ระเบียบวาระที่ ๒.๑ เรื่องเพื่อพิจารณา

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
พัฒนาระบบบริหารจัดการน้ำเพื่อการเกษตร(บูรณาการกระทรวง)
Advertisements

ปทุมธานี นางปลื้มจิตต์ เนี้ยวคงศักดิ์ นายอารัต เมืองจร
ยุทธศาสตร์ การจัดสรร งบประมาณ ยุทธศาสตร์การพัฒนาคนและสังคมที่มีคุณภาพ
ข้อเสนอโครงการ ภายใต้กรอบแนวคิดการ พัฒนาระบบข้อมูลสนับสนุน การตัดสินใจ จัดทำโดย ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และ คอมพิวเตอร์แห่งชาติ
ความก้าวหน้าในการจัดทำแผนการกระจายอำนาจ ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และแผนปฏิบัติการกำหนดขั้นตอนการกระจายอำนาจ ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (ฉบับที่
ข้อสรุปจากวีดีทัศน์ “ผีปู่แสะย่าแสะ” 1. การมีส่วนร่วมของชุมชน 2
แม่ฮ่องสอน สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด นายไพรัช จันทรา
กลุ่มยุทธศาสตร์และสารสนเทศการพัฒนาปศุสัตว์
พังงา นางสาวอัญชลี ตันวานิช สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
การประเมินผลโครงการ คปสอ.คลองใหญ่.
นโยบายด้านโรคติดต่อ ศ. คลินิกเกียรติคุณ นพ. ปิยะสกล สกลสัตยาทร รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข.
รายงานความก้าวหน้า การสนองพระราชดำริด้านงานวิจัย จัดทำโดย สถาบันสารสนเทศทรัพยากรน้ำและการเกษตร (องค์การมหาชน) กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เดือนมีนาคม.
นางวราพันธ์ ลังกาวงศ์ ผู้อำนวยการกลุ่มนโยบายและแผน.
ความคืบหน้า การจัดทำฐานข้อมูลด้าน ความมั่นคง ระเบียบวาระ ที่ ๓. ๑.
การปรับโครงสร้าง โครงการส่งน้ำและบำรุงรักษาแม่ แตง.
โครงการส่งเสริมการหยุดการ เผาในพื้นที่การเกษตร ปี 2559 กองส่งเสริมโครงการพระราชดำริ การจัดการพื้นที่และ วิศวกรรมเกษตร กรมส่งเสริมการเกษตร.
แผนการตรวจราชการ กระทรวงสาธารณสุข กรณีปกติ เขตสุขภาพ ที่ 2.
วันศุกร์ที่ 3 มิถุนายน 2559 เวลา น. ณ ห้องบัญชาการป้องกันและบรรเทา สาธารณภัยแห่งชาติ อาคาร 3 ชั้น 5 กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย การประชุมกองอำนวยการป้องกันและบรรเทาสา.
การบริหารจัดการ ติดตาม และประเมินผล. กลไกการขับเคลื่อนการดําเนินการ ดําเนินการโดยผ่านกลไกของคณะกรรมการเทคโนโลยีสารสนเทศและ การสื่อสารแห่งชาติ ( กทสช.)
องค์ความรู้ที่จำเป็นในการปฏิบัติราชการ แบบฟอร์มที่ 1 การจำแนกองค์ความรู้ที่จำเป็นต่อการผลักดันตามประเด็นยุทธศาสตร์ ของส่วนราชการ ชื่อส่วนราชการ : กรมทรัพยากรน้ำบาดาล.
โครงการ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ “ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี เนื่องในโอกาสฉลองพระชนมายุ
โดย นายแพทย์ณัฐพร วงษ์ศุทธิภากร รองอธิบดีกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข “เรียนรู้ สิ่งแวดล้อม สร้างสรรค์” นโยบายการดำเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย.
การกำกับ ติดตาม ประเมินผล สำนักตรวจและประเมินผล Bureau of Inspection and Evaluation.
การประเมินผลโครงการ คป สอ. เกาะช้าง ปี การดำเนินงาน 1. แต่งตั้งคณะกรรมการ ประธาน คปสอ. เกาะช้าง ประธาน คณะกรรมการ ผอ. รพ. เกาะช้างรองประธาน เลขานุการผู้รับผิดชอบงาน.
เยี่ยมเสริมพลัง การจัดการความรู้ วันที่ 14 ก. ย
แผนยุทธศาสตร์การคุ้มครองผู้บริโภคแห่งชาติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ )
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
