ผลการดำเนินงานระบบการแพทย์ฉุกเฉินครบวงจรและระบบส่งต่อ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การอภิปราย หัวข้อ “การนำนโยบายสู่การปฏิบัติและเตรียม ความพร้อมรับมืออุบัติเหตุทางถนน” นายเชษฐา โมสิกรัตน์ ผอ.กองนโยบายป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย.
Advertisements

จุดเน้นการพัฒนางานสาธารณสุขที่สำคัญ ปีงบประมาณ 2559.
สรุปผลการตรวจราชการติดตามและประเมินผล กระทรวงสาธารณสุข คณะที่ ๑ : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัยและระบบ ควบคุมโรค ภาพรวมเขต 8 ( รอบ 2/2558) กรมอนามัย กรมสุขภาพจิต.
การพัฒนาและจัดระบบบริการฯ หัวข้อ : ระบบบริการปฐมภูมิ
การขับเคลื่อน แผนยุทธศาสตร์ โรงพยาบาลนครพิงค์ ปีงบประมาณ 2561สู่ MOPH 4.0.
ตรวจราชการรอบที่ 2/2559 โรงพยาบาลศรีสังวาลย์ จังหวัดแม่ฮ่องสอน.
โดย ... ทีมนิเทศงานสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดน่าน
นโยบายการดำเนินงาน ปี 2561
รองผู้อำนวยการฝ่ายการแพทย์ รพ.สมุทรสาคร
การดำเนินงาน RTI.
รองอธิบดีกรมควบคุมโรค นายแพทย์อัษฎางค์ รวยอาจิณ
รองผู้อำนวยการฝ่ายการแพทย์ โรงพยาบาลยะลา
ครั้งที่ 10/2560 สรุปผลการประชุม คณะอนุกรรมการด้านบริการ
การประชุมพิจารณาแผนปฏิบัติการ ปี 2561 เขตสุขภาพที่ 2
สรุปผลการตรวจราชการครั้งที่ 2 คณะ 2 ปีงบประมาณ 2560
แผนการลงทุนด้านสุขภาพระยะ 5 ปี (Long Term Invesment Plan)
SP Palliative เขต 3 พญ.กมลทิพย์ ประสพสุข.
แนวทางการดำเนินงาน ปีงบประมาณ 2561
ยุทธศาสตร์ 20 ปี 5 ปี และปี 2561.
บริบทอำเภอเมือง ในเขตเทศบาลนครเชียงใหม่ ประชากร 131,091คน
การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ จังหวัดกาญจนบุรี
การพัฒนาระบบบริการ Fast Track
ครั้งที่ 8/2560 สรุปผลการประชุม คณะอนุกรรมการด้านบริการ
การดำเนินงานService Plan จ.กำแพงเพชร ปี 2561
Rabie Free Zone สภาพปัญหา นโยบายการขับเคลื่อน เป้าหมายดำเนินการ ปี2560
Risk Management System
การนิเทศ ติดตาม ควบคุม กำกับงานสาธารณสุข ครั้งที่ 1 ประจำปี 2561 คพสอ
ผลการดำเนินงานระบบการแพทย์ฉุกเฉิน จังหวัดสงขลา
ระบบบริการสุขภาพ (Service Plan) สาขาอุบัติเหตุ
สรุปผลการดำเนินงาน กลุ่มงานควบคุมโรคไม่ติดต่อ สุขภาพจิตและยาเสพติด
การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ Service Plan จังหวัดเชียงใหม่
แผนงานควบคุมโรคไม่ติดต่อและปัจจัย เสี่ยง
แผนงานป้องกันและลดการตายจากบาดเจ็บทางถนน ในทศวรรษแห่งความปลอดภัยทางถนน ปีงบประมาณ 2560 กระทรวงสาธารณสุข สำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค วันที่ พ.ย.
ผลการดำเนินงานตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
ดร.นพ.ภานุวัฒน์ ปานเกตุ ผู้อำนวยการสำนักโรคไม่ติดต่อ
นายแพทย์ไชยนันท์ ทยาวิวัฒน์ สาธารณสุขนิเทศก์ เขตสุขภาพที่ 2
สรุปผลการดำเนินงานพัฒนาระบบบริการสุขภาพ สาขาโรคไม่ติดต่อ
คณะที่ 2 พัฒนาระบบบริการ (Service plan)
นพ.สมศักดิ์ อุทัยพิบูลย์
การพัฒนาระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉินครบวงจร และระบบการส่งต่อ จังหวัดมหาสารคาม นพ.เฉลิมพล บุญพรหมธีรกุล.
อำเภอสันกำแพง ดินแดนแห่ง
การส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันโรค การคุ้มครองผู้บริโภค
การดำเนินงาน คลินิกหมอครอบครัว
สำนักโรคไม่ติดต่อและสำนักระบาดวิทยา กระทรวงสาธารณสุข
ระบบการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข
แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพ เขตสุขภาพที่ 7
การขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (ด้านสาธารณสุข)
สำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค วันที่ 17 ตุลาคม 2560
การบริหารและขับเคลื่อน
แผนงานปี 2561 กลุ่มงานพัฒนารูปแบบบริการ
การเสียชีวิตจากการบาดเจ็บ
คณะที่ 2:การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ จังหวัดเชียงใหม่
การเปลี่ยนแปลงเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ ปลัดกระทรวงสาธารณสุข
การประชุมการพัฒนาระบบบริการสุขภาพ service plan จังหวัดพิษณุโลก
วิสัยทัศน์ (Vision) โรงพยาบาลชลบุรี มุ่งสู่ความเป็นเลิศทางการแพทย์ และสถาบันวิชาการชั้นนำระดับชาติ
แผนพัฒนาบริการสุขภาพ พิษณุโลก อุตรดิตถ์ เพชรบูรณ์ สุโขทัย ตาก
วิสัยทัศน์ (Vision) โรงพยาบาลชลบุรี มุ่งสู่ความเป็นเลิศทางการแพทย์ และสถาบันวิชาการชั้นนำระดับชาติ
คณะตรวจราชการและนิเทศงาน
เขตสุขภาพที่ 10 มุกศรีโสธรเจริญราชธานี
เขตสุขภาพที่ 10 สรุปผลการตรวจราชการ รอบที่ 1 ปี 61
การพัฒนา ER คุณภาพ รพ.โกสุมพิสัย
ผลการดำเนินงาน ER คุณภาพ
การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (service Plan) แผนงานที่ 3 การพัฒนาระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉินครบวงจรและระบบการส่งต่อ โรงพยาบาลมหาสารคาม.
การพัฒนาระบบ ECS (Emergency Care System) โรงพยาบาลพยัคฆภูมิพิสัย
การพัฒนาระบบบริการจังหวัดอำนาจเจริญ
สาขาอุบัติเหตุและฉุกเฉิน
เครือข่ายบริการ สุขภาพ อำเภอแม่ฟ้าหลวง
การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ
ECS คุณภาพ โรงพยาบาลยางสีสุราช ปี 2561 (ไตรมาสที่ 1)
การตรวจราชการและนิเทศงาน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ผลการดำเนินงานระบบการแพทย์ฉุกเฉินครบวงจรและระบบส่งต่อ (Emergency Care System:ECS) จังหวัดน่าน ไตรมาสที่ 1 ตัวชี้วัด อัตราการเสียชีวิต ของผู้ป่วยฉุกเฉินวิกฤต (Triage level 1,2) ภายใน ๒๔ ชั่วโมง โรงพยาบาล F๒ ขึ้นไปไม่เกิน ร้อยละ ๑๒ ในปีงบประมาณ 2561 (ทั้งที่ ER และ Admitted) เป้าหมายในการพัฒนา 1. ER Safety Goal ลดอัตราการเสียชีวิตในผู้ป่วยวิกฤตฉุกเฉินภายใน 24 ชม. 2. เพิ่มการเข้าถึง ด้วยEMS ของผู้ป่วยวิกฤตฉุกเฉิน และ โรคช่องทางด่วน 3. ลดอัตราการเสียชีวิตผู้ป่วย Severe Traumatic Brain Injury 4. TEA unit มาตรฐาน ในรพ. ระดับ M1 ขึ้นไป

