บทที่ ๑ การพูดและการนำสนอเพื่องานนิเทศศาสตร์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
บทที่ 5 การดำรงชีวิตของพืช
Advertisements

ศิลปะการเป็นโฆษก.
การพูดในที่สาธารณะ.
ข้อสรุปหลักสูตรการอบรมการผลิต รายการเด็ก TV4Kids.
บทที่ 3 การบริหารพนักงานขาย
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด1 12คำถาม.
การอ่าน สุรพล บุญลือ ภาควิชาเทคโนโลยีและสื่อสาร การศึกษา คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรมและ เทคโนโลยี ม. เทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
เทคนิคการนำเสนอ Power Point
ผู้วิจัย สิริภิญญ์ อินทรประเสริฐ คณะวิทยาการจัดการ ปีการศึกษา 2556
การใช้ภาษาและเทคโนโลยีสำหรับครู
กระบวนการถ่ายทอดความรู้
บทที่ 3 ประเภทของบทและรูปแบบของรายการวิทยุโทรทัศน์
อัตร า บรร จุ ข้าราชการ 44 พนักงาน ราชการ 33 ลูกจ้าง -- รวม 77 อัตราว่าง พนักงานราชการ 3 มาช่วย ราชการ ถูกยืมตัว ลาเรียน ผอ. สำนักงานวิเทศ สัมพันธ์ (1/1)
ระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ ๑ ใช้เพื่อคลิ๊กไปสู่ หน้าถัดไป ใช้เพื่อคลิ๊กกลับ หน้าเดิม ใช้เพื่อคลิ๊กกลับสู่ หน้าหลัก ใช้คลิ๊กเมื่อต้องการ ออกจากระบบ.
หลักสูตร วิทยากรแนว ปฏิบัติ การใช้แรงงานที่ดี (Training of Trainer : TOT) โดย กรวรรณ จงสถาพรพันธ์ ผู้อำนวยการกลุ่มงานพัฒนาระบบ มาตรฐานแรงงาน 1.
จัดทำโดย นางสาวพิจิตรา ปันเต เลขที่ 18 นางสาวปิยธิดา อุตมา เลขที่ 19 ใบงานที่ 2 เรื่อง ความหมายและความสำคัญของโครงงาน.
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ วิชาคอมพิวเตอร์พื้นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเฉลิมราชประชาอุทิศ.
ประวัติ ส่วนตัว ชื่อ นางสาวสุภาวรรณ อินสวัสดิ์ อายุ ๒๘ ปี ที่อยู่ บ้านเลขที่ ๑๙ / ๕ หมู่ที่ ๑ ตำบลแสงอรุณ อำเภอทับสะแก จังหวัด ประจวบคีรีขันธ์ การศึกษา.
การจัดกิจกรรมการ เรียนรู้แบบการทำ โครงงานคอมพิวเตอร์ การจัดกิจกรรมการ เรียนรู้แบบการทำ โครงงานคอมพิวเตอร์ ครูชาญณรงค์ ปานเลิศ โรงเรียนพระบางวิทยา ครูชาญณรงค์
เก่ง. ความรู้และทักษะ คุณลักษณะที่เน้น ความรู้ ทักษะเชิง วิชาชีพ และศาสตร์ที่ เกี่ยวข้อง.
๕ เรื่องเด่นในร่างรัฐธรรมนูญ
ชุมชนปลอดภัย.
ง21101 การงานอาชีพและเทคโนโลยี ม. 1 เจตคติต่อการประกอบอาชีพ
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
หน่วยที่ 1 ข้อมูลทางการตลาด. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของข้อมูลทางการตลาด 2. ความสำคัญของข้อมูลทางการตลาด 3. ประโยชน์ของข้อมูลทางการตลาด 4. ข้อจำกัดในการหาข้อมูลทาง.
หลักการของจริยธรรมทางกฎหมาย
ระบบ ISO 9001:2015 สำหรับธุรกิจบริหารจัดการเรือ
ระดับความเสี่ยง (QQR)
แนวทางการออกแบบโปสเตอร์
กลุ่มคำและประโยค ภาษาไทย ม. ๓
Presentation การจัดการข้อร้องเรียนในธุรกิจบริการ Customer Complaint Management for Service.
บทที่ 8 การเขียนประเภทอื่น ๆ เพื่อการประชาสัมพันธ์
Scene Design and Lighting Week1-3
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
ประเภทที่ ๑ วิจัยในชั้นเรียน.
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
แนวทางการดำเนินงานเพื่อผู้สูงอายุ
แผนการขายลูกค้า SMEs พื้นที่ บน.3.1 ขบน ก.พ
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖ การพัฒนาทักษะการพูด แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๒๑
ณ ห้องประชุมกองวิจัยและพัฒนางานส่งเสริมการเกษตร
แผนขับเคลื่อนการดำเนินงานส่งเสริมการเกษตร ประจำปีงบประมาณ 2561
การฟัง.
เทคนิคการนำเสนออย่างมืออาชีพ
การเขียนเกณฑ์การให้คะแนน
การพูดเพื่องานวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์
เรียนรู้เทคนิคการสัมภาษณ์ ในระบบ care management
การเขียนเกณฑ์การให้คะแนน
YRC LANNA LOCAL WISHDOM
สร้างภูมิคุ้มกัน (แสงหิ่งห้อย)
การติดต่อสื่อสาร Communication.
มาฝึกสมองกันครับ.
การพูด ในโอกาสต่าง ๆ.
รายวิชา การบริหารการศึกษา
ความหมาย ความสำคัญ และจุดมุ่งหมายของการศึกษา
การเปลี่ยนแปลงประมาณการทางบัญชี และข้อผิดพลาด
ประเภทรายการและรูปแบบรายการวิทยุกระจายเสียง
การพูดรายงาน จากการศึกษาค้นคว้า.
Supply Chain Management
กลุ่มส่งเสริมอาชีพการเกษตร
ช่องทางการติดต่อสื่อสาร
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
ระบบสำนักงานอัตโนมัติ (Office Automation : OA)
แนวทางการออกแบบนิตยสาร
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 พลเมืองดี.
โครงการถ่ายทอดเทคโนโลยีถนนรีไซเคิลเพื่อลดขยะพลาสติกใน 4 ภูมิภาค
ช่วยคุณครูเตรียมรับมือ เด็กวัยรุ่นยุคใหม่
การจัดการภาครัฐ และภาคเอกชน Public and private management
แบบฟอร์มที่ 2ลักษณะสำคัญขององค์การ
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตภาคใต้
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทที่ ๑ การพูดและการนำสนอเพื่องานนิเทศศาสตร์ นารีนารถ ปานบุญ

