โครงการพัฒนาเกษตรอินทรีย์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
พัฒนาระบบบริหารจัดการน้ำเพื่อการเกษตร(บูรณาการกระทรวง)
Advertisements

ประเด็นในการพัฒนา DHS-PCA
กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการบริหารการจัดการสหกรณ์
ผลการปฏิบัติงานและ งบประมาณ ของ สำนักงานสหกรณ์จังหวัด สิงห์บุรี ประจำปีงบประมาณ พ. ศ ตั้งแต่ 1 ต. ค ก. ค. 53.
การรายงานผลการปฏิบัติงาน กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาธุรกิจสหกรณ์
โครงการส่งเสริมการผลิตสินค้าเกษตรปลอดภัยและได้มาตรฐาน ปี ๒๕๕๔
สำนักงานสหกรณ์ จังหวัดกระบี่ รายงาน แผน / ผลการ ปฏิบัติงาน ประจำเดือนเมษายน 2555 กลุ่มส่งเสริมและ พัฒนาธุรกิจสหกรณ์
กลุ่มตรวจการสหกรณ์ สำนักงานสหกรณ์จังหวัดสุพรรณบุรี
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการ กรม สำนักงานสหกรณ์จังหวัด สระบุรี ( กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการบริหารการ จัดการสหกรณ์ ) ข้อมูล ณ วันที่ 25 ธันวาคม โครงการตามนโยบายรัฐบาล.
ณ 31 พฤษภาคม
ภาคีรวมใจคนไทยไร้พุง จ.ลพบุรี Lopburi’s Slimming Academy
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
ผู้รับผิดชอบ ผลผลิต ฝ่ายบริหารทั่วไป
1. 2 กิจกรรมหลัก ส่งเสริมและพัฒนา องค์กรและเกษตรกร ที่ตัวชี้วัด หน่วยนับ แผนผล % หมายเหตุ 1 สหกรณ์ผ่านเกณฑ์มาตรฐานแห่ง กลุ่มเกษตรกรผ่านเกณฑ์มาตรฐานแห่ง.
ระบบประเมินผลผู้บริหาร
ผลการปฏิบัติงานและ งบประมาณ ของ สำนักงานสหกรณ์จังหวัด สิงห์บุรี ประจำปีงบประมาณ พ. ศ ตั้งแต่ 1 ต. ค ก. ค. 53.
ตรวจการสหกรณ์ ปกติ เจ้าภาพ กจส./ กลุ่มส่งเสริม ดำเนินการแล้วอยู่ระหว่างดำเนินการยังไม่ดำเนินการ จัดทำคำสั่งแต่งตั้ง ผู้ตรวจการ 1 ติดตามประเมินผล รวบรวมรายงาน.
การบูรณาการยุทธศาสตร์สุขภาพ ด้านพัฒนาระบบการคุ้มครองผู้บริโภค
การปรับโครงสร้างการผลิตเป็นแปลงใหญ่
ปรับโครงสร้างการผลิตข้าว
โครงการเมืองเกษตรสีเขียว ปี 2557
การมอบนโยบายแนวทาง การปฏิรูปที่ดินประจำปี 2559 โดย นายสรรเสริญ อัจจุตมานัส เลขาธิการ ส. ป. ก.
โครงการส่งเสริมการหยุดการ เผาในพื้นที่การเกษตร ปี 2559 กองส่งเสริมโครงการพระราชดำริ การจัดการพื้นที่และ วิศวกรรมเกษตร กรมส่งเสริมการเกษตร.
แผนการตรวจราชการ กระทรวงสาธารณสุข กรณีปกติ เขตสุขภาพ ที่ 2.
ทิศทางการตลาด และ การ สนับสนุนเกษตร อินทรีย์ โดย น. ส. สุทัศนีย์ ราช เรืองระบิน รองอธิบดี กรมการค้าภายใน.
แผนยุทธศาสตร์การคุ้มครองผู้บริโภคแห่งชาติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ )
สร้างความเข้มแข็งของเศรษฐกิจฐานราก จากต้นทาง กลางทาง จนถึงปลายทาง
ความเป็นมา การส่งเสริมกระบวนการแผนชุมชน
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
วาระที่ สรุปผลการปฏิบัติงาน ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2559
รายงานผลการปฏิบัติงาน เดือนมกราคม 2559
ปัจจัยแห่งความสำเร็จ
Strategy Map สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร12
100 ตำบลต้นแบบในการบูรณาการ ด้านส่งเสริมสุขภาพ 5 กลุ่มวัย และอนามัยสิ่งแวดล้อม โดย กรมอนามัย.
ระบบคุ้มครองผู้บริโภค