Task List - F2 ขึ้นไป ประเมิน ECS คุณภาพ (12 องค์ประกอบ) เป้าหมาย มาตรการ ESS 3 เดือน 6 เดือน 9 เดือน 12 เดือน ลดอัตราตายของผู้ป่วยวิกฤตฉุกเฉินภายใน 24 ชม. พัฒนาระบบ EMS คุณภาพ ER คุณภาพ , ECS คุณภาพ Referคุณภาพ   - F2 ขึ้นไป ประเมิน ECS คุณภาพ (12 องค์ประกอบ) - มีการถ่ายทอดนโยบาย ECS (กสธ. 25 ธค 60) - มีการจัดทำมาตรฐานข้อมูลห้องฉุกเฉิน (มีการทบทวนcase ผู้ป่วยวิกฤตฉุกเฉินที่เสียชีวิตใน 24 ชั่งโมงและผู้ป่วยวิกฤตฉุกเฉินที่มี > 2 hours target ใน ER) -รพ.ทุกแห่งมีการพัฒนาศักยภาพ ER ตามเกณฑ์ ER service Delivery ของกรมการแพทย์ -การพัฒนาคุณภาพการรักษาโดยใช้ ER Safety Goals -มีคณะกรรมการพัฒนาระบบรักษาพยาบาลฉุกเฉินของโรงพยาบาล -มีมาตรการการลดผู้ป่วยไม่ฉุกเฉินที่มาใช้บริการห้องฉุกเฉิน -การพัฒนาข้อมูล ส่งข้อมูลแฟ้ม ACCIDENT -พัฒนาระบบส่งต่อโดยขยาย ระบบTelemedicine เครือข่าย อ.แม่จริม รพ. F2 ขึ้นไปผ่านเกณฑ์ ECS คุณภาพ (60%)>80% - ผู้ป่วยฉุกเฉินวิกฤตมาโดยระบบ EMS > 40% -อัตราตายของผู้ป่วยวิกฤตฉุกเฉินภายใน 24 ชม.< 12 % - อัตราตายของผู้ป่วยที่มี PS score .0.75 < 0.6

การเข้าถึงบริการและอัตราการเสียชีวิตผู้ป่วยวิกฤตฉุกเฉิน จังหวัดน่าน ห้องฉุกเฉินแออัด(ER Crowding) >60%เป็นผู้ป่วยไม่ฉุกเฉิน +Violence ปีงบประมาณ2560 ผู้ป่วยใช้บริการ ER 59,878 ครั้ง ER Crowding รพ.ใน จ.น่าน 735 :1,000 ประชากร (ประเทศ 458 :1,000 ประชากร) 3. เป็นผู้ป่วยฉุกเฉิน(ประเภท 1 และ ประเภท 2)= 5.67% ,ผู้ป่วยไม่ฉุกเฉิน(ประเภท 4 และประเภท 5) = 73.49% ผู้ป่วย ประเภท 1 ประเภท 2และประเภท3 อยู่ ER 2-6 ชั่วโมง ผู้รับบริการทุกสาขา ;มีการใช้สุรา ยาเสพติด,โรคอุบัติใหม่อุบัติซ้ำ ความรุนแรง/ความไม่ปลอดภัยตั้งแต่จุดเกิดเหตุ การลำเลียงนำส่งและห้องฉุกเฉิน ร้อยละผู้ป่วยไม่ฉุกเฉิน(ประเภท 4 และประเภท 5) ในER แยกราย รพ. 61 Visit ER เทียบกับอัตราเสียชีวิต ใน24 ชั่วโมง

ผลงานไตรมาสที่ 1

1 ECS คุณภาพ 1. ร้อยละรพ.F2 ขึ้นไปผ่านเกณฑ์ ECS คุณภาพ > 70% รพร.ปัว (M2) รพ. F2 (ค่าเฉลี่ย 12 รพ.) การนำองค์กร 74.3 77.1 46.8 อาคารสถานที่ 58.3 49.6 43.8 บุคลากร 63.9 42.1 33.3 การรักษาพยาบาล 65.7 25.8 38.8 MCI & Disaster 69.2 32.0 36.5 Referral system 53.3 40.0 38.6 การปรึกษาผู้เชี่ยวชาญ 95.0 48.0 49.1 ระบบสนับสนุน 76.2 48.6 43.5 Pre hospital 85.3 43.0 44.9 ระบบบริหารจัดการ 20.0 17.8 Information system 43.3 41.8 การพัฒนาคุณภาพ 80.0 53.5 การศึกษาและวิจัย 10.0 30.0 9.7 เปอร์เซ็นต์ 65.6 45.8 39.9 ระดับ S รพ.น่าน M2 รพร.ปัว F2 รพ.F2 น่าน แนวทางการดำเนินงานปีงบประมาณ 2561 1.แต่งตั้งคณะกรรมการ Core Team ECS จ.น่าน (External Evaluation) เพื่อประเมิน รพ.ระดับ S,M2,F2 2.นำหมวดที่มีคะแนน < 40% มาจัดทำแผนพัฒนาเร่งด่วน, 40-60% แผนระยะกลาง/ยาว, 60% พัฒนาให้เป็น Best Practice วิเคราะห์ GAP 1. 1.ขาดการประเมินภายนอก(External Evaluation)ในปีงบ2561 2.รพ.ขาดการจัดทำแผนพัฒนาECS คุณภาพในรพ.ที่เป็นรูปธรรม

