การอบรมครูด้วยระบบทางไกล โครงการบูรณาการสะเต็มศึกษา

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
พัฒนาระบบบริหารจัดการน้ำเพื่อการเกษตร(บูรณาการกระทรวง)
Advertisements

ชุมชนนักปฏิบัติ CoP “ การปฏิบัติงานพัสดุไม่ ยากอย่างที่คิด ” เริ่มก่อตั้งแต่ปี
การประชุมชี้แจงการรายงาน ผล การปฏิบัติราชการตามคำ รับรองการปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ พ. ศ พฤษภาคม 2556 ห้องประชุม 135 คณะ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
1. 2 วาระที่ 1 เรื่องที่ประธานแจ้งให้ที่ประชุมทราบ วาระที่ 2 รับรองรายงานการประชุมครั้งที่ 2/2552 เมื่อวันที่ 2 กุมภาพันธ์ 2552 วาระที่ 3 เรื่องเพื่อทราบ.
อัตราบรรจุ ข้าราชการ 2625 พนักงานราชการ 99 ลูกจ้างประจำ 77 รวม 4241 อัตราว่าง จำนวน 1 อัตรา ตำแหน่งนักทรัพยากรบุคคลชำนาญการ มาช่วย ราชการ น. ส. สุริยา.
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
โครงการ “ฟันเทียมพระราชทาน”
1. การดำเนินงาน 15 ประเด็น โครงการ ( โครงการเฉลิมพระเกียรติ ) 1.1 โรคคอตีบ - ตัวชี้วัด ความครอบคลุมการได้รับวัคซีนไม่ต่ำกว่า ร้อยละ 85 ในทุกจังหวัด - เป้าหมาย.
อัตราบรรจุ ข้าราชการ 2623 พนักงานราชการ 99 ลูกจ้างประจำ 77 รวม 4239 อัตราว่าง จำนวน 3 อัตรา ( ชำนาญการพิเศษ = 2 ชำนาญการ = 1) มาช่วย ราชการ น. ส. สุริยา.
การดำเนินงานโครงการ เมื่อได้รับอนุมัติงบประมาณ
โดยคณะวิทยากร (สสวท. ครูและคณาจารย์)
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
ร่องรอยหลักฐานการกำหนดมาตรฐานและการจัดระบบบริหาร
โครงการ “ พัฒนาคุณภาพ การจัดการศึกษา เรียนร่วมและเรียนรวม”
กลุ่ม 6 ผลการประชุมระดมความ คิดเห็น เพื่อกำหนดทิศทางก้าวใหม่ ในการให้บริการ : ฝึกอบรมนักวิทยาศาสตร์ ห้องปฏิบัติการ.
KPI 8 : ระดับความสำเร็จของการพัฒนาบุคลากร น้ำหนัก :ร้อยละ 5 KPI ๑๐ : ระดับความสำเร็จของการพัฒนาปรับปรุง วัฒนธรรมองค์การ น้ำหนัก : ร้อยละ 3 กองการเจ้าหน้าที่
การบริหารราชการ กระทรวงศึกษาธิการในภูมิภาค. การปรับการบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการในภูมิภาค ๑. เหตุผลความจำเป็น ๒. การใช้อำนาจ รมว.ศธ.ในการแต่งตั้งคณะกรรมการ.
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษา เขต 39 สำนักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐาน 16 พฤษภาคม 2558 ณ โรงแรมน่านเจ้า จังหวัดพิษณุโลก การประชุมชี้แจง เรื่อง.
โครงการ / กิจกรรม ประจำปี ๒๕๕๖ ฝ่ายพัฒนาการมีส่วนร่วม สำนักการมีส่วนร่วมในกระบวนการ เลือกตั้ง มี ๔ โครงการ ( ๖ กิจกรรม ) ส่วนกลาง ดำเนินการเอง มี ๒ กิจกรรม.
1. เพื่อสื่อสารนโยบายสู่ผู้บริหารใน ส่วนกลาง ผู้บริหารส่วนผู้ภูมิภาค ผู้บริหารเขตพื้นที่การศึกษา ผู้บริหาร สถานศึกษา ครูและบุคลากรทางการ ศึกษาในสังกัดสพฐ.
การจัดการข้อมูล 3 ฐาน จังหวัดร้อยเอ็ด นางสุภาภรณ์ ทัศนพงศ์ สสจ. ร้อยเอ็ด.
การประชุม ผู้อำนวยการสถานศึกษา สพป. มหาสารคาม เขต 1 15 มกราคม 2558 ณ ห้องประชุม 4 B อาคารศูนย์ภาษา และคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม ดร. สุรัตน์
รายงานการ ดำเนินงาน ศูนย์แนะแนวต้นแบบประจำสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษา รายงานการ ดำเนินงาน ศูนย์แนะแนวต้นแบบประจำสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษา.
โครงการพัฒนาครูทั้งระบบ สรุปโครงการการพัฒนาครูทั้งระบบ ประกอบด้วยทั้งหมด 13 กิจกรรม ดังต่อไปนี้ 1. ผลิตครู การศึกษาขั้นพื้นฐาน (5 ปี ) ระยะที่ 2 พ. ศ.
ปรานอม ประทีปทวี 25/09/591 หน้าที่ของครูผู้นิเทศ สพม.5.
หนังสือ เข้า 1. หน่วยสาร บรรณ หรือ งานธุรการ ระบบสารบรรณกระดาษ - บันทึกรายละเอียดผ่านระบบ - สแกนเอกสารลงระบบ ( กรณีเร่งด่วน ) 2. หน่วยงาน ภายใน - ลงทะเบียนรับผ่านระบบ.
