การสืบพันธุ์ของพืช
การสืบพันธุ์ เป็นกระบวนการที่สิ่งมีชีวิตสร้างสิ่งมีชีวิตชนิดเดียวกันเพื่อดำรงพันธุ์ไว้
การสืบพันธุ์ แบ่งออกเป็น 2 ประเภท ดังนี้ 1 การสืบพันธุ์ แบ่งออกเป็น 2 ประเภท ดังนี้ 1. การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศ เกิดจากการผสมระหว่างเซลล์สืบพันธุ์เพศผู้ คือ สเปิร์ม(Sperm) กับเซลล์สืบพันธุ์เพศเมีย คือเซลล์ไข่(Egg) ได้ ต้นอ่อน(Embryo)
2. การสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศของพืช 2 2. การสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศของพืช 2.1 การใช้ส่วนต่างๆ ของพืชมาขยายพันธุ์ 2.2 การขยายพันธุ์ด้วยวิธีอื่นๆ 2.2.1 การตอน 2.2.2 การติดตา 2.2.3 การทาบกิ่ง 2.2.4 การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ
A flower is the part of the plant that makes the seeds. What Is A Flower? A flower is the part of the plant that makes the seeds. The main parts of a flower are the carpels and stamens. These parts are often found in the center of the flower.
There are egg cells in the carpel and pollen cells in the stamen. What Is A Flower? There are egg cells in the carpel and pollen cells in the stamen. All flowers have four basic parts:sepals, petals, carpels andstamen. Different flowers have different numbers and shapes of these parts.
โครงสร้างดอก ดอก (Flower) เป็นอวัยวะของพืชที่ทำหน้าที่ในการสืบพันธุ์ มีส่วนประกอบ 1. กลีบเลี้ยง ทำหน้าที่ห่อหุ้มป้องกันอันตรายให้กับส่วนประกอบต่างๆ 2. กลีบดอก ทำหน้าที่ ล่อแมลงให้มาผสมเกสร
3. เกสรตัวผู้ ทำหน้าที่สร้างเซลล์สืบพันธุ์เพศผู้ ประกอบด้วย อับเรณู และก้านชูอับเรณู 4. เกสรตัวเมีย ทำหน้าที่สร้างเซลล์สืบพันธุ์เพศเมียหรือไข่ ประกอบด้วย ยอดเกสรตัวเมีย ก้านชูเกสรตัวเมีย และรังไข่
ส่วนประกอบของดอก
ส่วนประกอบของดอก
ส่วนประกอบของดอก
A Wild Strawberry Flower
A flower is basically made up of four concentric rings of structures. There is an outer ring of modified leaves called sepals. These provide protection to the flower before it opens and are usually green. This outer ring is known as the calyx
Inside the sepals is another ring of modified leaves called petals which are often brightly coloured. This layer is known as the corolla.
A flower is basically made up of four concentric rings of structures.
The female parts The female parts of a flower consist of an ovary, which contains one or more ovules, a style and the stigma. The ovary is at the base of the flower.
From the ovary, extends a tubular structure called the style and on the top of the style is a surface receptive to pollen called the stigma. The stigma can take many different forms, most of them designed to help trap pollen. There are many variations on this basic structural theme.
The male parts The male parts of a flower consist of one or more stamens. Each stamen is made up of paired anthers (sacs containing pollen) on a filament or stalk.
The male parts of a flower consist of one or more stamens The male parts of a flower consist of one or more stamens. Each stamen is made up of paired anthers (sacs containing pollen) on a filament or stalk. The anthers are the orange/yellow structures often seen in the centre of a flower. Pollen from the anthers of one flower is transferred to the stigma of another usually either by wind, or by animals, especially insects.
Flower Part Peduncle Flower stalk. Receptacle Part of flower stalk bearing the floral organs, at base of flower. Sepal Leaf-like structures at flower base, protects young flower bud. Calyx All the sepals together form the calyx. Petal Located in and above the sepals, often large and colourful, sometimes scented, sometimes producing nectar. Often serve to attract pollinators to the plant. Corolla All the petals together form the corolla.