รพ.F2 ขึ้นไปตามการประเมิน ECS คุณภาพแยกรายโรงพยาบาลในจังหวัดน่าน (ประเมินตนเองครั้งที่ 1 / 2561) เวียงสา ท่าวังผา ปัว ทุ่งช้าง เชียงกลาง สันติสุข สองแคว บ่อเกลือ เฉลิมพระเกียรติ นาหมื่น บ้านหลวง แม่จริม นาน้อย ภูเพียง มิติที่ 1. การประเมินผู้อำนวยการโรงพยาบาล และทีมบริหาร 74.3 77.1 71.4 68.6 48.6 40.0 42.0 22.86 37.1 25.7 57.0 22.9 องค์ประกอบที่ 1 อาคารสถานที่ 58.3 67.7 54.9 49.6 43.1 28.8 44.1 48.1 33.4 38.3 47.54 48.9 39.4 24.0 22.4 องค์ประกอบที่ 2 บุคลากร 63.9 46.7 44.4 42.1 90.0 39.3 50.0 26.7 20.7 29.3 25.19 25.9 14.8 49.0 17.8 องค์ประกอบที่ 3 การรักษา พยาบาล 65.7 63.3 51.6 25.8 76.7 42.5 31.7 60.8 13.3 35.83 20.0 54.2 30.5 30.0 องค์ประกอบที่ 4 MCI and Disaster management 69.2 46.9 60.0 32.0 45.0 27.7 32.3 64.6 23.1 45.00 15.0 25.0 องค์ประกอบที่ 5 Referral system 53.3 80.0 35.0 55.0 35.00 8.0 องค์ประกอบที่ 6 การปรึกษาผู้เชี่ยวชาญเฉพาะทาง 95.0 92.0 52.0 48.0 68.0 44.00 13.0 องค์ประกอบที่ 7 ระบบสนับสนุน 76.2 56.5 52.9 45.9 41.2 37.6 35.9 29.4 42.4 47.65 33.5 24.1 17.1 องค์ประกอบที่ 8 Pre – hospital EMS Intervention 85.3 65.0 43.0 68.3 46.67 43.3 31.0 33.0 องค์ประกอบที่ 9 ระบบบริหารจัดการ 0.0 0.00 5.0 3.0 องค์ประกอบที่ 10 Information system 70.0 53.7 33.3 51.3 43.8 38.8 36.25 26.3 27.5 องค์ประกอบที่ 11 การพัฒนาคุณภาพ (Quality management) 86.7 องค์ประกอบที่ 12 การศึกษาและวิจัย 10.0 10.00 1.0 คิดเป็นเปอร์เซนต์ 65.6 45.8 56.7 41.1 40.6 39.6 38.1 33.7 33.69 31.9 30.1 24.9