กลุ่มนโยบายและแผนงาน ฝ่ายแผนและพัฒนา
การเยี่ยมตรวจคุณภาพบริการการพยาบาลและการผดุงครรภ์
บทที่ 3 องค์ประกอบของการสัมมนา
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
กลุ่มพัฒนาเครือข่ายและสถานศึกษาต้นแบบ (กพค.)
การพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงาน (Quality of Work Life)
Boot Camp & Regional English Training Centres
100 ตำบลต้นแบบในการบูรณาการ ด้านส่งเสริมสุขภาพ 5 กลุ่มวัย และอนามัยสิ่งแวดล้อม โดย กรมอนามัย.
งาน Road Map ศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตรปี 2560
ส้วมสะอาดในร้านอาหาร
กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพ ครูและนักเรียน
วิธีการกรอกแบบเสนอโครงการในไฟล์ Power point นี้
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
การติดตามเกี่ยวกับการดำเนินการขับเคลื่อน สะเต็มศึกษาในโรงเรียนเอกชน
ระบบบริหารจัดการงานวิจัยของหน่วยงาน Department Research Management System DRMS โดยทีมพัฒนาระบบ DRMS สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.)
การดำเนินงานคุณธรรม และความโปร่งใส
วาระที่ 3.4 แนวทางการปฏิบัติงานโครงการตามนโยบาย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
แนวทางปฏิบัติ กรมป่าไม้
กิจกรรมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ งานบริหารและธุรการ คณะบริหารธุรกิจ
การบริหารงานประชาสัมพันธ์ของจังหวัด : การประชาสัมพันธ์และการจัดการสื่อ
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูลเพื่อการพัฒนาชุมชน ปี 2561
ณ ห้องประชุมกองวิจัยและพัฒนางานส่งเสริมการเกษตร
จัดทำคู่มือโครงการฯ ก.ย.-ต.ค.61 ประชุมเตรียมการจัด RW ต.ค.61 / มิ.ย.62
การสัมมนาแนวทางการดำเนินงาน
EB9 หน่วยงานของท่านมีการดำเนินการเพื่อป้องกันผลประโยชน์ทับซ้อนในหน่วยงานอย่างไร (1) มีการวิเคราะห์ความเสี่ยงเกี่ยวกับการปฏิบัติงานที่อาจเกิดผลประโยชน์ทับซ้อน.
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
วาระการประชุมคณะกรรมการกำกับดูแลองค์การที่ดี สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์สาธารณสุข ครั้งที่ ๑/๒๕๖๐ วันพฤหัสบดีที่ ๓ พฤศจิกายน ๒๕๕๙ เวลา ๐๙.๓๐ – ๑๒.๐๐ ณ.
การจัดค่ายยุวชนคนคุณธรรม
ณ ห้องประชุมกำธร สุวรรณกิจ
ปี 2560 ปฏิทินการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส
ความคืบหน้าการจ้างลูกจ้างชั่วคราว เป็นพนักงานกระทรวงสาธารณสุข (พกส.)
ความก้าวหน้าในการดำเนินงาน Product Champion Cluster วัยรุ่น
การทำวิทยฐานะ แนวทางใหม่
เรื่องเพื่อทราบ : ปฏิทินสรุปผลตรวจราชการปี รอบ 2/2561
จังหวัดสมุทรปราการ.
โครงการยกระดับคุณภาพผู้เรียน ในการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ (NT/O-NET)
โครงการโรงเรียนคุณภาพประจำตำบล (1 ตำบล 1 โรงเรียนคุณภาพ)
การจัดการความรู้ สำนักชลประทานที่ 15
“ทิศทางการขับเคลื่อน คุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน” ของสำนักงานคณะกรรมการ
อุปนายกสมาคมวิจัยและพัฒนาการศึกษา ดร.พรสันต์ เลิศวิทยาวิวัฒน์
โครงการพัฒนาคุณภาพการศึกษาและการพัฒนาท้องถิ่นโดยมีสถาบันอุดมศึกษาเป็นพี่เลี้ยง (TOR) คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม . . ฝ่ายวิชาการ . .
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
คณะแพทยศาสตร์ ด้วยความยินดียิ่ง มหาวิทยาลัยขอนแก่น ขอต้อนรับทุกท่าน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การอบรมครูด้วยระบบทางไกล โครงการบูรณาการสะเต็มศึกษา สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี ปีงบประมาณ ๒๕๖๐