แผนพัฒนาระบบข้อมูลน้ำสนับสนุนการตัดสินใจ
วันพฤหัสบดีที่ 19 พฤศจิกายน 2558
หน่วยที่ 1 ข้อมูลทางการตลาด. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของข้อมูลทางการตลาด 2. ความสำคัญของข้อมูลทางการตลาด 3. ประโยชน์ของข้อมูลทางการตลาด 4. ข้อจำกัดในการหาข้อมูลทาง.
การพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงาน (Quality of Work Life)
Strategy Map สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร12
แนวทางการปฏิบัติงานตามข้อสั่งการ ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
งาน Road Map ศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตรปี 2560
การจัดการเรียนการสอนภายในหน่วยงาน (Unit School)
โดย นายทรงเกียรติ ตาตะยานนท์ ผู้อำนวยการส่วนจัดการงบประมาณ
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ระเบียบวาระที่ 3 เรื่องเพื่อทราบ
โดย ศรีปัญญา ม่วงเพ็ชร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
ระบบบริหารจัดการงานวิจัยของหน่วยงาน Department Research Management System DRMS โดยทีมพัฒนาระบบ DRMS สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.)
การดำเนินงานคุณธรรม และความโปร่งใส
วาระที่ 3.4 แนวทางการปฏิบัติงานโครงการตามนโยบาย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
แนวทางปฏิบัติ กรมป่าไม้
วันพฤหัสบดีที่ 23 มีนาคม 2560 ณ สถาบันสารสนเทศทรัพยากรน้ำและการเกษตร
การบริหารงานประชาสัมพันธ์ของจังหวัด : การประชาสัมพันธ์และการจัดการสื่อ
การดำเนินงานคณะทำงานที่ 2 การบริหารจัดการน้ำพื้นที่ในเขตชลประทาน
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูลเพื่อการพัฒนาชุมชน ปี 2561
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
ประชุมคณะทำงานเพื่อติดตาม วิเคราะห์สถานการณ์น้ำ และจัดสรรน้ำ
ณ ห้องประชุมกำธร สุวรรณกิจ
ปี 2560 ปฏิทินการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส
ประกันภัยกับการพัฒนาเศรษฐกิจ
ความก้าวหน้าในการดำเนินงาน Product Champion Cluster วัยรุ่น
ความปลอดภัยด้านอาหารและน้ำ
การเตรียมการป้องกันและแก้ปัญหาภัยแล้ง จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
ข้อมูลสถานการณ์ภัยแล้ง
โครงการพัฒนารูปแบบการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน : ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง.
มองอนาคต “ เทือกเขานครศรีฯ ” ด้วยข้อมูลและเครือข่าย
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
กรมมีผลการปฏิบัติงานที่ดี เกษตรกรได้รับประโยชน์
การขับเคลื่อน การจัดทำแผนการพัฒนากำลังคน รายจังหวัด
การจัดการความรู้ สำนักชลประทานที่ 15
ณ สถาบันสารสนเทศทรัพยากรน้ำและการเกษตร
การประเมินผลโครงการ บทที่ 9 ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ yalada.
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ระเบียบวาระที่ ๒.๑ เรื่องเพื่อพิจารณา การประชุมคณะกรรมการขับเคลื่อนการบูรณาการฐานข้อมูลกลางภาครัฐ ครั้งที่ ๑/๒๕๕๙ วันที่ ๔ มกราคม ๒๕๕๘ ระเบียบวาระที่ ๒.๑ เรื่องเพื่อพิจารณา การดำเนินงานของคณะกรรมการบูรณาการฐานข้อมูลน้ำ และภูมิอากาศแห่งชาติ ฝ่ายเลขานุการคณะกรรมการบูรณาการฐานข้อมูลน้ำและภูมิอากาศแห่งชาติ สถาบันสารสนเทศทรัพยากรน้ำและการเกษตร (องค์การมหาชน) กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