เรื่องที่ประธานแจ้งให้ที่ประชุมทราบ
แนวทางการปฏิบัติงานตามข้อสั่งการ ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
งาน Road Map ศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตรปี 2560
ข่าวประชาสัมพันธ์สำนักงานเกษตรจังหวัดสุโขทัย
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
การประเมินผลสัมฤทธิ์ของโครงการ
โดย ศรีปัญญา ม่วงเพ็ชร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
กลุ่มยุทธศาสตร์ฯ ตัวชี้วัด ของปศุสัตว์อำเภอ รอบที่ ๑/๒๕๖๑ และ รอบที่ ๒/๒๕๖๑ จำนวน ๑๐ ตัวชี้วัด ๑.๑ร้อยละความสำเร็จในการปรับปรุงฐานข้อมูลเกษตรกรผู้เลี้ยงสัตว์
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
วาระที่ 3.4 แนวทางการปฏิบัติงานโครงการตามนโยบาย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
แนวทางปฏิบัติ กรมป่าไม้
การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์กรมการพัฒนาชุมชน
ประชุมติดตามความก้าวหน้าการดำเนินการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๕ วันที่ ๔ เมษายน ๒๕๕๕ เวลา ๑๓.๐๐ น. ณ ห้องประชุม ๔/๑ ศาลากลางจังหวัด.
ปัญหาอุปสรรค และข้อเสนอแนะ และแนวทางแก้ไข ของกองวิจัยและพัฒนาข้าว
ณ ห้องประชุมกองวิจัยและพัฒนางานส่งเสริมการเกษตร
การสัมมนาแนวทางการดำเนินงาน
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
โยธาธิการและผังเมืองจังหวัด สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
วาระที่ ผลการประชุมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การเตรียมความพร้อมบุคลากร สำนักแผนงานและโครงการพิเศษเพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงาน ของหน่วยงานในพื้นที่
ณ ห้องประชุมกำธร สุวรรณกิจ
ความก้าวหน้าในการดำเนินงาน Product Champion Cluster วัยรุ่น
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
การส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ ปี 2560
สำนักงานปศุสัตว์จังหวัดฉะเชิงเทรา
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
กลุ่มส่งเสริมอาชีพการเกษตร
กรมมีผลการปฏิบัติงานที่ดี เกษตรกรได้รับประโยชน์
ศูนย์อนามัยที่ 8 อุดรธานี
โครงการ “9,999 ตามรอยเท้าพ่อ”
การบูรณาการและการบริหาร โครงการส่งเสริมการเกษตรในรูปแบบแปลงใหญ่
รายงานผลการปฏิบัติงาน ประจำปีงบประมาณ 2560 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดลำพูน
การสร้างพันธมิตรการเกษตรเพื่อลดต้นทุนการผลิต และผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
แผนที่แสดงอาณาเขตตำบลบ้านหีบ ตำบลบ้านหีบมีพื้นที่ทั้งหมด 8,180 ไร่
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โครงการพัฒนาเกษตรอินทรีย์ สรุปผลการดำเนินงานตามประเด็นการตรวจติดตาม เสนอผู้ตรวจราชการ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ โครงการพัฒนาเกษตรอินทรีย์ ปีงบประมาณ 2562 ผู้ให้ข้อมูล : ศูนย์วิจัยและพัฒนาการเกษตรฉะเชิงเทรา (กรมวิชาการเกษตร) ศูนย์วิจัยข้าวฉะเชิงเทรา เกษตรจังหวัดฉะเชิงเทรา สำนักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อการเกษตรจังหวัดฉะเชิงเทรา

