่นกรองโครงการ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘
กระบวนการอนุมัติโครงการระดับจังหวัด ระดับส่วนกลาง ศูนย์อำนวยการเฉพาะกิจแก้ไขปัญหาวิกฤตภัยแล้งอำเภอ สำนักงานเกษตรจังหวัด สำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัด สำนักงานจังหวัด กรณีพืชใช้น้ำน้อย กรณีการเกษตรอื่น กรณีนอกภาคเกษตร คณะกรรมการศูนย์อำนวยการเฉพาะกิจแก้ไขปัญหา วิกฤตภัยแล้งระดับจังหวัด / คณะทำงานขับเคลื่อนมาตรการส่งเสริมความเป็นอยู่ของประชาชนระดับจังหวัด+CBO เขต 1-18 กรมส่งเสริมการ เกษตร (กพวศ.) ทีมฝ่ายเลขาฯ คณะกรรมการอำนวยการฯ (สป.กษ.) ระดับจังหวัด
กรอบระยะเวลาดำเนินงาน กระทรวงมหาดไทย กรอบระยะเวลาดำเนินงาน ระยะเวลาการดำเนินงานแบ่งเป็น 2 ระยะ เนื่องจากแต่ละภาคได้รับผลกระทบจากภัยแล้งที่แตกต่างกัน ระยะที่ ๑ แยกเป็น 2 กรณี ระยะที่ 2 ด้านการเกษตรอื่นๆ อาชีพนอกภาคการเกษตร งานหัตถกรรม และการ จ้างงาน โครงการ ภายในวันที่ 18 ธันวาคม 2558 จังหวัดส่งโครงการ ชุมชนเริ่มดำเนินโครงการ กรณีที่ 1 : การปลูกพืชโดยอาศัยความชื้นในดิน เช่น พืชตระกูลถั่ว ชุมชนมีความจำเป็นต้องเร่งเสนอโครงการ เพื่อให้ชุมชนสามารถปลูกพืชในขณะที่ดินยังมีความชื้นเพียงพอสำหรับการเจริญเติบโต โดยชุมชนควรปลูกพืช ให้แล้วเสร็จภายในเดือนพฤศจิกายน - ธันวาคม กรณีที่ 2 : การปลูกพืชโดยอาศัยแหล่งน้ำในชุมชนหรือแหล่งน้ำของตนเอง ชุมชนสามารถเสนอโครงการ ตามกรอบระยะเวลาการดำเนินงานตามแผนที่กำหนด อย่างไรก็ตามชุมชนควรปลูกพืชดังกล่าวไม่เกินวันที่ 15 มกราคม เพื่อไม่ให้มีผลกระทบต่อการปลูกพืชหลักของชุมชนในฤดูกาลต่อไป ภายในวันที่ 18 พฤศจิกายน 2558 จังหวัดส่งโครงการ ตั้งแต่วันที่ 4 กุมภาพันธ์ 2559 ตั้งแต่วันที่ 13 ธันวาคม 2558 ชุมชนเริ่มดำเนินโครงการ
กรอบระยะเวลาดำเนินโครงการ กระทรวงมหาดไทย กิจกรรม ระยะที่ 1 : การปลูกพืชที่ใช้น้ำน้อย ระยะที่ 2 : กิจกรรมการเกษตรและนอกภาคการเกษตรอื่น ๆ หมู่บ้าน/ชุมชน จัดทำแผนพัฒนาอาชีพฯ เสนอผ่านคณะกรรมการกลั่นกรองฯ ระดับ อำเภอ 3 - 15 พ.ย. 58 (13 วัน) 3 พ.ย.–3 ธ.ค. 58 (30 วัน) คณะกรรมการศูนย์อำนวยการเฉพาะกิจฯ ระดับจังหวัด + คณะทำงานขับเคลื่อน มาตรการส่งเสริมความเป็นอยู่ของประชาชน ระดับจังหวัด +CBO เขต 1-18 ร่วม กลั่นกรองโครงการ 16 - 18 พ.ย. 58 (3 วัน) 4 - 18 ธ.ค. 58 (15 วัน) คณะกรรมการอำนวยการบูรณาการแก้ไข ปัญหาวิกฤตภัยแล้งปี58/59 พิจารณาและ เสนอ ครม. อนุมัติงบประมาณให้อยู่ใน กรอบวงเงิน 19 - 23 พ.ย. 58 (5 วัน) 21 – 28 ธ.ค. 58 (8 วัน) ครม. อนุมัติกรอบวงเงิน พร้อม สงป. อนุมัติงบประมาณ 24 - 28 พ.ย. 58 29 ธ.ค. 58 - 12 ม.ค. 59 (15 วัน) กษ.ขอรับการจัดสรรงบประมาณ หมวดเงิน อุดหนุน จาก สงป. 28 พ.ย. - 2 ธ.