ระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการบริหารจัดการน้ำ โดยการมีส่วนร่วมของชุมชน ดร. ภาสกร แช่มประเสริฐ OASYS Research Group คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการบริหารจัดการน้ำโดยการมีส่วนร่วมของชุมชน โครงการย่อย แผนงานวิจัย ระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการบริหารจัดการน้ำ โดยการมีส่วนร่วมของชุมชน 1. การพัฒนาระบบเครือข่ายสถานีตรวจวัดขนาดเล็กเพื่อวัดปริมาณและคุณภาพน้ำร่วมกับสถานีตรวจวัดสภาพภูมิอากาศ 2.การพัฒนาแบบจำลองการบริหารจัดการลุ่มน้ำ ที่สามารถปรับเปลี่ยนตามการเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล้อม
ภาพรวม การนำเสนอ สถานี โทรมาตร ระบบสารสนเทศ ผลตอบรับ - ทรัพยากรน้ำ - เว็บไซต์ - การอ่านค่าสถานีโทรมาตร - การเก็บข้อมูลเชิงพื้นที่ - ระบบสนับสนุนการเปิดปิดประตูเหมืองฝาย ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม ถาม ตอบ คำถาม แบบสอบถาม แนวทางการทำงานต่อเนื่อง - สถานีวัดระดับน้ำ - สถานีวัดคุณภาพน้ำ - สถานีสภาพภูมิอากาศ - ทรัพยากรน้ำ - แม่จัน ฝาย และการจัดการ - ภาพรวมระบบ ภาพรวม สถานี โทรมาตร ระบบสารสนเทศ ผลตอบรับ
เหมืองฝาย และ สถานีโทรมาตร โทรมาตร คุณภาพน้ำ โทรมาตร วัดสันทราย WM01 โทรมาตร ป่าซาง WM02 โทรมาตรลานทอง STK06 โทรมาตรป่าตึง STK07 KH 89 โทรมาตร ภูมิอากาศ ความชื้นในดิน
โการพัฒนาสถานีตรวจวัดปริมาณน้ำ (Telemetry Water Quantity Station) สถานีตรวจวัดปริมาณน้ำ (ระดับน้ำ) 2 สถานี ติดตั้งแล้วเสร็จในพื้นที่ - สะพานสันทรายป่าซาง (ก่อนฝายโพธนาราม) - สะพานวัดสันทราย (หลังฝายโพธนาราม)
การพัฒนาสถานีตรวจวัดปริมาณน้ำ (Telemetry Water Quantity Station)
การพัฒนาสถานีวัดสภาพภูมิอากาศ (Weather Station) สถานีตรวจวัดสภาพภูมิอากาศ จะมีสองลักษณะคือ สถานีแม่ข่าย (Cluster-Head Station) ที่มีระบบสื่อสารระยะไกลผ่านเครือข่ายโทรศัพท์ไร้สายและระบบสื่อสารระยะใกล้ (ZigBee) สถานีลูกข่าย (Cluster-Member Station) ที่มีระบบการสื่อสารระยะใกล้ ทำการรายงานข้อมูลที่ทำการตรวจวัดผ่านทางสถานีแม่ข่าย การสื่อสารของสถานีตรวจวัดสภาพภูมิอากาศ
โครงการย่อย 1 การพัฒนาสถานีวัดสภาพภูมิอากาศ (Weather Station)
โครงการย่อย 2 การพัฒนาแบบจำลองการบริหารจัดการลุ่มน้ำที่สามารถเปลี่ยนตามการเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล้อม
โครงการย่อย 2 แผนผังเว็บไซต์