การดูแลผู้สูงอายุระยะยาว (Long Term Care: LCT ) จังหวัดกำแพงเพชร
KPI 11 ร้อยละ 60 ตำบลที่มีระบบส่งเสริมสุขภาพดูแลผู้สูงอายุระยะยาว (Long Term Care) ในชุมชน ผ่านเกณฑ์ คำนิยาม ระบบการส่งเสริมสุขภาพดูแลผู้สูงอายุระยะยาว (Long Term Care) ในชุมชนผ่านเกณฑ์ หมายถึง มีการดำเนินงานครบองค์ประกอบ 7 ข้อผ่านเกณฑ์ ผ่านองค์ประกอบทุกข้อ เกณฑ์เป้าหมาย วิธีการประเมินผล ประเมินตามเกณฑ์มาตรฐานตำบล Long Term Care โดยคณะกรรมการระดับจังหวัดและระดับเขต และรายงานตามระบบผ่านศูนย์อนามัยเขตและส่วนกลาง ปีงบประมาณ 61 ปีงบประมาณ 62 ปีงบประมาณ 63 ปีงบประมาณ 64 ร้อยละ 60 ร้อยละ 70 ร้อยละ 80 ร้อยละ 95
KPI 12 ร้อยละของ Healthy Ageing เพิ่มขึ้น (หรือคงที่เมื่อเทียบกับปีที่ผ่านมา) A comprehensive assessment of resources หมายความถึง การมีสถานะสุขภาพผู้สูงอายุ ซึ่งจะได้จากการคัดกรอง/ประเมิน (ดำเนินการตามแบบคัดกรองและประเมินสุขภาพผู้สูงอายุรายละเอียดการคัดกรอง/ประเมิน ด้วยแนวทาง “คู่มือการคัดกรอง/ประเมินผู้สูงอายุ” กระทรวงสาธารณสุข พ.ศ. 2557) ในประเด็น คัดกรองปัญหาสำคัญและโรคที่พบบ่อยในผู้สูงอายุ ได้แก่ เบาหวาน ความดันโลหิตสูง ความเสี่ยงโรคหัวใจและหลอดเลือดสมอง สุขภาพช่องปาก สุขภาวะทางตา คัดกรองกลุ่ม Geriatric Syndromes ได้แก่ สมรรถภาพสมอง ภาวะซึมเศร้า ข้อเข่าเสื่อม ภาวะหกล้ม การกลั้นปัสสาวะ ภาวะโภชนาการ ปัญหาการนอน ประเมินสมรรถนะผู้สูงอายุเพื่อการดูแล ได้แก่ การประเมินความสามารถในการทำกิจวัตรประจำวัน (Activity of Daily Living: ADL) การประเมิน/คัดกรองผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลระยะยาว Cognitive and functional capacities หมายความถึง สมรรถภาพสมองและการทำงานของร่างกาย Diseases and complaints หมายถึง โรคและความเจ็บป่วยที่เป็นปัญหาสำคัญในผู้สูงอายุ ที่เมื่อเกิดขึ้นแล้วเกิดผลกระทบในวงกว้าง และเป็นภาระ (Burden) Limitations and disability หมายความถึง ความสามารถในการทำ กิจวัตรประจำวันพื้นฐาน (Activities of daily living: ADL) คำนิยาม Healthy Ageing หมายถึง การเป็น ผู้สูงอายุที่ปราศจากโรค และรวมถึงการมีความสามารถในการใช้ร่างกาย สรีรวิทยา จิตใจ และสังคม ซึ่งเปลี่ยนแปลงไปตามกระบวนการชราที่เกิดขึ้น ให้ทำงานได้อย่างเหมาะสม ทั้งนี้ ในที่นี่หมายความถึงผู้สูงอายุที่มีศักยภาพในการดำรงชีวิตตามปกติ สามารถสร้างประโยชน์ให้กับชุมชนและสังคม (ที่มา: WHO, 2002) เป้าหมาย A/B X 100 ผู้สูงอายุทุกคน (ผู้ที่มีอายุ 60 ปี บริบูรณ์ขึ้นไป) ที่ได้รับการคัดกรอง/ประเมินสมรรถนะผู้สูงอายุเพื่อการดูแลด้วย Activity of Daily Living (ADL) จำนวนผู้สูงอายุกลุ่มที่ช่วยเหลือตนเองได้ในการดำเนินกิจวัตรประจำวัน (A) หารด้วยผู้สูงอายุทุกคน ที่ได้รับการประเมินสมรรถนะ(B) เกณฑ์เป้าหมาย : เพิ่มขึ้นหรือคงที่เมื่อเทียบกับปี 2560 (กลุ่มที่มีคะแนน ADL มากกว่าหรือเท่ากับ 12 คะแนน) วิธีการจัดเก็บข้อมูล ฐานข้อมูลการคัดกรอง/ประเมินสุขภาพผู้สูงอายุ (โปรแกรม AGE APP) สรุปผลการประเมิน ADL ผู้สูงอายุในพื้นที่อำเภอ ตำบล หมู่บ้านฯ