พื้นที่เกษตรอินทรีย์ที่ได้การรับรองในปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 ข้อมูลทั่วไป พื้นที่เกษตรอินทรีย์ที่ได้การรับรองในปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 หน่วยงาน เป้าหมาย (ไร่) ผลการดำเนินงาน (ไร่) ร้อยละ กรมวิชาการเกษตร 292.50 13.5 4.62 กรมการข้าว 686.25 100 รวม 978.75 699.75 71.5  - กวก : พื้นที่ 292.50 ไร่ (พืชผสมผสาน 13.50 ไร่ และ ไผ่ 279.00 ไร่) - กข : พื้นที่ 686.25 ไร่ (ข้าว)

เกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการเกษตรอินทรีย์ (PGS ขั้น1, 2 และ 3) ข้อมูลทั่วไป (ต่อ) เกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการเกษตรอินทรีย์ (PGS ขั้น1, 2 และ 3) กิจกรรม : อบรมเกษตรกร หน่วยงาน เป้าหมาย (ราย) ผลการดำเนินงาน (ราย) ร้อยละ เกษตรจังหวัด 50 100 ส.ป.ก. 20 24 120 รวม 70 74 105.7 * เกษตรกร PGS กลุ่มขั้น 1 ส.ป.ก. จัดฝึกอบรมเพื่อเพิ่มเสริมศักยภาพการผลิตเกษตรอินทรีย์ โดยใช้กระบวนการโรงเรียนเกษตรกร เรียนรู้และฝึกปฏิบัติ จัดทำต้นแบบการผลิตเกษตรอินทรีย์ แปลงเรียนรู้ร่วมกันของสมาชิก

ข้อมูลทั่วไป (ต่อ) เกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการเกษตรอินทรีย์ (PGS ขั้น1, 2 และ 3) (ต่อ) กิจกรรม : พัฒนาเกษตรกรสู่การรับรองมาตรฐาน กวก. : แปลงไผ่ตง หมู่ 9 ต.ท่าตะเกียบ อ.ท่าตะเกียบ เป้าหมาย 31 แปลง ประเมิน เบื้องต้นเพื่อเข้าสู่ระยะปรับเปลี่ยน โครงการข้าวอินทรีย์ (T1) - เกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการมีเป้าหมายจำนวน 43 ราย ซึ่งมีเกษตรกรเข้าร่วมโครงการแล้ว 43 ราย เกษตรกรกลุ่มวิสาหกิจชุมชนโรงสีข้าวบ้านหนองแสง ได้รับการตรวจประเมินระยะปรับเปลี่ยน ขณะนี้อยู่ระหว่างรอผลการตรวจประเมิน

การเบิกจ่ายงบประมาณ หน่วยงาน งบประมาณ (บาท) เบิกจ่าย (บาท) ร้อยละ กวก. 43,040 รอดำเนินการ กข. 100,000 55,716 55.7 เกษตรจังหวัด 80,000 60,000 75 ส.ป.ก. 23,000 100 รวม 246,040 138,716 56.4 ** หมายเหตุ : งบปกติของหน่วยงาน

เกษตรกรกลุ่ม PGS กลุ่มขั้นที่ 1 ที่ได้รับการฝึกอบรมสามารถนำความรู้มาประยุกต์ใช้ และปฏิบัติตามมาตรฐานเกษตรอินทรีย์ได้ไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 *อธิบายขั้นตอนการดำเนินงาน ส.ป.ก. ฝึกอบรมเพื่อเสริมศักยภาพการผลิตเกษตรอินทรีย์ โดยใช้กระบวนการโรงเรียนเกษตรกร เรียนรู้และฝึกปฏิบัติฯ จัดทำแบบการผลิตพืชอินทรีย์ แปลงเรียนรู้ร่วมกันของสมาชิก