2 ER คุณภาพ “ลดแออัด จัดมาตรฐาน พัฒนาคน ” อัตราการเสียชีวิตผู้ป่วยฉุกเฉินวิกฤตภายใน 24 ชั่วโมง ไม่เกินร้อยละ 12 2 “ลดแออัด จัดมาตรฐาน พัฒนาคน ” เดือน Triage Level 1+2 Triage Level 1 Triage Level 2 เสียชีวิต ทั้งหมด % ต.ค.-60 20 1,183 1.69 15 165 9.09 5 1,018 0.5 พ.ย.-60 27 1,187 2.27 14 268 5.22 3 919 0.3 ธ.ค.-60 24 900 2.67 18 151 11.92 6 757 0.8 วิเคราะห์ ข้อมูล/GAP สาเหตุการเสียชีวิต : Severe Head Injury, STEMI , Stroke ,Sepsis, Trauma with shock Productivity สูงกว่าค่ามาตรฐาน โดยเฉพาะเวรบ่าย F2 แพทย์ประจำ ER ไม่ครบทุกเวร /ความรู้ทักษะบุคลากร ระบบข้อมูล ซ้ำซ้อน ไม่บูรณาการ ITEMS, HIS ,Thai refer , IS ,PHER แนวทางการดำเนินงานปีงบประมาณ 2561 อัตราการเสียชีวิตผู้ป่วยฉุกเฉินวิกฤตภายใน 24 ชั่วโมง ขับเคลื่อนนโยบาย2P Safety Goal ,Sero-violenceโดยใช้แนวปฏิบัติในการป้องกันและลดความรุนแรงห้องฉุกเฉิน ทบทวน 2-Hour Target ในผู้ป่วยฉุกเฉินวิกฤต ER, ประเมิน OPD นอกเวลา พัฒนาศักยภาพตามแนวทางการจัดบริการห้องฉุกเฉินตามระดับศักยภาพสถานพยาบาล (ER Service Delivery)ที่กำหนดโดยกรมการแพทย์ (Essentiol service, Spectial service, Co-ordinate service) ประเมิน Hospital Safety Index (HSI) ในการจัดการสาธารณภัย ส่งบุคลากรอบรม EN/ENP , ACLS Provider ,ATLS, PHTLS , EMT-I , EMT-B ,EMR ,Sky doctor เป้าหมายไม่เกินร้อยละ 12

ร้อยละผู้ป่วยฉุกเฉินวิกฤตมาโดยระบบ EMS ตารางแยกตาม Mode of Transport ไม่น้อยกว่าร้อยละ 60 3 ตารางแยกตาม Mode of Transport วิเคราะห์ข้อมูล/GAP เดือน แดง ER visit ALS BLS FR Total EMS มาเอง % EMS ต.ค.-60 1,223 141 16 124 281 942 22.98 พ.ย.-60 1,241 173 8 183 364 877 29.33 ธ.ค.-60 945 184 22 152 358 587 37.88 รวม 3,409 498 46 459 1,003 2,406 29.4 * ปี 2560 การเข้าถึงของผู้ป่วยฉุกเฉินวิกฤตด้วย EMS น้อย ร้อยละ ๒๔.๙๖ (ปี 2560 ระดับ S ร้อยละ 24.87 โดยเฉพาะโรคช่องทางด่วน STEMI ร้อยละ 36 Stroke ร้อยละ 65.5) *สาเหตุที่ไม่มาด้วย EMS: ผู้ป่วยไม่ทราบภาวะฉุกเฉิน ญาติพบผู้ป่วยมีอาการฉุกเฉินตกใจรีบนำส่ง พลเมืองดีเร่งเร้าให้นำส่งโดยผู้ป่วยยังไม่ได้รับการช่วยเหลือเบื้องต้นที่เหมาะสม *ผู้ป่วยฉุกเฉินวิกฤตนำส่งโดย EMR *บุคลากร ALSระดับ M2, F, ALS ไม่พร้อมออกเหคุ *จุดอับสัญญาณวิทยุสื่อสาร โทรศัพท์ ทุกอำเภอ *เครือข่ายกู้บัพ อบต.เทศบาล.ไม่พร้อมบ่อย เนื่องจากปฏิบัติงาน ในส่วนงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ด้วย ร้อยละผู้ป่วยฉุกเฉินวิกฤตมาโดยระบบ EMS แยก รพ. 1/2561 แนวทางการดำเนินงานปีงบประมาณ 2561 ไม่น้อยกว่าร้อยละ 60 พัฒนาระบบ Triage (ในโรงพยาบาล) เพิ่มศักยภาพและพัฒนาระบบ Trauma & Non-Trauma Fast Track ส่งเจ้าหน้าที่/ฝึกอบรม พยาบาลกู้ชีพ, PHTLS รพ.แม่ข่าย Audit GRABCD / นิเทศ เครือข่ายกู้ชีพ อบต.เทศบาล Audit cases & ITEMS ทุกเดือน สร้าง Public awareness ผ่าน วิทยุชุมชน เครือข่ายที่เกี่ยวข้อง อบรมทักษะกู้ขีพเบื้องต้นแก่เจ้าหน้าที่ด่านชายแดนห้วยโก๋น ด่านห้วยน้ำอุ่น /อบรม อฉช.