PI 1 ร้อยละ 50
ผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัด/ประเด็นการตรวจราชการ 1. ร้อยละตำบลที่มีระบบส่งเสริมสุขภาพดูแลผู้สูงอายุ ระยะยาว(Long Term Care) ในชุมชน ผ่านเกณฑ์ ( ร้อยละ 50) 2. ร้อยละของ Healthy Ageing เพิ่มขึ้น (หรือคงที่เมื่อเทียบกับปีที่ผ่านมา: ได้รับการประเมินADL) กิจกรรมสำคัญ เป้า หมาย ผลงาน ร้อยละ เมื่อเทียบเป้าหมาย 1.จำนวนตำบล เข้าร่วมโครงการ ปี 59 =14 ปี 60= 24 44 38 86.36 2.จำนวนตำบลผ่านเกณฑ์ ปี 59 =14 ปี 60=24 36 94.74 3.ผู้สูงอายุภาวะพึ่งพิงได้รับการดูแลตามCare Plan (ร้อยละ 80-100) 1,633 1,512 92.59 4.มี Care Manager 102 100 5. Care giver 1,072 6. การจัดทำ Care plan - พื้นที่ปี 59 717 100.0 - พื้นที่ปี 60 916 795 86.79 3. ร้อยละของผู้สูงอายุมีพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์ (ร้อยละ 50) ผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัด/ประเด็นการตรวจราชการ1. ร้อยละตำบลที่มีระบบส่งเสริมสุขภาพดูแลผู้สูงอายุระยะยาว(Long Term Care) ในชุมชน ผ่านเกณฑ์ ( ร้อยละ 50) 1.จำนวนตำบลเข้าร่วมโครงการ ร้อยละ86.36 2.จำนวนตำบลผ่านเกณฑ์ ร้อยละ 84.21 3.ผู้สูงอายุภาวะพึ่งพิงได้รับการดูแลตามCare Plan ร้อยละ92.59 4.มี Care Manager ร้อยละ 100 5. Care giver ร้อยละ 100 6. การจัดทำ Care plan ปี 59 ร้อยละ 100 ปี60 ร้อยละ 86.79 Barthel Activities of Daily Living :ADL พฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์ หมายถึง ๒.๑ พฤติกรรมการออกกำลังกาย อย่างน้อยสัปดาห์ละ ๓ วัน ครั้งละ ๑๕-๓๐ นาที ๒.๒ รับประทานผักสด ผลไม้สด เป็นประจำ ๒.๓ ดื่มน้ำอย่างน้อยวันละ ๘ แก้ว ๒.๔ ไม่สูบบุหรี่/ไม่สูบยาเส้น ๒.๕ ไม่ดื่มเครื่องดื่มที่มีส่วนผสมของแอลกอฮอล์ (เช่น สุรา เบียร์ ยาดองเหล้า) หมายเหตุ ผ่านการประเมินทั้ง ๕ ข้อ ถือว่า ผ่านการประเมินพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์
สรุปผ่านเกณฑ์ ตำบล LTC รวม 42 ตำบล ร้อยละ 53.85 ของตำบลทั้งหมด ตัวชี้วัดที่ 3 (PA) ร้อยละตำบลที่มีระบบส่งเสริมสุขภาพดูแลผู้สูงอายุระยะยาว (Long Term Care) ในชุมชนผ่านเกณฑ์ (ร้อยละ 50) อำเภอ ปี 2559 ปี 2560 เป้าหมาย ผลงาน ร้อยละ เมืองกำแพงเพชร 2 100 6 ไทรงาม 1 คลองลาน 3 ขาณุวรลักษบุรี 4 คลองขลุง 5 พรานกระต่าย ลานกระบือ ทรายทองวัฒนา ปางศิลาทอง บึงสามัคคี - โกสัมพีนคร รวม 14 30 28 93.33 สรุปผ่านเกณฑ์ ตำบล LTC รวม 42 ตำบล ร้อยละ 53.85 ของตำบลทั้งหมด