ประสิทธิภาพการดำเนินงานตามแผนการตรวจประเมินระบบ การผลิตข้าวอินทรีย์เบื้องต้น (T1) *อธิบายขั้นตอนการดำเนินงาน กกข ทำการรับสมัคร ผ่านขั้นตอนการรับรองจากคณะกรรมการอำนวยการขับเคลื่อนนโยบายสำคัญและการแก้ไขปัญหาภาคเกษตรจังหวัด COO กรมอนุมัติให้จัดอบรม 2 ครั้ง ในระบบ ICS มีเป้าหมายในการตรวจประเมินเบื้องต้น เมื่อผ่านจะได้รับการตรวจประเมินโดยกรมการข้าว หรือผู้ตรวจประเมินภายนอก ทบทวนผลการตรวจประเมิน รับรอง แจ้งผลการตรวจประเมิน

การดำเนินงานในภาพรวมแบบบูรณาการ กสก. และ กวก. กรมส่งเสริมการเกษตรทำการรับสมัครคัดกรองเกษตรกรเข้าร่วมโครงการ กรมวิชาการเกษตรทำหน้าที่ในการตรวจรับรองแหล่งผลิตพืชอินทรีย์ กสก. และ กกข. กรมส่งเสริมการเกษตรรับสมัครคัดกรองเกษตรกรเข้าร่วมโครงการพัฒนาเกษตรกรรมยั่งยืนกิจกรรมส่งเสริมและพัฒนาการผลิตข้าวอินทรีย์ (ข้าวอินทรีย์ 1 ล้านไร่) กรมการข้าวทำหน้าที่ในการตรวจรับรองแหล่งผลิตข้าวอินทรีย์

การประเมินผลสัมฤทธิ์โครงการจากพื้นที่ดำเนินการ ปี 2561 (ต่อ) กวก. กลุ่มขั้น 1 กิจกรรม : อบรมเกษตรกร ผลการดำเนินงาน : ดำเนินการอบรมให้กับเกษตรกรแปลงใหญ่ผัก หมู่ 1 ตำบลหนองยาว อำเภอพนมสารคาม จำนวน ๓๐ ราย กิจกรรม : พัฒนาเกษตรกรสู่การรับรองมาตรฐาน ผลการดำเนินงาน : กรมส่งเสริมการเกษตรส่งใบสมัครขอการรับรอง GAP ไผ่ตงให้ กรมวิชาการเกษตร จำนวน 31 แปลง หมู่ 9 ต.ท่าตะเกียบ อ.ท่าตะเกียบ เข้าสู่ระยะปรับเปลี่ยน จำนวน 31 ราย ขณะนี้อยู่ระหว่างรอการตรวจประเมินเบื้องต้น

การประเมินผลสัมฤทธิ์โครงการจากพื้นที่ดำเนินการ ปี 2561 (ต่อ) กวก. (ต่อ) กลุ่มขั้น 2 กิจกรรม : แปลงต้นแบบการผลิตพืชอินทรีย์ ผลการดำเนินงาน : เข้าทำแปลงต้นแบบในพื้นที่ สมาชิกกลุ่มวิสาหกิจชุมชนโรงสีข้าวชุมชนบ้านหนองแสง อ.สนามชัยเขต ที่มีการปลูกพืชผักผสมผสาน เพื่อให้เป็นแปลงต้นแบบให้เกษตรกรในชุมชนเข้ามาเรียนรู้การผลิตพืชผักผสมผสานในระบบเกษตรอินทรีย์ ตามมาตรฐานกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ดำเนินการในกลุ่มเกษตรกรที่ขอการรับรองข้าวอินทรีย์

การประเมินผลสัมฤทธิ์โครงการจากพื้นที่ดำเนินการ ปี 2561 (ต่อ) กวก. (ต่อ) กลุ่มขั้น 3 กิจกรรม : การตรวจรับรองมาตรฐาน ผลการดำเนินงาน : เกษตรกรผู้ปลูกไผ่ตง หมู่ 9 ต.ท่าตะเกียบ อ.ท่าตะเกียบ ได้รับการตรวจประเมินระยะปรับเปลี่ยน จำนวน 31 ราย ขณะนี้อยู่ระหว่างการตรวจประเมินเบื้องต้น