รายงานความก้าวหน้า

การดำเนินงานของคณะกรรมการฯ ๕ ส.ค. ๒๕๕๘ ประชุมคณะกรรมการฯ ครั้งที่ ๑/๒๕๕๘ กำหนดกรอบการดำเนินงานบูรณาการข้อมูลฯ ทบทวนสถานะการบูรณาการข้อมูลฯ ในปัจจุบัน แบ่งการใช้ข้อมูลออกเป็น ๙ ด้าน เพื่อวิเคราะห์ความเพียงพอ ๑๙ พ.ย. ๒๕๕๘ ประชุมคณะกรรมการฯ ครั้งที่ ๒/๒๕๕๘ รายงานสถานะการบูรณาการข้อมูลฯ รายงานความเพียงพอของการใช้ข้อมูล ๙ ด้าน มีมติอนุมัติให้ใช้แผนแม่บทการพัฒนาระบบข้อมูลสนับสนุนการตัดสินใจเป็นกรอบการดำเนินงานของคณะกรรมการฯ และหากมีความจำเป็นอาจพิจารณาทบทวนกรอบการดำเนินงานได้ตามความเหมาะสม ๑๕ ก.ย. ๒๕๕๘ คำสั่งแต่งตั้งคณะอนุกรรมการรวบรวม ติดตาม วิเคราะห์ข้อมูลน้ำและภูมิอากาศ ๑๒ พ.ย. ๒๕๕๘ ประชุมคณะอนุกรรมการฯ ครั้งที่ ๑/๒๕๕๘ รวบรวม ติดตาม วิเคราะห์ข้อมูลฯ และเชี่อมโยงเข้า PMOC ติดตามความก้าวหน้าโครงการด้านข้อมูลฯ ของหน่วยงาน วิเคราะห์ความเพียงพอของการใช้งาน ๙ ด้าน 3

คลังข้อมูลน้ำและภูมิอากาศแห่งชาติ มี.ค. - มิ.ย. ๕๙ มิ.ย. – พ.ย. ๕๙ พ.ย. ๕๙ ธ.ค. ๕๙ ดำเนินงาน ออกแบบระบบฯ สถาปัตยกรรมการเชื่อมโยงข้อมูลระหว่างหน่วยงาน เชื่อมโยงข้อมูลจาก ๓๒ หน่วยงาน เข้าสู่ระบบคลังข้อมูลฯ ให้บริการข้อมูลระหว่างหน่วยงาน ผ่านระบบให้บริการข้อมูล (คลังข้อมูลน้ำและภูมิอากาศแห่งชาติ : NHC) ๖๐ ๖๑ ๖๒ Distributed functions, Integrated uses ขยายการเชื่อมโยงข้อมูลจากเดิม ๑๓ เป็น ๓๒ หน่วยงาน Big Data Mobile App V ๒.๐ ๒๕๕๙ ๒๕๕๘ ๒๕๕๗ ๒๕๕๖ ๒๕๕๕ ๒๕๕๔ ดำเนินงานเชื่อมโยงข้อมูลระหว่างหน่วยงานเพิ่มเติม ธ.ค. ๕๘ เตรียมเชื่อมโยงข้อมูลเพิ่มเติม ๗ หน่วยงาน ๙๙ รายการข้อมูล ปรับแต่งระบบ (Optimization) เชื่อมโยงข้อมูล เพิ่มเติม ๑ หน่วยงาน เป็น ๑๓ หน่วยงาน บริการ Mobile App บริการ Website ระบบให้บริการข้อมูล เริ่มโครงการ เชื่อมโยงข้อมูลจาก ๑๒ หน่วยงาน เกิดน้ำท่วมใหญ่