Flower Part Stamen Male part of the flower, consisting of the anther and filament, makes pollen grains. Filament The stalk of the stamen which bears(พยุง) the anther. Anther The pollen bearing portion of a stamen. Pollen Grains containing the male gametes. Immature male gametophyte with a protective outer covering.
Flower Part Carpel\Pistil Female part of the flower. Consisting of the stigma, style and ovary. Stigma Often sticky top of carpel, serves as a receptive surface for pollen grains. Style The stalk of a carpel, between the stigma and the ovary, through which the pollen tube grows. Ovary Enlarged base of the carpel containing the ovule or ovules. The ovary matures to become a fruit. Ovule Located in the ovaries. Carries female gametes. Ovules become seeds on fertilization.
ประเภทของดอก แบ่งโดยการใช้เกณฑ์ในการแบ่ง 2 แบบ ดังนี้ 1. ประเภทของดอกโดยใช้องค์ประกอบทั้ง 4 ส่วนเป็นเกณฑ์ แบ่งได้ 2 ประเภท 1.1 ดอกครบส่วน คือดอกที่ประกอบด้วย กลีบเลี้ยง กลีบดอก เกสรตัวผู้ เกสรตัวเมีย 1.2 ดอกไม่ครบส่วน คือที่มีส่วนประกอบไม่ครบทั้ง 4 ส่วน
2. ประเภทของดอกโดยใช้เกสรตัวผู้และเกสรตัวเมีย เป็นเกณฑ์ แบ่งได้ 2 ประเภท 2.1 ดอกสมบรูณ์เพศ คือ ดอกที่มีทั้งเกสรตัวผู้และเกสรตัวเมีย 2.2 ดอกไม่สมบรูณ์เพศ ดอกที่มีเฉพาะเกสรตัวผู้หรือเกสรตัวเมียอย่างหนึ่งอย่างใด
1. 3 การผสมพันธุ์ของพืชดอก มี 2 ขั้นตอน ดังนี้ 1 1.3 การผสมพันธุ์ของพืชดอก มี 2 ขั้นตอน ดังนี้ 1. การถ่ายละอองเรณู คือ การที่ละอองเรณูไปตกลงบนยอดเกสรตัวเมีย 2. การปฏิสนธิ คือ การที่สเปิร์มนิวเคลียสเข้าไปผสมกับเซลล์ไข่ ซึ่งจะเกิดขึ้นภายหลังที่ละอองเรณูไปเรณูไปตกลงบนยอดเกสรตัวเมีย
Pollination Pollination is the transfer of pollen (containing the male gametes), from the anther of a flower, to the stigma (receptive surface of the female part of the flower) of the same or a different flower.
Pollination Pollination - When pollen is passed from the stamen to the carpels either by. insects -> insects go to feed on nectar of flower. Brush against stamens and collect pollen. Brush against carpel and pass on pollen.
Pollination Wind -> Pollen is blown by the wind. Wind pollinated flowers usually have small or non-existent petals.
The beauty of pollination
Fertilization Once a pollen grain reaches the stigma of another flower of the same species, it will produce a pollen tube. This grows down through the style until it reaches an ovule. Fertilization then takes place, resulting in a seed.