ที่มา   สสวท. ได้รับมอบหมายให้นำเสนอโครงการบูรณาการสะเต็มศึกษา โดย สสวท เป็นหลักของโครงการ และได้จัดสรรงบประมาณ เพื่อดำเนินงานโครงการบูรณาการให้ ๓ ปีต่อเนื่อง ตั้งแต่ ปีงบประมาณ ๒๕๖๐- ๒๕๖๒ เพื่อดำเนินการพัฒนาครูสะเต็มศึกษาให้ครอบคลุมทุกเขตพื้นที่การศึกษาและทุกสังกัด ตั้งแต่ระดับประถมศึกษา ถึง ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย พร้อมทั้งสนับสนุน เอกสาร สื่อ วัสดุ อุปกรณ์ ประกอบการอบรม และ สนับสนุน ค่าอาหารกลางวัน อาหารว่าง แก่ศูนย์การอบรมของโรงเรียนในทุกสังกัด

หลักการ  ใช้ระบบการอบรมครูทางไกล ผ่าน สถานีโทรทัศน์ เพื่อการศึกษา ETV / DLTV / OBEC CHANNEL  สสวท เป็นวิทยากรที่ต้นทาง โดยบันทึกเทปวีดิทัศน์ และจัดตอบคำถามสดระหว่างที่ปล่อยสัญญานออกอากาศ ณ กระทรวงศึกษาธิการ  ปลายทางทุกสังกัด มีโรงเรียนเป็นศูนย์การอบรมรวม ๕๒๗ ศูนย์การอบรมในทุกจังหวัดของประเทศไทย โดย สสวท สนับสนุนงบประมาณแก่ศูนย์การอบรมเป็นค่าใช้จ่าย เรื่อง จัดซื้อ สื่อ อุปกรณ์ เอกสาร ประกอบการอบรม และค่าอาหารกลางวัน อาหารว่าง ระหว่างการอบรม สพฐ ๑๕๔ ศูนย์ สช ๑๕๔ ศูนย์ อปท ๑๕๔ ศูนย์ กทม ๔๕ ศูนย์ กศน ๑๙ ศูนย์