5 Ps score>=0.75 อัตราการเสียชีวิตผู้ป่วยในที่มี Ps >= 0.75 น้อยกว่า 1% อัตราการเสียชีวิตผู้ป่วยในที่มี Ps >= 0.75 ปีงบ2561 เดือน ผู้ป่วยใน Ps > 0.75 จำนวนเสียชีวิต จำนวนAdmit อัตราการเสียชีวิต ต.ค.-60 88 0.0 พ.ย.-60 101 ธ.ค.-60 180 วิเคราะห์GAP 1.ทักษะบุคลากรในการดูแลผู้ป่วยTrauma(Pre hosp. In Hosp.) 2.Guideline Trauma,Head injury ใช้น้อย ใน รพ.F, M 3.เกณฑ์ Door to definite care ใน รพ. S ไม่ชัดเจน อัตราการเสียชีวิตผู้ป่วยในที่มี Ps >= 0.75 เป้าหมายน้อยกว่า 1%

6 Severe TBI อัตราการเสียชีวิตผู้ป่วย Severe Traumatic Brain Injuryน้อยกว่า 40 % จำนวนผู้เสียชีวิต Traumatic Brain Injury แยกตาม GCS GCS 13 - 15 9-12 3-8 เสียชีวิต ทั้งหมด ต.ค.-60 27 1 2 3 8 พ.ย.-60 19 4 6 ธ.ค.-60 12 รวม 58 7 9 18 วิเคราะห์ข้อมูล/ GAP แนวโน้มอุบัติเหตุรุนแรงเพิ่มขึ้นส่งผลให้การเสียชีวิตผู้ป่วย Severe TBI สูงขึ้น ขาดแพทย์ศัลยกรรมประสาท (Neuro surgeon) การใช้ Guideline Head injury Fast track น้อยใน รพ.F, M ความทักษะบุคลากรในการดูแลผู้ป่วย PHTLS ,ATLS ข้อมูล HDC(ระดับ S)ไม่รองรับ ICD9 ตามTemplate TBI อัตราการเสียชีวิตผู้ป่วย Severe Traumatic Brain Injury เป้าหมาย น้อยกว่า 40 %

การดำเนินงานภาพรวม ถ่ายทอดนโยบาย ECS ใช้โครงสร้างของ Service Plan สาขาอุบัติเหตุและฉุกเฉินในการขับเคลื่อน ECS & Trauma (คณะกรรมการ ECS) Revise Guideline การดูแลผู้ป่วย Severe TBI พัฒนาระบบ Triage Audit ฐานข้อมูล (43 แฟ้ม Accident, ITEMS , Cases , Chart) ประชุม Peer review cases , Root Cause Analysis สนับสนุน ER Safety Goal : Ambulance Safety -ค่าใช้จ่าย ในการซื้อกล้องและติด GPS ในรถ 1 คัน จากงบ On top ระบบ EMS