การถ่ายละอองเรณู
แมลงช่วยถ่ายละอองเรณู
แมลงช่วยถ่ายละอองเรณู
ลมช่วยถ่ายละอองเรณู
ลมช่วยถ่ายละอองเรณู
น้ำช่วยถ่ายละอองเรณู
ส่วนประกอบภายในรังไข่
การงอกของละอองเรณู
การเกิดการปฏิสนธิ
ขั้นตอนการปฏิสนธิ
1. ผลเดี่ยว 2. ผลกลุ่ม 3. ผลรวม 1.4 ผล 1. ผลเดี่ยว 2. ผลกลุ่ม 3. ผลรวม
ผลไม้ประเภทต่าง ๆ
การขยายพันธุ์พืชโดยอาศัยเพศ : คือการนำเมล็ดที่เกิดจากการผสมระหว่างเกสรตัวผู้และเกสรตัวเมีย ไปเพาะเป็นต้นกล้าให้เจริญเติบโตเป็นต้นใหม่ต่อไป ลักษณะต้นใหม่ที่เกิดขึ้นอาจจะมีลักษณะที่ดีกว่าเดิมหรือเลวกว่าเดิมก็ได้
ข้อเสีย คือ กลายพันธุ์ได้ ต้นใหญ่ และกว่าจะออกผลต้องใช้เวลานาน การขยายพันธุ์พืชโดยอาศัยเพศ หรือการใช้เมล็ด ข้อดี คือ พืชมีรากแก้ว เป็นวิธีที่เหมาะแก่การขยายพันธุ์พืชจำนวนมาก มีวิธีการและขั้นตอนไม่มาก ข้อเสีย คือ กลายพันธุ์ได้ ต้นใหญ่ และกว่าจะออกผลต้องใช้เวลานาน
การขยายพืชโดยไม่อาศัยเพศ : คือ การขยายพันธุ์พืชด้วยส่วนใดส่วนหนึ่งของพืช เช่น กิ่ง หน่อ หัว ใบ เหง้า ไหล เป็นต้น โดยนำไปชำ ตอน แบ่งแยก ติดตา เพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ ให้เกิดเป็นต้นใหม่ขึ้นมาได้
ข้อดี ของการขยายพันธุ์โดยไม่ต้องอาศัยเพศ คือ ไม่กลายพันธุ์ สะดวกต่อการดูแลรักษา ได้ผลเร็ว และสามารถขยายพันธุ์พืชที่ยังไม่มีเมล็ดหรือไม่สามารถมีเมล็ดได้ ข้อเสีย คือ ไม่มีรากแก้ว บางวิธีขยายพันธุ์ได้คราวละไม่มาก ต้องใช้เทคนิคและความรู้ช่วยบ้าง เช่น การตอน การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ เป็นต้น
วิธีการขยายพันธุ์พืชแบบไม่อาศัยเพศ มีหลายวิธี ในที่นี้จะแนะนำเฉพาะวิธีที่ใช้บ่อย และนำไปเลือกใช้กับการขยายพันธุ์พืชสมุนไพร ที่จะแนะนำต่อไปได้ ส่วนวิธีการอื่น หากสนใจ สามารถศึกษาได้จากตำราวิชาการด้านการเกษตร
1 การแยกหน่อ หรือ กอ พืชสมุนไพรบางชนิด เช่น กระชาย กล้วย ตะไคร้ ขิงข่า เตย ว่านหางจระเข้ ขยายพันธุ์โดยการแยกหน่อหรือกอ ทำได้โดยก่อนแยก
การแยกหน่อ หรือ กอ
พืชสมุนไพร เช่น หญ้าหนวดแมว ดีปลี ปักชำได้ง่าย 2 การปักชำ พืชสมุนไพร เช่น หญ้าหนวดแมว ดีปลี ปักชำได้ง่าย โดยใช้ลำต้นหรือกิ่ง โดยเลือกกิ่งที่สมบูรณ์ ไม่อ่อนหรือไม่แก่จนเกินไป