ค.58 13 - 19 ม.ค. 59 (7 วัน) สงป. โอนเงินให้ กษ. 3 - 7 ธ.ค. 58 20 - 26 ม.ค. 59 กษ. โอนเงินให้สำนักงานเกษตรจังหวัด 8 - 12 ธ.ค. 58 27 ม.ค. - 3 ก.พ. 59 (8 วัน) หมู่บ้าน/ชุมชนดำเนินโครงการที่ได้รับ อนุมัติ 13 ธ.ค. 58 4 ก.พ. – พ.ค. 59 กิจกรรม ระยะที่ 1 : การปลูกพืชที่ใช้น้ำน้อยและอาศัยความชื้น ระยะที่ 2 : กิจกรรมการเกษตรและนอกภาคการเกษตรอื่น ๆ หมู่บ้าน/ชุมชน จัดทำแผนพัฒนาอาชีพฯ เสนอผ่านคณะกรรมการกลั่นกรองฯ ระดับ อำเภอ 3 - 15 พ.ย. 58 (13 วัน) 3 พ.ย.–3 ธ.ค. 58 (30 วัน) คณะกรรมการศูนย์อำนวยการเฉพาะกิจฯ ระดับจังหวัด + คณะทำงานขับเคลื่อน มาตรการส่งเสริมความเป็นอยู่ของประชาชน ระดับจังหวัด +CBO เขต 1-18 ร่วม กลั่นกรองโครงการ 16 - 18 ธ.ค. 58 (3 วัน) 4 - 18 ธ.ค. 58 (15 วัน) คณะกรรมการอำนวยการบูรณาการแก้ไข ปัญหาวิกฤตภัยแล้งปี58/59 พิจารณาและ เสนอ ครม. อนุมัติงบประมาณให้อยู่ใน กรอบวงเงิน 19 - 23 พ.ย. 58 (5 วัน) 21 – 28 ธ.ค. 58 (8 วัน) ครม. อนุมัติกรอบวงเงิน พร้อม สงป. อนุมัติงบประมาณ 24 - 28 พ.ย. 58 29 ธ.ค. 58 - 12 ม.ค. 59 (15 วัน) กษ.ขอรับการจัดสรรงบประมาณ หมวดเงิน อุดหนุน จาก สงป. 28 พ.ย. - 2 ธ.ค.58 13 - 19 ม.ค. 59 (7 วัน) สงป. โอนเงินให้ กษ. 3 - 7 ธ.ค. 58 20 - 26 ม.ค. 59 กษ. โอนเงินให้สำนักงานเกษตรจังหวัด 8 - 12 ธ.ค. 58 27 ม.ค. - 3 ก.พ. 59 (8 วัน) หมู่บ้าน/ชุมชนดำเนินโครงการที่ได้รับอนุมัติ 13 ธ.ค. 58 4 ก.พ. – พ.ค. 59
ประเภทโครงการ 1. การจัดการแหล่งน้ำเพื่อการเกษตรของชุมชน 2. การผลิตทางการเกษตรและการแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร 3. การปรับปรุงส่งเสริมศักยภาพการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต 4. การจัดการเพื่อลดความสูญเสียทางผลผลิตเกษตร 5. ด้านเศรษฐกิจพอเพียง สร้างแหล่งอาหารในชุมชน และฟาร์มชุมชน 6. ด้านการพัฒนอาชีพและสร้างรายได้ 7. ด้านอาชีพนอกภาคการเกษตร 8. ด้านแรงงาน
หลักเกณฑ์และเงื่อนไขการพิจารณาโครงการ 1. กลุ่ม/องค์กรเกษตรกร ต้องมีความสมัครใจ 2. ต้องเป็นความต้องการของชุมชนโดยผ่านกระบวนการมีส่วนร่วมและได้รับความเห็นชอบจากชุมชนยึดหลักเศรษฐกิจพอเพียง 3. ต้องดำเนินการโดยกลุ่ม/องค์กรเกษตรกรในชุมชน เกิดประโยชน์กับเกษตรกรในชุมชนอย่างทั่วถึง และต้องคิดให้ครบทั้งการ ผลิตและการตลาด 4. เป็นโครงการที่ชุมชนสามารถดูแลรักษา และใช้ประโยชน์อย่างต่อเนื่อง เป็นโครงการต่อยอดเดิมที่มีการดำเนินการแล้วได้ผล 5. ต้องมีการจ้างแรงงานให้จ้างแรงงานในชุมชนเป็นหลักโดยต้องมีสัดส่วนการจ้างแรงงานไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 ของวงเงินที่ได้รับการสนับสนุน ยกเว้นกรณีจำเป็นและมีเหตุผลที่สมควรต้องไม่ต่ำกว่าร้อยละ 30 ของงบโครงการ และต้องผ่านความเห็นชอบจากผู้แทนกระทรวงกลาโหม กระทรวงมหาดไทย และกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ในพื้นที่ ทั้งนี้ การจ้างแรงงานเกษตรกรควรพิจารณาจากแรงงานที่มีความสอดคล้องกับกิจกรรมโครงการและให้พิจารณาการจ้างแรงงานเกษตรกรที่มีรายได้น้อยเป็นลำดับแรก 6. สถานที่ดำเนินการต้องเป็นสถานที่สาธารณะที่ได้รับอนุญาตให้ใช้ประโยชน์จากหน่วยงานที่ดูแลหรือหากเป็นสถานที่ส่วนบุคคลต้องมีเอกสารยินยอมให้ใช้สถานที่นั้นๆ 7. กรณีที่เป็นการก่อสร้างอาคารและสิ่งก่อสร้างที่ระบุว่าต้องมีเอกสารรับรองจากราชการต้องดำเนินการตามระเบียบของทางราชการ
8. โครงการที่ขอรับการสนับสนุนต้องไม่ซ้ำซ้อนกับมาตรการ/โครงการของหน่วยงานต่างๆ ที่ได้รับงบประมาณในปี 2559 9. มีความพร้อมที่จะดำเนินการได้ทันทีที่มีการอนุมัติโครงการ 10. จัดลำดับความสำคัญของโครงการตามความจำเป็นเร่งด่วนของพื้นที่หมู่บ้าน/ชุมชน 11. ให้คำนึงถึงข้อมูลความต้องการด้านการตลาด ทั้งภายในท้องถิ่น ภายในประเทศ การส่งออกไปต่างประเทศ รวมทั้งเมล็ดพันธุ์ ซึ่งกระทรวงพาณิชย์และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องจะได้แจ้งข้อมูลดังกล่าวให้ทีมประเทศไทยได้รับทราบ รวมทั้งพิจารณาถึงข้อมูลปริมาณน้ำ สภาพภูมิสังคม และแผนการบริหารจัดการพื้นที่เกษตรกรรม (Zoning) เพื่อใช้เป็นข้อมูลประกอบการพิจารณา
แนวทางการพิจารณาอนุมัติโครงการระดับจังหวัด 1. มีการวิเคราะห์พื้นที่เป้าหมายประสบภัยแล้งสอดคล้องกับข้อมูลและ สถานการณ์จริง 2. พิจารณาความซ้ำซ้อนของมาตรการและโครงการ 3. เรียงลำดับโครงการตามความจำเป็นเร่งด่วน ความเป็นไปได้ทาง การตลาด (กรณีการผลิตสินค้า) ความเหมาะสม
ประเด็นการดำเนินงานตามลักษณะโครงการ - เป้าหมายดำเนินงาน กลุ่ม/องค์กรเกษตรกร ในพื้นที่ประสบภัยแล้ง - พื้นที่ประสบภัยแล้ง คือ พื้นที่ที่ทีมประเทศไทยระดับตำบลได้ทำการวิเคราะห์ข้อมูล สถานการณ์น้ำ และอื่นๆ (มท. ส่งข้อมูลให้ ผู้ว่าฯ แล้ว) และกำหนดเป็นพื้นที่ เป้าหมาย - ทุกโครงการต้องมีการจ้างแรงงาน และดำเนินการตามเงื่อนไขการจ้างงาน ตามวัตถุประสงค์เพื่อเป็นการสร้างงาน สร้างรายได้ให้กับเกษตรกร - ทุกโครงการต้องไม่มีการซื้อปุ๋ยเคมี สารเคมี และยาปราบศัตรูพืช - โครงการที่เกี่ยวข้องกับการจัดการแหล่งน้ำ ต้องไม่เป็นการสร้างแหล่งน้ำใหม่ ให้ เป็นการพัฒนาต่อยอด หรือปรับปรุง - ทุกโครงการจะไม่มีการอบรม เนื่องจากเงื่อนไขระบุไว้ว่าโครงการต้องมีความพร้อม สามารถดำเนินการได้ทันที
ประเด็นการดำเนินงานตามลักษณะโครงการ - เงื่อนไขความซ้ำซ้อนของมาตรการและโครงการ กรณี 22 จังหวัดลุ่มน้ำเจ้าพระยา ควรหลีกเลี่ยงการจัดทำโครงการพืชใช้น้ำน้อย โดยเฉพาะการจัดซื้อเมล็ดพันธุ์ เนื่องจากได้ดำเนินการตามมาตรการที่ 1 ไปแล้ว