สรุปจำนวนรายการข้อมูลแต่ละหน่วยงาน (เริ่มโครงการ พ.ย. ๒๕๕๘) ลำดับ หน่วยงาน จำนวนรายการ เดิม ใหม่ / เพิ่มเติม ๑ กรมฝนหลวงและการบินเกษตร หน่วยงานใหม่ ๐ ๔ ๒ กรมควบคุมมลพิษ ๑๓ ๓ สำนักงานสถิติแห่งชาติ ๑๕ กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ๑๒ ๕ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช ๘ ๖ กรมป่าไม้ ๗ สำนักงานรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ กรมทรัพยากรน้ำบาดาล หน่วยงานเดิม ๙ สถาบันสารสนเทศทรัพยากรน้ำและการเกษตร ๓๐ ๑๐ สำนักการระบายน้ำ กรุงเทพมหานคร ๑๘ ๑๑ กรมพัฒนาที่ดิน กรมเจ้าท่า กรมทรัพยากรธรณี ๑๔ กรมทรัพยากรน้ำ สำนักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ จำนวนข้อมูลในระบบคลังข้อมูล เดิมมี ๒๔๐ รายการ เพิ่มเติมอีก ๙๙ รายการ รวมทั้งหมดเป็น ๓๓๙ รายการ (ข้อมูล ณ วันที่ ๔ ม.ค. ๒๕๕๙)

การเชื่อมโยงฐานข้อมูลน้ำและภูมิอากาศเข้าสู่ระบบรายงานของ PMOC ศูนย์ปฏิบัติการ นายกรัฐมนตรี (PMOC) ๑ สถานะการเชื่อมโยงข้อมูล ๒ รายงานสถานการณ์น้ำ ปริมาณข้อมูล ความครบถ้วน และสถานะอัพเดท ภาพรวมสถานการณ์ เช่น ท่วม แล้ง พายุ เป็น PDF file คลาวด์ภาครัฐ back office ๓ Archive ค้นหาข้อมูลย้อนหลังโดยวิธี tag search ๔ ข้อมูลน้ำ ๕ สถานะโครงการด้านข้อมูลน้ำ ข้อมูลฝน ระดับน้ำ ปริมาณน้ำในเขื่อน ฯลฯ สรุปความก้าวหน้ารายเดือน (แผนการทำงาน เป้าหมาย และผลที่ได้) PMOC ฐานข้อมูล น้ำและภูมิอากาศ back office Demo: จำลอง PMOC ด้านน้ำและภูมิอากาศ