14 ตำบลที่รับงบประมาณการดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง ปี 2559 (สปสช.) ชื่อ อปท. ตำบล อำเภอ จำนวน ผส. จำนวน เงิน แนวทาง เบิก- จ่ายเงิน ระยะเวลาท เบิก-จ่ายเงิน ขั้นตอนดำเนินงาน 1 อบต.วังหามแห วังหามแห ขาณุวรลักษ บุรี 22 110,000 หน่วยบริการ มีค.60 (แห่งแรก) เบิกจ่ายแล้ว 2 ทต.คลองลานพัฒนา คลองลานพัฒนา คลองลาน 111 555,000 มีนาคม60(แห่งที่ 2) 3 อบต.หนองแม่แตง หนองแม่แตง ไทรงาม 26 130,000 พค. 60 4 ทต.ระหาน ระหาน บึงสามัคคี ผ่านศูนย์พัฒนาคุณภาพฯ พค.60 5 ทต.พรานกระต่าย พรานกระต่าย 29 145,000 ศูนย์พัฒนาคุณภาพฯ ประชุมอนุกรรมการLTC เงินโอน23พย. 6 อบต.โกสัมพี โกสัมพี โกสัมพีนคร 57 285,000 ผ่านศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิต ผู้สูงอายุ พฤษภาคม 60 7 อบต.แม่ลาด แม่ลาด คลองขลุง 15 75,000 8 ทต.ทุ่งทราย ทุ่งทราย ทรายทอง วัฒนา 48 240,000 เงินโอนแล้วCgรับเงิน35คน 9 อบต.ปางตาไว ปางตาไว ปางศิลาทอง 10 อบต.ห้วยยั้ง ห้วยยั้ง 37 185,000 ประชุมอนุกรรมการโอนเงินแล้วยังไม่จ่ายCg 11 ทต.เทพนคร เทพนคร เมือง กำแพงเพชร 50 250,000 จะประชุมอนุกรรมการแล้ว 3 พค. 12 ทม.กำแพงเพชร ในเมือง 92 460,000 ประชุมอนุกรรมการLTC เงินโอนแล้ว จ่ายCg 5 กค 20 คน 13 ทต.ลานกระบือ ลานกระบือ 27 135,000 14 อบต.หนองหลวง หนองหลวง 120 600,000 โอนเงินแล้ว 717 3,585,000 ผ่านศูนย์ 11 แห่ง ผ่านหน่วยบริการ 3 แห่ง 11 แห่งผ่านศูนย์ฯ ผู้สูงอายุ 3 แห่ง หน่วยบริการ เบิกแล้ว 11 แห่ง หน่วยบริการ
จำนวนผู้สูงอายุ(สิทธิUC) ขั้นตอนการดำเนินงานเบิกจ่าย จำนวนและร้อยละผู้สูงอายุติดบ้าน ติดเตียง(สิทธิUC)ได้รับการวางแผนการดูแล (Care plan) จำแนกรายตำบล(ที่เข้าร่วมโครงการMOU กับสปสช.เขต 3นครสวรรค์) ปี 2560 ที่ ชื่อ อปท. ตำบล อำเภอ จำนวนผู้สูงอายุ(สิทธิUC) ทำcare plan ร้อยละ การเบิกจ่าย ขั้นตอนการดำเนินงานเบิกจ่าย 1 อบต.คณฑี คณฑี เมือง 21 100 ผ่านหน่วยบริการ ยังไม่เบิก 2 อบต.ท่าขุนราม ท่าขุนราม 20 3 ทต.ปากดง ไตรตรึงษ์ 22 อบต.ไตรตรึงษ์ 27 4 ทม.หนองปลิง หนองปลิง 28 5 ทต.ไทรงาม ไทรงาม 17 ผ่านศูนย์ผส. เบิกแล้ว 6 อบต.คลองน้ำไหล คลองน้ำไหล คลองลาน 73 7 อบต.โป่งน้ำร้อน โป่งน้ำร้อน 45 8 อบต.สักงาม สักงาม 29 9 อบต.เกาะตาล เกาะตาล ขาณุวรลักษบุรี 39 10 ทต.ขาณุวรลักษบุรี แสนตอ อบต.แสนตอ 11 อบต.โค้งไผ่ โค้งไผ่ 106 เบิกเงินแล้ว 12 อบต.วังชะพลู วังชะพลู 67 13 อบต.หัวถนน หัวถนน คลองขลุง 19
จำนวนและร้อยละผู้สูงอายุติดบ้าน ติดเตียง(สิทธิUC)ได้รับการวางแผนการดูแล (Care plan) จำแนกรายตำบล(ที่เข้าร่วมโครงการMOU กับสปสช.เขต 3นครสวรรค์) ปี 2560 ที่ ชื่อ อปท. ตำบล อำเภอ จำนวนผู้สูงอายุ(สิทธิUC) ทำcare plan ร้อยละ การเบิกจ่าย ขั้นตอนการดำเนินงานเบิกจ่าย 14 อบต.วังแขม วังแขม คลองขลุง 28 100 ผ่านศูนย์ผส. เบิกแล้ว 15 อบต.คลองสมบูรณ์ คลองสมบูรณ์ อนุมัติโครงการ 16 ทต.คลองพิไกร คลองพิไกร พรานกระต่าย จัดตั้งศูนย์แล้ว 17 ทต.เขาคีริส เขาคีริส 36 35 ยังไม่ได้จัดตั้ง 18 อบต.วังควง วังควง 19 อบต.จันทิมา จันทิมา ลานกระบือ 52 20 อบต.ถาวรวัฒนา ถาวรวัฒนา ทรายทองวัฒนา ผ่านหน่วยบริการ ยังไม่เบิก 21 อบต.หินดาต หินดาต ปางศิลาทอง 40 22 อบต.วังชะโอน วังชะโอน บึงสามัคคี 37 23 อบต.เทพนิมิต เทพนิมิต 84 24 อบต.ลานดอกไม้ตก ลานดอกไม้ตก โกสัมพีนคร ผ่านศูนย์ เบิกจ่ายแล้ว 6 ทต.20,อบต=26แห่ง 24 ตำบล 11อำเภอ 916 795 86.79 เข้าร่วมทั้งหมด 26 แห่ง ผ่านศูนย์ผส.13 แห่ง ผ่านหน่วยบริการ 11 แห่ง เบิกแล้ว 9 แห่ง