สถานีโทรทัศน์ออกอากาศ  ฝ่ายเครือข่าย สสวท ได้ประสาน กับ สถานีโทรทัศน์ เพื่อขอการจัดสรรเวลาออกอากาศ

ศูนย์ฝึกอบรมสะเต็มศึกษา รร สพฐ ๑๕๖ โรงเรียน รร สช ๑๕๔ โรงเรียน รร อปท ๑๕๔ โรงเรียน รร กทม ๔๕ โรงเรียน รร กศน ๑๙ โรงเรียน รวม ๕๒๗ ศูนย์การอบรม ๑๓ ศูนย์ภาค ๕๒๗ ศูนย์ฝึกอบรมประจำแต่ละจังหวัด

การดำเนินงานโรงเรียนศูนย์อบรมครู ประกาศโรงเรียนศูนย์การอบรม ผ่านเว็ปไซต์ กระทรวงศึกษาธิการ ศูนย์จะต้องประชาสัมพันธ์ รับสมัครครูเข้ารับการอบรมที่ศูนย์การอบรมในวันเวลาที่กำหนด จัดตั้งคณะทำงานดำเนินงาน จัดให้มีการอบรม จัดสื่อ อุปกรณ์ เอกสาร ให้ผู้เข้ารับการอบรม ประเมินผลการดำเนินงาน แบบสอบถาม สสวท สรุปรายงานผลการอบรมจากแบบสอบถาม รายงานผลเป็นรูปเล่ม ประเมินคัดเลือกครูผ่านการอบรมจากโครงงาที่ส่ง ประกาศผลการคัดลือกผ่านเว็ปไซต์ สสวท ครูพี่เลี้ยงจะได้เกียรติบัตรและเข็มสะเต็ม เข้ารับการอบรมตรงจาก สสวท โรงเรียนได้รับการเชิดชูเกียรติเป็นศูนย์อบรมสะเต็มศึกษา สสวท จะสนับสนุน งบประมาณ ผ่านหน่วยงาน ไปยังศูนย์การอบรม

จำนวนศูนย์ฝึกอบรมปีงบประมาณ๒๕๖๐ จำนวนศูนย์การอบรมและจำนวนครูพี่เลี้ยงประจำศูนย์ฝึกอบรม ที่ สังกัด จำนวนศูนย์ฝึกอบรมปีงบประมาณ๒๕๖๐ ครูพี่เลี้ยงประจำ ศูนย์ฝึกอบรม ๑ สพฐ ๑๕๔ ๔๖๘ ๒ สช ๓ อปท ๔ กทม ๔๕ ๑๓๕ ๖ กศน ๑๙ ๕๗ รวม ๕๒๗ ๑,๕๙๖ ช่องทางออกอากาศ ETV /DLTV /OBEC TV