การประเมินผลสัมฤทธิ์โครงการจากพื้นที่ดำเนินการ ปี 2561 (ต่อ) กกข. เกษตรกรกลุ่มวิสาหกิจชุมชนโรงสีข้าวบ้านหนองแสง ได้รับการตรวจประเมินระยะปรับเปลี่ยน ขณะนี้อยู่ระหว่างรอผลการตรวจประเมิน กสก. เกษตรกรที่เข้ารับการอบรมมีความรู้ความเข้าใจในการทำเกษตรอินทรีย์ การผลิตสารชีวภัณฑ์ และลดการใช้สารเคมี

ผลที่คาดว่าเกษตรกรจะได้รับ กวก เกษตรกรสามารถพัฒนาไปถึงขึ้นที่ได้รับการรับรองตามมาตรฐานเกษตรอินทรีย์เพิ่มขึ้น เพื่อสร้างโอกาสด้านการตลาดให้แก่ผู้บริโภคที่หันมาใส่ใจสุขภาพมากขึ้น และสามารถเพิ่มพื้นที่การเพาะปลูกพืชอินทรีย์และลดการใช้สารเคมีทางการเกษตรได้เพิ่มขึ้น กกข เกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการการพัฒนาเกษตรอินทรีย์ (อินทรีย์ 1 ล้านไร่ ปี 2561) ผ่านการตรวจประเมินขั้นเตรียมความพร้อม (T1) ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 60

ปัญหา/อุปสรรค และข้อเสนอแนะ กวก ปัญหา/อุปสรรค - ปัญหาการจัดเก็บเอกสารที่ประกอบการตรวจรับรองเกษตรอินทรีย์มีจำนวนมากมาก ส่งผลให้เกษตรกรผู้ขอการรับรองเก็บเอกสารไม่ครบถ้วน จึงมีผลกระทบต่อการให้การรับรองมาตรฐานเกษตรอินทรีย์ - ปัญหาการจัดการแปลงเพื่อเพิ่มผลผลิตไผ่ตงของเกษตรกร ถึงแม้ว่าการผลิตไผ่ตงจะไม่ต้องมีการใช้สารป้องกันกำจัดศัตรูพืช แต่การผลิตไผ่ตงเพื่อให้ได้ปริมาณ และมีผลผลิตออกก่อนฤดู เกษตรกรยังจำเป็นต้องใช้ปุ๋ยเคมีในระบบการผลิต แต่การปรับเปลี่ยนไปสู่เกษตรอินทรีย์ก็ยังมีโอกาสสูงกว่าพืชชนิดอื่น ข้อเสนอแนะ การพัฒนาเกษตรกรสู่การรับรองมาตรฐานเกษตรอินทรีย์ เบื้องต้นนำเกษตรกรเข้าสู่ระบบการรับรองแปลงแบบ GAP ก่อนเพื่อสร้างโอกาสด้านการตลาด แล้วจึงยกระดับเกษตรกรไปสู่มาตรฐานเกษตรอินทรีย์ต่อไป

ปัญหา/อุปสรรค และข้อเสนอแนะ (ต่อ) กกข ปัญหา/อุปสรรค - เกษตรกรกลุ่มวิสาหกิจชุมชนโรงสีข้าวบ้านหนองแสง ปี 2561 มีเกษตรกรเสียชีวิต 1 ราย คือ นายสมยศ จันทร์รอด ทำให้ต้องมีการเปลี่ยนสมาชิกกลุ่มนี้ขึ้นมาแทน กสก ปัญหา/อุปสรรค เกษตรกรหลายรายมความสนใจในการทำเกษตรอินทรีย์แต่ด้วยสภาพแวดล้อมไม่เอื้ออำนวยทำให้เกษตรกรไม่มามารถปฏิบัติได้