สวัสดี

การพัฒนาSP ECS & Trauma จังหวัดน่าน : 6 BB plus ECS Service Delivery Workforce การจัดการข้อมูลระบบสุขภาพ การจัดการเทคโนโลยีและยา การเงิน ธรรมาภิบาล การมีส่วนร่วมของชุมชน Essential Service *National Triage *Resuscitation *Fast Track(Stroke, STEMI ,Trauma ,Head injury Fast Track) *Mass casualty incident & Disaster *Observation 2. Special Service *Pediatic,*Obs-Gynae,*Mental health,*Toxicolocy,*Geniatic *OPD Urgency clinic 3.Co ordination Service *ศูนย์รับแจ้งเหตุ 1669 *ศูนย์ส่งต่อ *TEA Unit 4.การพัฒนาPre hospital Care และ ER implementation & monitoring to Definitive Care 5.Detection to definitive Care 6.การพัฒนาเชิงคุณภาพ : Peer review, Audit cases *แผนยุทธศาสตร์ 2560-2580 EP 2.4 : RN :EN/ENP 4.1 :Paramedic 4.1 :AEMT 3.1 : EMT-B 3.1(คน)/ปชก.100,000 คน *จังหวัดน่าน -EP 3 คน(1:159,937 คน) EP ขาด 2 คน -EN/ENP 8/1 คน (4.1/159,937 คน) EN/ENP ขาด 17/4 คน-ขาด Paramedic -ขาดแพทย์ศัลยกรรมประสาท *กรอบกระทรวง สธ./2561 ระดับ S EP 8-10 : RN 24-30 : EN/ENP 8-10 : Paramedic8-10 : AEMT 4-5 : EMT-B 34-5 *รพ.น่าน EP 3 : RN 22 EN/ENP:(7)3/1 : Paramedic0 :A-EMT 7 :EMT-B 3 ** (รวม Trauma nurse 2 RN 2 ปฏิบัติงานศูนย์สั่งการEMSและศูนย์ส่งต่อ) การพัฒนาระบบข้อมูลPre hospital Care และ ER implementation & monitoring to : HIS -HDC/43 แฟ้ม -ITEMS -IS online (รพ.น่าน) -Thai Refer Peer review cases -Fast track Audi -ข้อมูล 3 ฐานRTI -รายงานการสอบสวน RTI Cases *AED Out of hospital cardiac arrest by -*Telemedicine (ขาดรพ.แม่จริม,ภูเพียง) -EMS Budget -UCEP -พรบ.การแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ -พระราชบัญญัติสถานพยาบาล -มาตรฐาน ECS & ER คุณภาพ ภายในองค์กร -Cluster Emergency -ER EMS Refer PHER Board -ECS Board -PCT หน่วยงานสนับสนุน ภายนอกองค์กร -ศปถ.จังหวัด/อำเภอ -คณะกรรมการการแพทย์ฉุกเฉินจังหวัดน่าน

1 4 2 5 6 3 ตัวชี้วัด ปี 2561 OHCA ปลอดภัย Ps >=0.75 ECS คุณภาพ ER คุณภาพ ปลอดภัย OHCA 4 ปลอดภัย 2 5 Ps >=0.75 ปลอดภัย ECS คุณภาพ มาตรฐาน EMS คุณภาพ เข้าถึงบริการ 6 Severe TBI ปลอดภัย 3

4 OHCA อัตราROSC,Survival to Admit,Survival toRefer ของผู้ป่วย OHCA ร้อยละ ROSC ของผู้ป่วย OHCA แยกรายโรงพยาบาล เป้าหมาย ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 40 วิเคราะห์ข้อมูล/ GAP 1. ผู้ป่วย OHCA มีแนวโน้มเพิ่มขึ้น ส่วนใหญ่พบมีอาการที่บ้าน 2. ประชาชน มีความรู้ ภาวะฉุกเฉินน้อย โดยเฉพาะEarly detection STEMI ซึ่งอาการแสดงไม่ชัดเจน 3. ผู้ป่วย OHCA ได้รับการ CPR ณ จุดเกิดเหตุ น้อย ผู้ประสบเหตุมักตกใจ ไม่สามารถทำBystander CPR ได้ตามคำแนะนำจากศูนย์รับแจ้งเหตุ 1669(Dispatch-Assisted CPR) 4. ไม่มีการรวบรวมข้อมูลการประเมิน Quality CPR อัตราการมี ROSC ในผู้ป่วย OHCA รพ.ระดับ F2 ขึ้นไป จังหวัดน่าน = 48.28% , Survival to Refer = 54.55% , Survival to Admit = 31.25% (ณ ไตรมาสที่ 1) แนวทางการดำเนินงานปีงบประมาณ 2561 เดือน ROSC Survival To Admit Survival To Refer Location CPR by OHCA %ROSC Survival %Admit %Refer Home Office Public Health Center Public Park Road Med/Nurse/etc. FR Family 1669 ต.ค.-60 2 5 40.00 1 50.00 3 33.33 พ.ย.-60 9 22.22 0.00 66.67 4 ธ.ค.-60 10 15 44.44 60.00 Total 14 29 48.28 16 31.25 6 11 54.55 โครงการให้ความรู้ประชาชน : ระบบ EMS ฝึก ทักษะการการแจ้งเหตุ Basic CPR (นำร่อง อ.เมือง ภูเพียง) 2. พัฒนาการรวมรวมข้อมูลการประเมิน Quality CPR 3. EMS rally ทีม EMR ระดับอำเภอ 4. Post-CPR Care