คุณสมบัติครูพี่เลี้ยงประจำ โรงเรียนที่เป็นศูนย์การอบรม ครูทางไกลสะเต็มศึกษา ผู้บริหารสถานศึกษายินดีและอนุญาตให้ เป็นครูพี่เลี้ยงสะเต็มศึกษา ประจำโรงเรียนที่เป็นศูนย์การอบรมครูทางไกลสะเต็มศึกษา ครูพี่เลี้ยงที่ได้รับการคัดเลือกเป็นครูพี่เลี้ยงสะเต็มศึกษา ต้องเป็นครูที่มีความรู้ ความสามารถ มีศักยภาพสูง และทำการสอนในวิชาวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และเทคโนโลยี มาอย่างน้อย ๕ ปี ครูพี่เลี้ยงสะเต็มศึกษา ควรผ่านการอบรมสะเต็มศึกษา มีความรู้ความเข้าใจสะเต็มศึกษาดีพอสมควร ครูพี่เลี้ยงที่ได้รับการคัดเลือกเป็นครูผู้นำสะเต็มศึกษา ยินยอม และยินดีเป็นครูพี่เลี้ยงสะเต็มศึกษาและสามารถเข้ารับการอบรมโดยตรงจาก สสวท และ สามารถถ่ายทอดให้ครูพี่เลี้ยงประจำศูนย์การอบรมได้อย่างมีประสิทธิภาพ ครูพี่เลี้ยงสามารถทำงานเป็นทีมได้อย่างมีประสิทธิภาพ ชอบงานบริการ สามารถจัดให้มีการอบรม ณ โรงเรียนที่เป็นศูนย์การอบรม จัดอาหาร เครื่องดื่ม สื่อ อุปกรณ์ ตลอดการอบรม  

บทบาทภาระหน้าที่ครูพี่เลี้ยงสะเต็มศึกษา ครูพี่เลี้ยงสะเต็มศึกษา จะต้องทำการประชาสัมพันธ์ไปยังโรงเรียนข้างเคียงในสังกัดเดียวกัน เพื่อรับสมัครครูผู้สอนวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และเทคโนโลยี เข้ารับการอบรม ณ โรงเรียนที่เป็นศูนย์การอบรม ครูพี่เลี้ยงสะเต็มศึกษา ขออนุญาตผู้บริหารจัดตั้งคณะทำงานจัดให้มีการอบรม ณ โรงเรียนที่เป็นศูนย์การอบรม ในวัน เวลาที่ สสวท กำหนด ครูพี่เลี้ยงสะเต็มศึกษา ต้องจัดให้มีการอบรมครูสะเต็มศึกษา เกิดขึ้น ณ ศูนย์การอบรมครูสะเต็มศึกษา โดยจัดเตรียมห้องอบรม ประกอบด้วย จอรับภาพ เครื่องฉายภาพ โต๊ะขาพับเพื่อปฏิบัติการ จัดเตรียม อาหาร เครื่องดื่ม สื่อ อุปกรณ์ ให้การบริการ แก่ครูที่เข้ารับการอบรม อย่างพอเพียงและทั่วถึง เมื่อเสร็จสิ้นการอบรม ครูพี่เลี้ยงสะเต็มศึกษา ประเมิน ประสิทธิภาพ ประสิทธิผลของการอบรมครูทางไกลสะเต็มศึกษา ตามแบบประเมินที่ สสวท กำหนด

บทบาทภาระหน้าที่ครูพี่เลี้ยงสะเต็มศึกษา ๕. ครูพี่เลี้ยงสะเต็มศึกษา สรุปแบบประเมิน และสรุปรายงานผลการอบรม นำส่ง ต้นสังกัด ๖. ครูพี่เลี้ยงสะเต็มศึกษา ที่เป็นคณะทำงานโครงการบูรณาการครั้งนี้ จะได้รับการพัฒนาเพิ่มพูนความรู้ความ เข้าใจสะเต็มศึกษา โดยตรงจาก สสวท และจะได้รับเข็มเชิดชูเกียรติ และเกียรติบัตรจาก สสวท แต่งตั้งเป็นครูพี่เลี้ยงประจำศูนย์การอบรมของแต่ละสังกัดต่อไป ๗. ครูพี่เลี้ยงสะเต็มศึกษา ประเมินและคัดเลือกครูจาก ผลงาน โครงการ หรือโครงงานสะเต็มศึกษา โดย ส่งรายชื่อและผลงานที่ผ่านการคัดเลือก จาก ศูนย์การอบรม ไปยังมหาวิทยาลัยเครือข่ายสะเต็มศึกษา เพื่อดำเนินการพิจารณา เชิญครูที่ผ่านการประเมินเข้ารับการอบรมพัฒนาอย่างเข้มเตรียมเป็นครูพี่เลี้ยงประจำศูนย์การอบรมในปีถัดไป  