แผนและผลงานเป็นรูปธรรมที่คาดว่าจะสำเร็จ ในระยะเวลา ๓ เดือน ๖ เดือน

แผนที่นำทางด้านระบบ (System Roadmap) เดือนที่ ๓-๖ ปีที่ ๑ (๒๕๕๙) ปีที่ ๒ (๒๕๖๐) ปีที่ ๓ (๒๕๖๑) ระบบตัดสินใจ/สั่งการ สถานการณ์จำลอง Data Mart สถานการณ์จำลอง สถานการณ์จำลองบนระบบ BI&DSS ระบบ BI และ DSS ระบบรายงานสถานการณ์อุทกภัยด้านคมนาคม ระบบ CCTV ในลุ่มเจ้าพระยา Warroom ประสานเครือข่ายเตือนภัย ระบบแจ้งเตือนปฏิบัติการกู้ภัย ระบบเฝ้าระวังภัยผ่าน CCTV ระบบแจ้งเตือนปฏิบัติการกู้ภัย Rescue Alert ระบบ E-Stock คลังข้อมูลสาธารณภัย ระบบบริหารจัดการทรัพยากรน้ำด้านคมนาคมแบบบูรณาการ ระบบจัดการภัย ศูนย์ปฏิบัติการของหน่วยงานต่างๆ เว็บไซต์ข้อมูลของแต่ละหน่วยงาน ระบบ CCTV ในลุ่มเจ้าพระยา Media Box ระบบประมวลผลรายงานเข้าสู่ DSS ศูนย์เฝ้าระวังน้ำท่วม กทม. ระบบติดตามสถานการณ์น้ำบาดาล ระบบติดตาม วิเคราะห์และรายงานสถานการณ์น้ำ ระบบการวิเคราะห์/ติดตามสถานการณ์ ระบบรายงานสถานการณ์น้ำรายวัน/สัปดาห์ Warroom อุตุฯ, ทน., ปภ. ระบบพยากรณ์อากาศระยะสั้น ระยะปานกลาง แบบจำลองความเสี่ยงน้ำท่วมน้ำแล้ง ระบบคาดการณ์น้ำท่วม (เจ้าพระยา,ชี,มูล) ปรับปรุงเพิ่มประสิทธิภาพระบบพยากรณ์ระยะสั้น ระบบคาดการณ์น้ำท่วม (ภาคตะวันออก) เพิ่มประสิทธิภาพการพยากรณ์อากาศระยะปานกลาง ระบบคาดการณ์น้ำท่วม (ภาคใต้) ระบบคาดการณ์คุณภาพน้ำ (เจ้าพระยา,ท่าจีน) แบบจำลองน้ำท่วม ๓ มิติ (เจ้าพระยาตอนล่าง) เพิ่มประสิทธิภาพระบบวิเคราะห์สมดุลน้ำ เพิ่มประสิทธิภาพการพยากรณ์อากาศระยะยาว ระบบบริหารจัดการอ่างเก็บน้ำและระบบชลประทาน ระบบแบบจำลองสมดุลน้ำ ๒๕ ลุ่มน้ำ ระบบคาดการณ์น้ำท่วม (ครบทั้งประเทศ) แบบจำลองคุณภาพน้ำ (มูล,ชี) ระบบแบบจำลอง ระบบเชื่อมโยงข้อมูล ๑๓ หน่วยงาน เว็บไซต์คลังข้อมูลน้ำ NHC Mobile Application ระบบให้บริการข้อมูล ระยะที่ ๑ Mobile Data Center ระบบเชื่อมโยงข้อมูล ๓๒ หน่วยงาน Data Warehouse ระบบให้บริการข้อมูลทุกรูปแบบ (อุปกรณ์เคลื่อนที่, เว็บไซต์, เครือข่ายการเชื่อมโยงข้อมูล) เพิ่มประสิทธิภาพการแสดงผล และบำรุงรักษา ระบบคลังข้อมูลน้ำ โทรมาตรระดับน้ำและน้ำท่า ๑,๒๑๘ สถานี โทรมาตรฝน ๒,๕๔๘ สถานี สถานีวัดคุณภาพน้ำอัตโนมัติ ๑๑๖ สถานี เรดาร์อากาศ ๑๔ สถานี โทรมาตรระดับน้ำและน้ำท่า ๑,๖๖๘ สถานี โทรมาตรฝน ๒,๕๔๘ สถานี สถานีวัดคุณภาพน้ำอัตโนมัติ ๑๓๒ สถานี เรดาร์อากาศ ๒๘ สถานี โทรมาตรระดับน้ำและน้ำท่า ๑,๙๑๖ สถานี โทรมาตรฝน ๓,๓๕๒ สถานี สถานีวัดคุณภาพน้ำอัตโนมัติ ๑๓๒ สถานี เรดาร์อากาศ ๒๘ สถานี ระบบประเมินปริมาณน้ำฝนและพยากรณ์ฝนล่วงหน้า โดยใช้ข้อมูลเรดาร์ตรวจอากาศ ประยุกต์ใช้ข้อมูลฝนจากดาวเทียมแบบ near real time เพื่อการคาดการณ์น้ำท่วม โทรมาตรระดับน้ำและน้ำท่า ๒,๐๘๒สถานี โทรมาตรฝน ๓,๓๕๒ สถานี สถานีวัดคุณภาพน้ำอัตโนมัติ ๑๓๒ สถานี เรดาร์อากาศ ๒๘ สถานี เครื่องมือสำรวจปริมาณน้ำอัตโนมัติ ๒๓๘ ตัว ระบบตรวจวัดพฤติกรรมเขื่อนระยะไกล ระบบตรวจวัด ระบบแผนที่ โครงข่ายสถานีรังวัด GNSS จำนวน ๑๗ สถานี (มีสถานีรังวัด GPS ๙ สถานี) Thailand Geoid Model WMS ของแต่ละหน่วยงาน โครงข่ายสถานีรังวัด GNSS ๑๗ สถานี ระบบ WMS ท้องถิ่น ๙๐ แห่ง โครงข่ายสถานีรังวัด GNSS ๑๒๘ สถานี ระบบจัดเก็บและบริการข้อมูล (ผท.) ระบบ WMS ท้องถิ่น ๑๑๐ แห่ง แผนที่การใช้ประโยชน์ที่ดิน จากการใช้เทคโนโลยีการสำรวจระยะไกล โครงข่ายสถานีรังวัด GNSS ๒๒๒ สถานี ทั่วประเทศ (เสร็จปี ๒๕๖๑ ๓๐ สถานี) Thailand Geoid Model ความละเอียดสูง ระบบ WMS กลาง ระบบ WMS ท้องถิ่น ๑๒๐+๑๔๐ แห่ง ระบบองค์ความรู้ Wiki ด้านน้ำ และข้อมูลพื้นฐาน ๒๕ ลุ่มน้ำ การใช้ข้อมูลเพื่อจัดการภัย ระบบข้อมูลกฎหมายด้านน้ำ ระบบการจัดการองค์ความรู้ (KM) ระบบงานวิจัย คาดการณ์ฝนระยะปานกลาง และระยะยาว Center of Excellence on Water Management Systems มาตรฐานสิ่งของช่วยเหลือผู้ประสบภัย มาตรฐานการวิเคราะห์/ประเมินภัย(SOPs) ระบบพยากรณ์/จำลองสถานการณ์การรุกล้ำของน้ำเค็มแม่น้ำเจ้าพระยาตอนล่าง + 8