ความหมายของการพูดเพื่องานนิเทศศาสตร์ คือ การพูดโดยมีส่วนประกอบไปด้วย คำพูด นำเสียง จังหวะทำนองเสียง สีหน้า แววตากริยาท่าทาง เมื่อผู้พูดทำการพูดโดย การส่งสารซึ่งเป็นได้วัจนภาษา และอวัจภาษา เพื่อทำการสื่อความหมายของสารตาม วัตถุประสงค์ของการส่งสารในครั้งนี้นๆ ไปยังผู้ฟัง คือ ผู้รับสาร

ความสำคัญของการพูดเพื่องานนิเทศศาสตร์ การพูดมีความสำคัญดังนี้ 1. เป็นเครื่องมือในการโน้มน้าวจิตใจบุคคลให้คิดและคล้อยตาม เช่น การพูดโฆษณา ประชาสัมพันธ์ การโฆษณาชวนเชื่อ การโฆษณาหาเสียง การเชิญชวนให้ร่วมกิจกรรมต่างๆ เป็นต้น 2. เป็นเครื่องมือในการสมาคม การสมาคมต้องอาศัยปิยวาจาเพื่อผูกไมตรีให้รู้ร้าง อันจะเป็น หนทางไปสู่ความสำเร็จในกิจการด้านต่างๆ 3. เป็นเครื่องมือนำไปสู่ความสำเร็จในชีวิต การพูดให้กิจการทั้งปวงดำเนินไปอย่างราบรื่น อาทิทางการเมืองอาศัยการพูดเป็นเครื่องมือสื่อนโยบายให้ทุกคนเข้าใจ การค้าอาศัยการพูดใน การเจรจาซื้อขายการสงครามต้องใช้วิธีทางการทูต การเจรจาไก่เกลี่ยในกรณีต่างๆ ให้สงบโดย สันติ หรือใช้การพูดเป็นกลอุบายให้ฝ่ายตรงข้ามเข้าใจคาดเคลื่อนเป็นอย่างอื่น 4. เป็นเครื่องมือในการถ่ายทอดอารมณ์ ความรู้สึกต่างๆ เพื่อลดภาวะเครียด เพื่อเพิ่ม ความสุขแก่ชีวิต เช่น บทเพลง บทกวี เป็นต้น ความสำคัญของการพูดเพื่องานนิเทศศาสตร์