สถานีโทรทัศน์ออกอากาศ  ฝ่ายเครือข่าย สสวท ได้ประสาน กับ สถานีโทรทัศน์ เพื่อขอการจัดสรรเวลาออกอากาศ

กำหนดการอบรมทางไกลสะเต็มศึกษา ครั้งที่ ๑/๒๕๖๐ เวลาออกอากาศ ETV /DLTV /OBEC TV ระดับ ระยะเวลา มัธยมศึกษาตอนปลาย ๑๙-๒๑ เมษายน ๖๐ มัธยมศึกษาตอนต้น ๒๖-๒๘ เมษายน ๖๐ ประถมศึกษา ๑-๓ พฤษภาคม ๖๐

เอกสาร อุปกรณ์ สำหรับศูนย์ฝึกการอบรม ๑. สื่อ อุปกรณ์ ๑ ชุดใหญ่ ๒๒ กล่อง และเอกสาร ไว้ที่ศูนย์การอบรม ๒. อุปกรณ์ ๓ กิจกรรมๆละ ๑๐ ชุดการอบรม ได้แก่ สเลอปี้ / เล่นล้อวงกลม/ the young designer

ชุดกิจกรรมสะเต็มศึกษา สสวท คู่มือการจัดกิจกรรม เอกสารกิจกรรม สื่อ อุปกรณ์ จัดซื้อ จัดหา สกสค

เอกสาร สำหรับครูที่เข้ารับการอบรม เอกสารกิจกรรม และคู่มือ จำนวน ๔ เล่ม และเอกสารคู่มือการอบรม ๓ กิจกรรม อีก ๑ เล่ม รวม ๕ เล่ม (ศูนย์ต้องสั่งซื้อผ่าน สกสค หรือ องค์การค้าของคุรุสภา )

การประชาสัมพันธ์ และการลงนามความร่วมมือ  ประชาสัมพันธ์ทั้งสื่อสิ่งพิมพ์ และสื่อออนไลน์ เช่น หนังสือพิมพ์ เว็ปไซต์ สสวท และของทุกสังกัด  จัดให้มีการลงนามความร่วมมือกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ทุกสังกัด ในวันที่ ๓๐ มีนาคม ๒๕๖๐ ณ อาคาร สพฐ ๔ ชั้น ๒ เวลา ๑๐.๐๐ – ๑๑.๐๐ น ทั้งนี้จะมีการหารือกับท่านเลขา สพฐ และจัด ประชุมเตรียมความพร้อมกับหน่วยงานทุกสังกัด ต่อไป  เตรียมจัดทำวีดิทัศน์ เพื่อการประชาสัมพันธ์ และ จัดทำแผ่นพับ เอกสารคู่มือการอบรม ทั้งสื่อสิ่งพิมพ์ และสื่อดิจิตอล

แผนการดำเนินงาน ศูนย์อบรม ที่ กิจกรรม ธค มค กพ มีค เมย พค มิย กค สค ๑ ประชาสัมพันธ์ให้โรงเรียนอื่นๆรับทราบ ๒ เตรียมคณะทำงาน จัดห้อง เอกสาร จอทีวี อุปกรณ์การอบรม ๓ ลงทะเบียนรับครูเข้ารับการอบรม ๔ จัดการอบรมช่วงออกอากาศ ๕ ประเมินผลครูเข้ารับการอบรม ๖ ครูมาพบกันที่ศูนย์ เสาร์ อาทิตย์ สรุปรายงาน