แผนที่นำทางด้านข้อมูล (Data Roadmap) เดือนที่ ๓-๖ ปีที่ ๑-๓ (๒๕๕๙-๒๕๖๑) ปีที่ ๕ >๕ ปี ข้อมูลอุทก-เขื่อน-คุณภาพน้ำ ของหน่วยงาน เชื่อมโยงข้อมูล ๑๓ หน่วย เชื่อมโยงข้อมูล ๓๒ หน่วยงาน ข้อมูลอุทก-เขื่อน-คุณภาพน้ำ (Real-time) ทั่วประเทศ ข้อมูลการใช้น้ำอุปโภค ข้อมูลตรงจากสาธารณชน (Crowdsourcing) ข้อมูลอัตราการไหลของแม่น้ำสายสำคัญ ข้อมูลแหล่งน้ำชุมชน ข้อมูลการใช้น้ำอุปโภค (Real-time) ข้อมูลแหล่งน้ำทั่วประเทศครบถ้วน วัฏจักรน้ำ (Hydrological cycle) ข้อมูลน้ำ ภาพเรดาร์ ข้อมูลพยากรณ์ฝนระยะสั้น ข้อมูลวิเคราะห์ของหน่วยงาน ข้อมูลวิเคราะห์จากต่างประเทศ ข้อมูลสภาพอากาศ (Real-time) ทั่วประเทศ ข้อมูลตรงจากสาธารณชน (Crowdsourcing) ข้อมูลพยากรณ์ฝนระยะสั้นและระยะปานกลาง และระยะยาว พยากรณ์เส้นทางเดินพายุ ข้อมูลพยากรณ์ฝนระยะสั้นและยาว รายละเอียดสูง ข้อมูลเรดาร์ฝนเพื่อการพยากรณ์น้ำ ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพอากาศ (climate change) ข้อมูลสภาพอากาศ โครงข่ายสถานีรังวัด GNSS จำนวน ๖ สถานี (มีสถานีรังวัด GPS ๙ สถานี) สถานี GNSS ทั่วประเทศ ข้อมูล DEM +/-๒๐ ซม. พื้นที่น้ำท่วม ข้อมูล DEM +/-๒๐ ซม. ทั่วประเทศ ข้อมูล DEM +/-๕ ซม. ในเขตเมือง ข้อมูล DEM +/-๑๐ ซม. พื้นที่เกษตร แผนที่ฐาน แผนที่ทางกายภาพผังเมือง ๑:๕๐๐๐๐ แผนที่ทางกายภาพผังเมือง ๑:๔๐๐๐ ข้อมูลระดับความสูงถนน+คันกั้นน้ำ Lidar DEM พื้นที่น้ำท่วมซ้ำซาก ทั่วประเทศ แผนที่น้ำหลาก-ความเสี่ยง แผนที่ทางกายภาพผังเมือง ๑:๑๐๐๐ ในพื้นที่เมือง แผนที่น้ำหลาก-ความเสี่ยงทั่วประเทศ แผนที่ทางกายภาพผังเมือง ๑:๑๐๐๐ ทั่วประเทศ แผนที่ชั้นข้อมูล คลังข้อมูลภัย คลังข้อมูลภัย E-Stock SOPs ภัยพิบัติ ข้อมูลโครงสร้างพื้นฐานระดับพื้นที่ด้านเศรษฐกิจ-สังคม ข้อมูลโครงสร้างพื้นฐานระดับพื้นที่เพื่อการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำ - Volume of consumption - Consumption pattern Growth conditions Water use efficiency Water footprint ดัชนีชี้วัด เศรษฐกิจ/การลงทุน /โครงการ ข้อมูลโครงการด้านน้ำ ตามหน่วยงาน ข้อมูลโครงการด้านน้ำ ทั่วประเทศ ข้อมูลการประเมินผลโครงการด้านน้ำ เครื่องมือ ข้อมูลของหน่วยงาน ข้อมูลเครื่องมือ อุปกรณ์ มาตรฐาน/ กฎ ระเบียบ/เกณฑ์ กฏหมาย กฏหมายด้านน้ำ ค่าผิวระดับอ้างอิงของประเทศจาก Geoid model มาตรฐานอุปกรณ์โทรมาตร +