องค์ประกอบสำคัญของการพูดเพื่องานนิเทศศาสตร์

1.ผู้พูด (Speaker) คือ ผู้ส่งสาร (Sender) 2. เนื้อเรื่อง (Speech) คือ สาร (Message) 3. ผู้ฟัง (Audience) คือ ผู้ที่รับสาร (Receiver) 4. เครื่องมือสื่อความหมาย (Communication Act) คือ สื่อภาษาและ ช่องทาง (Channel) ที่ผู้ส่งสารใช้ในการสื่อสาร 5. สถานการณ์ในการพูด (Speaking situation) คือสถานการณ์ สภาพแวดล้อมในขณะสื่อสารซึ่งคู่สื่อสาร คือผู้พูดและผู้ฟังรับรู้ได้ในขณะ ทำการสื่อสาร

หลักการพูด ผู้พูดที่ดีไว้ 10 ประการ ดังต่อไปนี้ 1. จงเตรียมพร้อม ผู้พูดที่ดีไว้ 10 ประการ  ดังต่อไปนี้ 1. จงเตรียมพร้อม 2. จงเชื่อมั่นในตัวเอง 3. จงปรากฏตัวอย่างสง่าผ่าเผย 4. พูดโดยใช้เสียงอันเป็นธรรมชาติ 5. จงใช้ท่าทางประกอบการพูดให้พอเหมาะ 6. จงใช้สายตาให้เป็นผลดีต่อการพูด 7. จงใช้ภาษาที่ง่ายและสุภาพ 8. จงใช้อารมณ์ขัน 9. จงจริงใจ 10. จงหมั่นฝึกหัด

หลักการพูด การพูดต่อที่ชุมนุมชน ผู้พูดต้องคำนึงถึงการแต่งกาย การเลือกใช้เสื้อผ้า เครื่องประดับ ให้เหมาะสมกับกาลเทศะและได้ให้หลักการปฏิบัติตอนนี้ไว้ว่าผู้พูดที่ดี ต้องปฏิบัติตนให้เหมาะสมในเรื่องต่างๆ ต่อไปนี้ 1. การวางตน 2. ท่าทางการเดิน 3. ท่าทีเป็นมิตรกับผู้ฟัง 4. การแสดงออกแจ่มแจ้ง 5. ให้เกียรติผู้ฟัง 6. พูดเสียงดังชัดเจน 7. อย่าพูดแข่งกับเสียง 8. อย่าทะเลาะกับผู้ฟัง 9. อย่าแสดงอาการโกรธ 10. พูดด้วยระดับเสียงสูงต่ำ 11. การสร้างความเชื่อถือ 12. รักษาเวลาให้เที่ยงตรง

หลักการใช้เสียง น้ำเสียง ต้องพูดด้วยน้ำเสียงที่น่าฟัง คือ เสียงที่ทุ้ม นุ่มนวล ไม่สูงหรือต่ำเกินไป เสียงที่สูงเกินไปจะทำให้ผู้ฟังเคร่งเครียด และเสียงที่ต่ำเกินไปจะทำให้ผู้ฟังง่วงเหงาและไม่สนใจ 2. จังหวะพูด ต้องพูดชัดถ้อยชัดคำนี้พูดเร็วหรือรวมเกินไป และไม่ช้าเนิบนาบมากเกินไป อัตราการพูดที่เหมาะสมคือ 120 - 180 คำ ต่อนาที 3. ลีลาการพูด คือการใช้ระดับเสียงสูงต่ำ จังหวะการพูด การหยุด การพูดย้ำ การเว้นจังหวะ หรือความหนักเบาของเสียงที่แตกต่างกันในการพูดแต่ละช่วงแต่ละตอน เพื่อเน้นย้ำ หรือเพื่อเรียกความสนใจจากผู้ฟัง 4. ความชัดเจนของเสียง ผู้พูดต้องพูดให้ชัดถ้อยชัดคำ ออกเสียงให้เต็มคำ และออกเสียงให้ถูกต้องตามอักขระวิธี เช่น การอ่านคำไทย การอ่านคำสมาส คำสนธิ การออกเสียง ควบกล้ำร ล ว เป็นต้น การพูดไม่ชัด จะทำให้ผู้พูดเสียบุคลิกภาพ และทำให้ผู้ฟังไม่เชื่อถือศรัทธาได้