KUSUMA TEPPHARAK (Ph.D.) THEATRE IN EDUCATION KUSUMA TEPPHARAK (Ph.D.)
THEATRE คือ... การจำลองชีวิต เพื่อสะท้อนประสบการณ์แห่งความเป็นจริง การสื่อสารของนักแสดงไปยังผู้ชม ผ่านการผสมผสานกันระหว่าง ร่างกาย ถ้อยคำ เพลง และการเต้นรำ
วัตถุประสงค์ -ทำให้การสอนและการเรียนรู้มีประสิทธิภาพในห้องเรียนมากยิ่งขึ้น -ทำให้เห็นผลของละครเพื่อการศึกษาในเชิงการเรียนรู้และทักษะการสื่อสาร -ทำให้ห้องเรียนเป็นดั่งเวทีที่เปิดกว้าง
CREATIVE RISK PERSONAL RISK
การวางแผนการสอน เราต้องการให้ผู้เรียนได้อะไร แล้วจะให้เขาเรียนรู้อย่างไร กลยุทธ์ในการทำให้ผู้เรียนเรียนรู้สิ่งที่สามารถไปใช้ในงานและชีวิตได้คืออะไร พวกเขาได้เรียนรู้ว่าพวกเขาเรียนรู้แล้วใช่ไหม
เป้าหมายและโฟกัส -สนับสนุนความร่วมมือ ประสานกลุ่ม -พัฒนาทักษะการสื่อสาร และเทคนิคการโต้แย้ง รวมถึงเปิดมุมมองต่อสิ่งใหม่ -สร้างปฏิสัมพันธ์กับสังคม ความเห็นอกเห็นใจกัน -สร้างความภูมิใจในตนเอง ความมั่นใจในตนเอง -พบเนื้อหาใหม่ๆจากสิ่งที่เราใช้ในการสวมบทบาทสมมติ หรือจากการแสดงละคร
กระบวนการละครเพื่อการศึกษา -ผู้เรียนสามารถแสดงบนเวทีได้ โดยนำประเด็นทางสังคมหรือสิ่งที่อยู่รอบตัวเขามาสร้างสรรค์เป็นโปรดักชั่น -เป็นส่วนหนึ่งของประสบการณ์สุนทรียะ ที่ดึงประสบการณ์ของผู้มีส่วนร่วมมาแลกเปลี่ยนเรียนรู้และคิดร่วมกัน -คิด วิเคราะห์ ปัญหาสังคม ทั้งขนาดใหญ่ กลาง เล็ก โดยเป็นเครื่องมือที่จะช่วยให้ค้นพบความเข้าใจในประเด็นต่างๆได้ลึกซึ้งขึ้น -ส่งเสริมให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ตนเองและผู้คนรอบข้าง
INNER OUTER INNER TRUTH SPEAKING ACTION -OBJECTIVE -CONTENT -MOTIVATION SPEAKING ACTION
เครื่องมือที่ใช้ใน THEATRE IN EDUCATION AND DRAMA WORK บทละคร การเขียนเรื่องราว ละครใบ้ โมโนล็อค หน้ากาก
เครื่องมือที่ใช้ใน THEATRE IN EDUCATION AND DRAMA WORK บทกวี หรือ บทเพลง หุ่น หุ่นเงา หุ่นผ้า หุ่นคน หุ่นสาย การด้นสด การสัมภาษณ์
เครื่องมือที่ใช้ใน THEATRE IN EDUCATION AND DRAMA WORK บทสนทนา ตาโบล์ว วิวอง ภาพนิ่งเล่าเรื่อง บทบาทสมมุติ จดหมาย
Change Transition Process
ผลของละครเพื่อการศึกษา -พบพลังของการสานพลัง ผู้เรียนสามารถเชื่อมต่อถึงกัน -สร้างความภูมิใจในตนเอง ความรับผิดชอบ และการตระหนักถึงความสามารถของตน -เข้าใจผู้อื่นผ่านสถานการณ์ชีวิต และการสวมบทบาทสมมุติ -ทำให้สามารถเป็นคนอื่นได้ -เพิ่มประสบการณ์ ทำให้เป็นคนคิดสร้างสรรค์
ผลของละครเพื่อการศึกษา -เข้าใจตนเองมากยิ่งขึ้น -มั่นใจในการสื่อสาร -สร้างสรรค์ -มีความสุขกับโรงเรียนและการเรียนรู้มากยิ่งขึ้น -มีมุมมองที่เอาใจเขามาใส่ใจเรา -มีทักษะการแก้ไขปัญหา -ทำให้มีความเป็นพลเมืองมากยิ่งขึ้น
Q & A