ระบบต้นแบบ: ติดตามภัยแล้ง

Thank You

BACKUP SLIDEs

แผนแม่บทการพัฒนาระบบข้อมูลสนับสนุนการตัดสินใจ เป้าหมาย เกิดระบบคลังข้อมูลน้ำแห่งชาติ และระบบโครงสร้างพื้นฐาน รวบรวม และเชื่อมโยงข้อมูล จากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ๓๒ หน่วยงาน เกิดระบบในการติดตาม เฝ้าระวัง และคาดการณ์สถานการณ์น้ำใน ภาวะปกติ และ ตัดสินใจ แก้ไข บรรเทาอุทกภัย ภัยแล้ง ในภาวะวิกฤต ได้อย่างเป็นเอกภาพ เกิดกระบวนการในการกำหนดทิศทางการพัฒนา อนุรักษ์ และ ซ่อมบำรุง อย่างเป็นระบบ และต่อเนื่อง

หน่วยงานหลักที่รับผิดชอบฐานข้อมูลเพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงาน ๙ ด้าน ลำดับ ข้อมูล หน่วยงานรับผิดชอบหลัก ๑ การคาดการณ์ลักษณะอากาศระยะสั้น ระยะกลาง และระยะยาว กรมอุตุนิยมวิทยา ๒ การบริหารจัดการน้ำพื้นที่ในเขตชลประทาน กรมชลประทาน ๓ การบริหารจัดการน้ำพื้นที่นอกเขตชลประทาน กรมทรัพยากรน้ำ กรมทรัพยากรน้ำบาดาล ๔ การบริหารจัดการน้ำเพื่อการอุปโภค บริโภค และอุตสาหกรรม การประปาส่วนภูมิภาค การประปานครหลวง กรมทรัพยากรน้ำบาดาล กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น ๕ การรักษาระบบนิเวศและคุณภาพน้ำ กรมควบคุมมลพิษ กรมทรัพยากรน้ำ กรมชลประทาน กรุงเทพมหานคร การประปาส่วนภูมิภาค การประปานครหลวง ๖ การเตือนภัยและบริหารจัดการภัยพิบัติ ศูนย์เตือนภัยพิบัติแห่งชาติ กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย กรุงเทพมหานคร ๗ ปริมาณน้ำเพื่อการผลิตพลังงานไฟฟ้า การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย ๘ กรอบการวางแผนพัฒนาด้านเศรษฐกิจและสังคม สำนักงานสถิติแห่งชาติ สำนักงบประมาณ สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ๙ ระบบโครงสร้างพื้นฐานด้านระบบข้อมูล สสนก. สรอ. (ความพร้อมด้าน Infrastructure – Cloud & Server) กรมโยธาธิการและผังเมือง สทอภ. หมายเหตุ: อักษรสีแดง หมายถึง ผู้แทนกลุ่ม