ปัญหา/อุปสรรค/ปัจจัยที่ทำให้การดำเนินงาน ไม่บรรลุวัตถุประสงค์ อุปสรรคในการดำเนินงาน และข้อเสนอแนะ ปัญหา/อุปสรรค/ปัจจัยที่ทำให้การดำเนินงาน ไม่บรรลุวัตถุประสงค์ ข้อเสนอแนะ 1. โปรแกรมระบบข้อมูล ซ้ำซ้อน ไม่ บูรณาการ 2. ไม่มีบุคลากรสนับสนุน TEA unit 3. การขับเคลื่อนเชิงนโยบายสู่การปฏิบัติไม่ครอบคลุม 3.1 รพ. ระดับF M2 3.2 รพ.ระดับ S การพัฒนาTrauma Fast track จาก ER to Definite care 4. บุคลากรECS ภาระงาน สูง เสี่ยง ไม่สัมพันธ์กับ จำนวนและค่าตอบแทน น้อย การบูรณาการระบบข้อมูล ระดับ รพ. จังหวัด และ กระทรวง 2. ผู้บริหาร (S) สนับสนุน ธุรการ/เวชสถิติ TEA unit 3. จังหวัดมีการขับเคลื่อนนโยบายสู่การปฏิบัติอย่างเป็น รูปธรรม 4.1 กระทรวง ร่วม กับสภาพยาบาล สนับสนุน พตส. (ER EMS Refer PHER) 4.2 สสจ./รพ. สนับสนุน P4P และอื่นๆ

ข้อชื่นชม ปัจจัยความสำเร็จ ประเด็น TNC กรมการแพทย์ขับเคลื่อนงาน ECS &Trauma โดย EP ,Neuro surgean แนวทาง Triage ER แนวทาง HSI แนวทาง TBI 2.1 กรมควบคุมโรค พัฒนา IS online 2.2 ER ward รพ.น่าน ; IT ,เวชสถิติ สนับสนุนการจัดเก็บ IS 3.1จังหวัด + รพ.S ; ผู้บริหาร ER สนับสนุนECS : AOC ;EMS ER Refer PHER Nan Telemedicine system 3.2 รพ.น่าน : ผู้บริหารER สนับสนุน ศูนย์รับแจ้งเหตุ ศูนย์ส่งต่อ และTEA unit TNC 4. เครือข่ายกู้ชีพ อบต./เทศบาลและหน่วยงานเกี่ยวข้อง เข้มแข็ง หน่วยกู้ชีพ EMR

การส่งต่อผู้ป่วยนอกเขตสุขภาพ

การส่งต่อผู้ป่วยนอกเขตสุขภาพ สถานการณ์ มีการพัฒนา Excellent Center 4 สาขาหลักภายในเขตสุขภาพ การส่งต่อนอกเขตใน 4 กลุ่มโรคสำคัญเนื่องจากเกินศักยภาพ โดย ไตรมาสแรก อัตราส่งต่อนอกเขตลดลง

การส่งต่อนอกเขต รายโรค ปีงบฯ/เดือน หัวใจ มะเร็ง ทารก อุบัติเหตุ รวมปี 60 (ชุดข้อมูล A) รวมปี 61 (ชุดข้อมูลB) **สูตรเป็นร้อยละ จำนวน (ราย) 2560 2561 ตุลาคม 1 2 4 75 พฤศจิกายน -100 ธันวาคม 3 -300 ต.ค. - ธ.ค. 60 จำนวน วินิจฉัย วินิจฉัย+รักษา รักษาต่อเนื่อง หัวใจ 4 มะเร็ง 13 1 11 ทารก อุบัติเหตุ

ปัญหาในการดำเนินงาน และข้อเสนอแนะ ปัญหา/อุปสรรค/ปัจจัยที่ทำให้การดำเนินงาน ไม่บรรลุวัตถุประสงค์ ข้อเสนอแนะ ขาดแพทย์เฉพาะทางบางสาขา เช่น แพทย์ศัลยกรรมประสาท มีการวางแผนจัดสรรอัตรากำลังแพทย์เฉพาะทางสาขาที่ขาดแคลนแต่มีความจำเป็น ในระดับเขต