3. การตอนกิ่ง เป็นการขยายพันธุ์ที่ทำโดยการเลือกกิ่งที่ไม่อ่อนหรือแก่จนเกินไป ควั่นเปลือกรอบ ๆ กิ่งบริเวณใต้ข้อออกประมาณ 1/2 - 1 นิ้ว โดยลอกเปลือกระหว่างรอยควั่นออก ขุดเนื้อเยื่อที่ติดกับผิวเนื้อไม้ออก เพื่อเอาเนื้อเยื่อเจริญและท่อลำเลียงออกไป จากนั้นเอาดินร่วนที่ค่อนข้างเหนียวพอก รอบรอยควั่นจนมิด หุ้มด้วยกาบมะพร้าวชุ่มน้ำ ใช้เชือกมัดหัวท้ายให้แน่นพันทับอีกครั้งด้วยแผ่นพลาสติกรดน้ำทิ้งไว้ 2 - 3 สัปดาห์
การตอนกิ่ง
4. การโน้มกิ่งหรือทับกิ่ง เป็นการขยายพันธุ์พืชที่นิยมทำกับไม้ล้มลุกหรือไม้พุ่มที่กิ่งไม่แข็งเกินไป เช่น มะลิ พลู องุ่น
การโน้มกิ่ง
5. การต่อกิ่ง เป็นการขยายพันธุ์ที่มีผลทำให้ได้ต้นพันธุ์ดีเพิ่มขึ้น โดยการตัดยอดของพืชพันธ์พื้นเมือง ซึ่งเป็นต้นที่หากินเก่งแต่ผลผลิตไม่มี เพื่อใช้เป็นต้นตอ โดยบากเป็นรูปปากฉลาก จากนั้นนำยอดพันธุ์ดี มาต่อเข้ากับรอยบากของต้นตอพันธุ์พื้นเมืองให้สนิท จากนั้นใช้พลาสติกตรงรอยต่อให้แน่น รอจนเนื้อเยื่อ ของพืชทั้งสองประสานกัน ก็จะได้พืชพันธุ์ใหม่ตามต้องการ
การต่อกิ่ง
6. การติดตา วิธีนี้จะใช้ต้นไม้ 2 ต้น ต้นหนึ่งเป็นต้นตอของพันธุ์พื้นเมือง อีกต้นหนึ่งเป็นต้นตอของพันธุ์พื้นเมือง พืชที่นิยมติดตามักเป็นไม้เนื้ออ่อนจำพวกใบเลี้ยงคู่ เช่น กุหลาบ ชบา โกสน เล็บครุฑ
การติดตา
7. การทาบกิ่ง เป็นการขยายพันธุ์โดยนำต้นตอมาปลูกในถุงพลาสติก เมื่อโตได้ขนาดนำไปทาบ กับกิ่งพันธุ์ดี ที่มีขนาดไล่เลี่ยกันโดยเฉือนเอาเปลือกด้านที่หันเข้าหากันออกทั้ง 2 กิ่ง แล้วนำมาทาบติดกัน ใช้ผ้าพลาสติก พันให้แน่นทิ้งๆไว้ประมาณ 2 - 3 สัปดาห์จนเนื้อเยื่อของกิ่งทั้ง 2 ประสานกันเป็นเนื้อเดียวกัน จากนั้นตัดส่วนล่าง ของต้นพันธุ์ดีออกแล้วนำต้นพันธุ์พื้นเมืองที่มียอดเป็นต้นพันธุ์ดีไปปลูก มักนิยมทำกับไม้ผลจำพวกใบเลี้ยงคู่
การทาบกิ่ง
ข้อดีของการขยายพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศ 1. ให้ผลตรงตามพันธุ์ที่ต้องการ 2. ให้ผลเร็วกว่าการปลูกด้วยเมล 3. ใช้ขยายพันธุ์ที่ปลูกด้วยเมล็ดแล้วไม่ขึ้น ข้อเสียของการขยายพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศ 1. ต้นไม่แข็งแรงเพราะไม่มีรากแก้ว(ยกเว้นการต่อกิ่ง ติดตา และทาบกิ่ง 2. วิธีการเก็บรักษาและย้ายพันธุ์ทำยากกว่า 3. สิ้นเปลืองค่าใช้จ่ายในการปลูกมากกว่า
การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ
การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช คือ การนำ เอาส่วนใดส่วนหนึ่งของพืช เช่น ใบ ตายอด ตาข้าง เนื้อเยื่อ หรือ เซลล์ มาเพาะเลี้ยงในอาหารสังเคราะห์ซึ่งประกอบด้วย แร่ธาตุ นํ้าตาล ไวตามิน และสารควบคุมการเจริญ เติบโต นอกจากนี้ยังต้องทำ การเพาะเลี้ยงในสภาพที่ปราศจากเชื้อจุลินทรีย์และในสภาวะที่ควบคุมสิ่งแวดล้อมได้แก่ อุณหภูมิ แสง และความชื้น ซึ่งชิ้นส่วนของพืชดังกล่าวจะมีการเจริญเติบโตและพัฒนาไปในรูป แบบต่างๆ เช่น เกิดเป็นยอด เกิดเป็นราก เกิดเป็นเอมบริโอ หรือเกิดเป็นกลุ่มเซลล์ที่เรียกว่า "แคลลัส" ที่สามารถชักนำ ให้เกิดเป็นพืชต้นใหม่ที่สมบูรณ์จำ นวนมากได้
หลักการสำ คัญของการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืชคือต้องทำ ในสภาพที่ปราศจากเชื้อจุลินทรีย์กล่าวคือทุก ขั้นตอนต้องปราศจากการปนเปื้อนของจุลินทรีย์ โดยขั้นตอนในการทำ งานจะเริ่มจากการฟอกฆ่าเชื้อที่ชิ้น ส่วนพืชแล้วตัดเอาเฉพาะส่วนที่ต้องการนำ มาวางเพาะเลี้ยงในหลอดทดลองหรือขวดแก้วที่บรรจุอาหาร สังเคราะห์ซึ่งได้ผ่านการฆ่าเชื้อมาแล้วเช่นกัน ขวดเพาะเลี้ยงนี้จะถูกนำ มาวางเลี้ยงในห้องที่มีการควบคุม สภาวะต่างๆ เช่น แสง อุณหภูมิ ให้เป็นไปตามที่ต้นพืชต้องการ ชิ้นส่วนของพืชจะได้รับแร่ธาตุและสาร อาหารจากอาหารสังเคราะห์และเจริญเติบโตต่อไป ซึ่งการเจริญเติบโตของชิ้นส่วนพืชนี้สามารถควบคุมได้ โดยการเลือกใช้สูตรอาหารและสารควบคุมการเจริญเติบโตที่เหมาะสม เช่น ฮอร์โมนพืช ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับ วัตถุประสงค์ของการเพาะเลี้ยงว่าต้องการให้ชิ้นส่วนนั้นเจริญไปเป็นส่วนใด เช่น ถ้าต้องการให้เจริญไป เป็นส่วนลำ ต้นก็สามารทำ การชักนำ โดยใช้ฮอร์โมนพืชกลุ่มไซโตไคนิน (Cytokinin) หากต้องการให้เกิดราก อาจใช้ฮอร์โมนกลุ่มออกซิน (Auxin) หรืออาจจะใช้ฮอร์โมนหลายๆ ชนิดรวมกัน
จีเอ็มโอ (GMO)
จีเอ็มโอ (GMO)
จีเอ็มโอ (GMO) จีเอ็มโอ เป็นชื่อเรียกคำย่อของ Genetically Modified Organism หรือ GMO หมายถึง สิ่งมีชีวิตที่ได้มีการเปลี่ยนแปลงลักษณะทางพันธุกรรมโดยอาศัยเทคนิคทางพันธุวิศวกรรม (Genetic Engineering) หรือเทคนิคที่เกี่ยวข้องกับการตัดต่อยีน ในบางครั้งจะพบว่ามีการพูดถึงแอลเอ็มโอ (LMO) ซึ่งเป็นคำย่อมาจาก Living Modified Organism หมายถึงจีเอ็มโอที่มีชีวิตอยู่
การปรับปรุงพันธุ์พืชให้ต้านแมลง และโรค
http://www.rakbankerd.com/agriculture/open.php?id=614&s=tblplant http://fws.cc/udontham/index.php?action=printpage;topic=61.0