ปัญหาอุปสรรค/แนวทางแก้ไข

ข้อสั่งการที่ ต้องการ ได้รับการ สนับสนุน ปัญหาอุปสรรค/แนวทางแก้ไข ปัญหาอุปสรรค แนวทางแก้ไข ข้อสั่งการที่ ต้องการ ได้รับการ สนับสนุน ๑. ความสมบูรณ์ของ องค์ประกอบใน คณะกรรมการ บูรณาการฐานข้อมูล น้ำและภูมิอากาศ แห่งชาติ แต่งตั้งองค์ประกอบ เพิ่มเติม ดังนี้ ๑) ปลัดกระทรวง วิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยี เป็นรอง ประธานกรรมการ ๒) อธิบดีกรมส่งเสริมการ ปกครองท้องถิ่น เป็น กรรมการ ๓) ผู้แทนกรมควบคุม มลพิษ เป็นกรรมการ คำสั่ง นายกรัฐมนตรี เรื่อง แต่งตั้ง คณะกรรมการ บูรณาการ ฐานข้อมูลน้ำ และภูมิอากาศ แห่งชาติ (เพิ่มเติม) ๒. ความครบถ้วนของ ข้อมูลที่จะเชื่อมโยง เข้าสู่คลังข้อมูลน้ำ และภูมิอากาศ แห่งชาติ เพื่อ นำมาใช้สนับสนุน การปฏิบัติงานใน การบริหารจัดการน้ำ ได้อย่างมี ประสิทธิภาพ หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง จัดทำข้อมูลที่จำเป็น เร่งรัด หน่วยงานให้ ความร่วมมือ ในการจัดทำ ข้อมูล และ เชื่อมโยงข้อมูล เข้าสู่ คลังฯ ให้ ครบถ้วน สมบูรณ์

ประเด็นที่เสนอที่ประชุม

ประเด็นที่เสนอที่ประชุม ๑. เห็นชอบให้มีการปรับปรุงองค์ประกอบของ คณะกรรมการบูรณาการฐานข้อมูลน้ำและภูมิอากาศแห่งชาติ โดย แต่งตั้ง ๑) ปลัดกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เป็นรอง ประธานกรรมการ ๒) อธิบดีกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น เป็น กรรมการ และ ๓) อธิบดีกรมควบคุมมลพิษ เป็นกรรมการ ๒. เห็นชอบให้สถาบันสารสนเทศทรัพยากรน้ำและ การเกษตร (องค์การมหาชน) เป็นผู้ทำหน้าที่รวบรวมและเชื่อมโยง ข้อมูลเข้าสู่คลังข้อมูลน้ำและภูมิอากาศแห่งชาติ และให้บริการ Data Clearing Housing ๓. เห็นชอบให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องเชื่อมโยงข้อมูลเข้าสู่ คลังข้อมูลน้ำและภูมิอากาศแห่งชาติอย่างต่อเนื่องและสม่ำเสมอ ทั้งข้อมูลที่มีอยู่ในปัจจุบัน โครงการที่อยู่ระหว่างการดำเนินการ และโครงการที่จะเกิดขึ้นในอนาคต ๔. เพื่อสนับสนุนให้เกิดการใช้ประโยชน์ข้อมูลร่วมกันอย่างมี ประสิทธิภาพ เสนอให้หน่วยงานเจ้าของข้อมูล อนุญาตให้ทุก หน่วยงานที่เชื่อมโยงข้อมูลเข้าสู่คลังข้อมูลน้ำฯ สามารถนำข้อมูล จากคลังข้อมูลน้ำฯ ไปใช้สนับสนุนการปฏิบัติงานได้