โครงการพัฒนาสังคมและคุณภาพชีวิตภาคเหนือ จังหวัดกำแพงเพชร ปี 2561 ปัจจัยแห่งความสำเร็จ แผนงาน/โครงการ ปี 2561 โครงการพัฒนาสังคมและคุณภาพชีวิตภาคเหนือ จังหวัดกำแพงเพชร ปี 2561 (งบพัฒนาภาค 35,614,700 บาท) มีนโยบาย ชัดเจน ผู้บริหารให้ความสําคัญ ศูนย์อนามัยที่ 3 ให้การสนับสนุนวิชาการ/เทคโนโลยี มีงบประมาณจากกองทุนฟื้นฟูฯจังหวัด จัดอบรม Cg ครอบคลุมกลุ่มเป้าหมาย 30 ตำบล จำนวน 2,405,180 บาท ทำให้การขับเคลื่อนการดำเนินงานการดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง ได้รวดเร็ว/ทันเวลา และ มีติดตามและประเมินผล ปัญหาอุปสรรค ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไข - ประชุมกรรมการระดับท้องถิ่น เสนอ care plan /การเบิกจ่ายเงินตามโครงการฯ และ ค่าตอบแทน Care giverล่าช้า - ผู้บริหารท้องถิ่นยังขาดความเข้าใจและความมั่นใจ ในระเบียบการใช้เงินกองทุน LTC - ขาดผู้รับผิดชอบชัดเจนในท้องถิ่นบางพื้นที่และ ขาดความรู้ ความเข้าใจการดำเนินงาน - จัดการศึกษาดูงานพื้นที่ต้นแบบและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน - ประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ - ติดตามเยี่ยมเสริมพลัง - ประสานสปสช . เขต 3 ร่วมชี้แจง ติดตามทำความเข้าใจ ปัจจัยแห่งความสำเร็จมีนโยบาย ชัดเจน ผู้บริหารให้ความสําคัญ ศูนย์อนามัยที่ 3 ให้การสนับสนุนวิชาการ/เทคโนโลยี มีงบประมาณจากกองทุนฟื้นฟูฯจังหวัด จัดอบรม Cg ครอบคลุมกลุ่มเป้าหมาย 30 ตำบล จำนวน 2,405,180 บาท ทำให้การขับเคลื่อนการดำเนินงานการดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง ได้รวดเร็ว/ทันเวลา และ มีติดตามและประเมินผลแผนงาน/โครงการ ปี 2561 1.โครงการพัฒนาสังคมและคุณภาพชีวิตภาคเหนือ จังหวัดกำแพงเพชร ปี 2561(งบพัฒนาจังหวัด 35,614,700 บาท) ปัญหาอุปสรรคคือ- ประชุมกรรมการระดับท้องถิ่น เสนอ care plan /การเบิกจ่ายเงินตามโครงการฯ และ ค่าตอบแทน Care giverล่าช้า - ผู้บริหารท้องถิ่นยังขาดความเข้าใจและความมั่นใจ ใน ระเบียบการใช้เงินกองทุน LTC - ขาดผู้รับผิดชอบชัดเจนในท้องถิ่นบางพื้นที่และ ขาดความรู้ ความเข้าใจการดำเนินงาน ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไขคือ- จัดการศึกษาดูงานพื้นที่ต้นแบบและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน - ประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ - ติดตามเยี่ยมเสริมพลัง
ขอบคุณค่ะสวัสดี จบการนำเสนอครับ ขอบคุณครับ